SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ใบความรู้
                                เรื่อง การค้ นคว้าทีเ่ กี่ยวข้ องกับการสั งเคราะห์ ด้วยแสง

การสั งเคราะห์ ด้วยแสงของพืช

         การสังเคราะห์ดวยแสงของพืชเป็ นการทางชีวเคมี ที่เปลี่ยน
                         ้
พลังงานแสงให้เป็ นพลังงานทางเคมี ซึ่ งเป็ นพลังงานตั้งต้นที่จาเป็ นต่อ
กิจกรรมของพืชในด้านอื่นๆ เช่นระบบการลาเลียงน้ าและแร่ ธาตุ การหายใจ การ
ขับถ่าย การเจริ ญเติบโต เป็ นต้น ไม่เพียงเฉพาะพืชที่สามารถสังเคราะห์ดวย   ้
แสงได้ เพราะสาหร่ ายและแบคทีเรี ยบางชนิดก็สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงโดยมี
คาร์ บอนไดออกไซด์และน้ าเป็ นธาตุต้ งต้นได้เช่นเดียวกัน การสังเคราะห์ดวยแสง
                                        ั                                    ้
ของพืชจะเกิดขึ้นที่ส่วนที่เรี ยกว่า Chloroplast โดยมีกลุ่มรงควัตถุสีเขียวที่เรี ยกว่า
Chlorophyll เป็ นตัวขับเคลื่อน

                                             การค้ นคว้าทีเ่ กี่ยวข้ องกับการสั งเคราะห์ ด้วยแสง
                                                         ประวัติการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ดวยแสง
                                                                                                         ้
                                             เริ่ มขึ้นเมื่อประมาณ 300 กว่าปี มาแล้วโดยมีลาดับดังต่อไปนี้
                                                         พ.ศ. 2191 ฌอง แบบติสต์ แวน เฮลมองท์ ได้ทาการ
                                             ทดลองชังน้ าหนักต้นหลิวและดินแห้งก่อนปลูกจากนั้นรดน้ าฝน
                                                           ่
                                             เป็ นระยะเวลา 4 ปี พบว่าน้ าหนักของดินหายไปน้อยมาก
                                             เขาจึงสรุ ปว่า น้ าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจากน้ าหนักของ
                                             น้ าเพียงอย่างเดียว พ.ศ. 2315 โจเซฟ พริ สลีย ์ ค้นพบว่า พืชสี เขียว
                                             เปลี่ยนอากาศเสี ยให้เป็ นอากาศดี
                                                             พ.ศ. 2322 แจน อินเก็น ฮูซ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากพริ สลีย ์
                                             พบว่า พืชจะเปลี่ยนอากาศเสี ยให้เป็ นอากาศดีตองได้รับแสงสว่าง
                                                                                                ้
                                             จากการวิเคราะห์ทางเคมีพบว่า อากาศเสี ย คือ CO2 อากาศดี คือ O2
                                                         พ.ศ. 2359 อินเก็น ฮูซ ค้นคว้าเพิมเติมอีกพบว่า
                                                                                            ่
                                             พืชเก็บคาร์ บอนไว้ในรู ปของสารอินทรี ยซ่ ึ งแสดงว่าน้ าหนักที่เพิมขึ้น
                                                                                          ์                    ่
                                             มาจากก๊าชคาร์ บอนไดออกไซด์
พ.ศ. 2347 นิโคลาส ธีโอดอร์ โซซูร์ ได้ทาการทดลองพบว่า
น้ าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นมากกว่าน้ าหนักของคาร์บอนไดออกไซด์ที่
ได้รับ เขาสรุ ปว่า น้ าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นบางส่ วนเป็ น น้ าหนัก
ของน้ าที่พืชได้รับ จากการวิเคราะห์ทางเคมีพบว่า สารอินทรี ย ์ คือ
คาร์โบไฮเดรต พวกน้ าตาลเฮกโซส
        พ.ศ. 2473 แวน นีล พบว่า การสังเคราะห์ดวยแสงของแบคทีเรี ย
                                                       ้
บางชนิดไม่ใช้น้ า แต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์แทน ผลที่ได้ออกมาคือ
ซัลเฟอร์ ซึ่ งเกิดจากการสลายตัวของไฮโดรเจนซัลไฟด์




                                        นักวิทยาศาสตร์ ศึกษาเกียวกับ
                                                               ่
                                   กระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสงมาแล้ว
                                    มากมายและวันนีก็ยงคิดพัฒนาอยู่เสมอ
                                                  ้ ั

More Related Content

Similar to ใบความรู้ ม.5

การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2busarakorn
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2busarakorn
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงdnavaroj
 

Similar to ใบความรู้ ม.5 (8)

Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วย2
 
Photosyntasis book
Photosyntasis bookPhotosyntasis book
Photosyntasis book
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

ใบความรู้ ม.5

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง การค้ นคว้าทีเ่ กี่ยวข้ องกับการสั งเคราะห์ ด้วยแสง การสั งเคราะห์ ด้วยแสงของพืช การสังเคราะห์ดวยแสงของพืชเป็ นการทางชีวเคมี ที่เปลี่ยน ้ พลังงานแสงให้เป็ นพลังงานทางเคมี ซึ่ งเป็ นพลังงานตั้งต้นที่จาเป็ นต่อ กิจกรรมของพืชในด้านอื่นๆ เช่นระบบการลาเลียงน้ าและแร่ ธาตุ การหายใจ การ ขับถ่าย การเจริ ญเติบโต เป็ นต้น ไม่เพียงเฉพาะพืชที่สามารถสังเคราะห์ดวย ้ แสงได้ เพราะสาหร่ ายและแบคทีเรี ยบางชนิดก็สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงโดยมี คาร์ บอนไดออกไซด์และน้ าเป็ นธาตุต้ งต้นได้เช่นเดียวกัน การสังเคราะห์ดวยแสง ั ้ ของพืชจะเกิดขึ้นที่ส่วนที่เรี ยกว่า Chloroplast โดยมีกลุ่มรงควัตถุสีเขียวที่เรี ยกว่า Chlorophyll เป็ นตัวขับเคลื่อน การค้ นคว้าทีเ่ กี่ยวข้ องกับการสั งเคราะห์ ด้วยแสง ประวัติการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ดวยแสง ้ เริ่ มขึ้นเมื่อประมาณ 300 กว่าปี มาแล้วโดยมีลาดับดังต่อไปนี้ พ.ศ. 2191 ฌอง แบบติสต์ แวน เฮลมองท์ ได้ทาการ ทดลองชังน้ าหนักต้นหลิวและดินแห้งก่อนปลูกจากนั้นรดน้ าฝน ่ เป็ นระยะเวลา 4 ปี พบว่าน้ าหนักของดินหายไปน้อยมาก เขาจึงสรุ ปว่า น้ าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจากน้ าหนักของ น้ าเพียงอย่างเดียว พ.ศ. 2315 โจเซฟ พริ สลีย ์ ค้นพบว่า พืชสี เขียว เปลี่ยนอากาศเสี ยให้เป็ นอากาศดี พ.ศ. 2322 แจน อินเก็น ฮูซ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากพริ สลีย ์ พบว่า พืชจะเปลี่ยนอากาศเสี ยให้เป็ นอากาศดีตองได้รับแสงสว่าง ้ จากการวิเคราะห์ทางเคมีพบว่า อากาศเสี ย คือ CO2 อากาศดี คือ O2 พ.ศ. 2359 อินเก็น ฮูซ ค้นคว้าเพิมเติมอีกพบว่า ่ พืชเก็บคาร์ บอนไว้ในรู ปของสารอินทรี ยซ่ ึ งแสดงว่าน้ าหนักที่เพิมขึ้น ์ ่ มาจากก๊าชคาร์ บอนไดออกไซด์
  • 2. พ.ศ. 2347 นิโคลาส ธีโอดอร์ โซซูร์ ได้ทาการทดลองพบว่า น้ าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นมากกว่าน้ าหนักของคาร์บอนไดออกไซด์ที่ ได้รับ เขาสรุ ปว่า น้ าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นบางส่ วนเป็ น น้ าหนัก ของน้ าที่พืชได้รับ จากการวิเคราะห์ทางเคมีพบว่า สารอินทรี ย ์ คือ คาร์โบไฮเดรต พวกน้ าตาลเฮกโซส พ.ศ. 2473 แวน นีล พบว่า การสังเคราะห์ดวยแสงของแบคทีเรี ย ้ บางชนิดไม่ใช้น้ า แต่ใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์แทน ผลที่ได้ออกมาคือ ซัลเฟอร์ ซึ่ งเกิดจากการสลายตัวของไฮโดรเจนซัลไฟด์ นักวิทยาศาสตร์ ศึกษาเกียวกับ ่ กระบวนการสั งเคราะห์ ด้วยแสงมาแล้ว มากมายและวันนีก็ยงคิดพัฒนาอยู่เสมอ ้ ั