SlideShare a Scribd company logo
กิจกรรมที่ 4
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
โดยทั่วไปเรื่องที่จะมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์มักได้จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจ
เรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา จาก
แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณา
องค์ประกอบที่สาคัญดังต่อไปนี้
1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
4. มีเวลาเพียงพอ
5. มีงบประมาณเพียงพอ
6. มีความปลอดภัย
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ
จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น
รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงาน
นั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า จะทาอะไร ทาไมต้องทา ต้องการให้เกิดอะไร
ทาอย่างไร ใช้ทรัพยากรอะไร ทากับใคร เสนอผลอย่างไร
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน
3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิงและรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ
3.2 วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา
3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษา
โปรแกรม และวัสดุต่าง ๆ ที่ต้องใช้
3.4 กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทาโครงงานและสรุป
รายงานโครงงาน โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง ๆ
3.5 ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนา
ส่วนย่อย ๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่
ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
3.6 เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาและปรับปรุง
แก้ไข เพื่อให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงานเป็นไปอย่างเหมาะสมเป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ
ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร
ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้
ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการทาโครงงานของนักเรียน
ครูที่ปรึกษาร่วม ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คาแนะนาในการทาโครงงานของนัีกเรียน
ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้
แนวคิด ที่มา และความสาคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล
วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต
หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน
วิธีดาเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และผู้ัรับผิดชอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ
เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา
โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ เช่น
จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม รวมทั้งการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของสมาชิกในกลุ่มให้ชัดเจน
แล้วจึงดาเนินการทาโครงงาน ขณะเดียวกันต้องมีการทดสอบ ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา
โครงงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ใน
เป้าหมาย และเกิดประสิทธิภาพตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. การเตรียมการ
การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการ
พัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบ
คอมพิวเตอร์สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร
ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
2. การลงมือพัฒนา
เป็นการปฏิบัติตามแผนงานที่ได้วางไว้ในเค้าโครง ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม
หากพบว่าจะช่วยให้ผลงานพัฒนาได้ดีขึ้น โดยจัดระบบ ทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้เสร็จ
ก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น
และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้มีการตกลงรายละเอียดในการเชื่อมต่อชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
รวมทั้งต้องพัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและ
ครบถ้วน
3. การทดสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่
พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทาด้วยประสิทธิภาพ
สูงด้วย
4. การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม
เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย
เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่
ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการ
อภิปรายผลที่ได้ด้วย
5. แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญ หรือปัญหา
ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5. การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้
ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้
1. ส่วนนา - เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
1.1 ชื่อโครงงาน
1.2 ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
1.4 คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงานที่มีส่วนช่วยทาให้งานสาเร็จ
1.5 บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ
2. บทนา - เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
2.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
2.2 เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
2.3 ขอบเขตของโครงงาน
3. หลักการและทฤษฎี - เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือ
วิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือ
พัฒนาเพิ่มเติมด้วย
4. วิธีดาเนินการ - อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบ
พร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน
5. ผลการศึกษา - นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือ
ข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
6. สรุปผลและข้อเสนอแนะ - อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุ
ด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนา
ผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญ หรือข้อผิดพลาด
บางประการที่เกิดขึ้นจากการทา โครงงานนี้รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้า
ในเรื่องทานองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย
7. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน - ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และ
ประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนาผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย
8. บรรณานุกรม - รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา โครงงานใช้ค้นคว้า
หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทา โครงงานนี้การเขียนเอกสาร
บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
9. การจัดทาคู่มือการใช้งาน - หากโครงงานที่นักเรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียน
จัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
9.1 ชื่อผลงาน
9.2 ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้
ผลงานนั้นได้
9.3 ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อจะให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์
9.4 คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้า
และส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก
9.5 วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงาน
ทางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึง
ผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงาน
นั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงาน
ด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัด
แสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6. การสาธิตผลงาน
7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้
1. จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างมีระบบ และนาเสนออย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่
ชัดเจนเข้าใจง่าย
2. ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบาย รวมไปถึงการเตรียมข้อมูลที่อาจจะต้องใช้ในการตอบคาถาม
3. หลีกเลี่ยงการอ่านรายงาน
4. ควรมองไปยังผู้ฟังรายงาน
5. ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา
6. รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
7. ควรใช้สื่อ เช่น สไลด์ แผ่นใส ประกอบการรายงาน
8. ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง
9. ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรอยู่ในสภาพที่ทางานได้เป็นอย่างดี
แหล่งข้อมูล :
https://sites.google.com/site/cproject2514/home/khan-txn-kar-tha-
khorng-ngan-khxmphiwtexr
http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/cont
ent2.html
งาน4

More Related Content

What's hot

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
Earnzy Clash
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานกิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
0910797083
 
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
Kulpreeya Wanchaisom
 
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
komsan saithep
 
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
Tcnk Pond
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
Jiratchaya Yam
 
Num
NumNum
Num
npyp
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2Aksonsat Roungsan
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนของการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนของการทำโครงงาน กิจกรรมที่4 ขั้นตอนของการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนของการทำโครงงาน
omaha123
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
sarawut saoklieo
 
Four
FourFour
No.2โครงงานคอมพิวเตอร์
No.2โครงงานคอมพิวเตอร์No.2โครงงานคอมพิวเตอร์
No.2โครงงานคอมพิวเตอร์
omaha123
 
กิจกรรมที่3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
omaha123
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ญาสุมินทร์ อินโณวรรณ
 
ขั้นตอนการทำโครงงาคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงาคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงาคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงาคอมพิวเตอร์
Nattaphong Kaewtathip
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 

What's hot (17)

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานกิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Num
NumNum
Num
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนของการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนของการทำโครงงาน กิจกรรมที่4 ขั้นตอนของการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนของการทำโครงงาน
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
Four
FourFour
Four
 
No.2โครงงานคอมพิวเตอร์
No.2โครงงานคอมพิวเตอร์No.2โครงงานคอมพิวเตอร์
No.2โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขั้นตอนการทำโครงงาคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงาคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงาคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงาคอมพิวเตอร์
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 

Similar to งาน4

ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานAksonsat Roungsan
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานAksonsat Roungsan
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานAksonsat Roungsan
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
Thunyakan Intrawut
 
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานpharthid
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์5,27
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์5,27ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์5,27
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์5,27
Chonlakan Kuntakalang
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่  4กิจกรรมที่  4
กิจกรรมที่ 4
Ken'Kasemson Janpartoom
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
Sirawit Hi
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
treerawat kunyodying
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4 กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
Knooknickk Pinpukvan
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
kannnikar Wannapa
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
Wichayaporn02
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
Chanoknan Mongchuy
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
Chanin Monkai
 
Computer project fm
Computer project fmComputer project fm
Computer project fm
fahjirachaya
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
jeeranuntacharoen
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
sirawitaoonok
 
Computer
ComputerComputer
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Suchada Maksiri
 

Similar to งาน4 (20)

ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
 
Yrc 606
Yrc 606Yrc 606
Yrc 606
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์5,27
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์5,27ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์5,27
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์5,27
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่  4กิจกรรมที่  4
กิจกรรมที่ 4
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4 กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
Computer project fm
Computer project fmComputer project fm
Computer project fm
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Chanoknart Wachirarungsun

กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609
Chanoknart Wachirarungsun
 
กิจกรรม 3
กิจกรรม 3กิจกรรม 3
กิจกรรม 3
Chanoknart Wachirarungsun
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
2560 project 2560 project
พรบคอม
พรบคอมพรบคอม
พรบคอม
Chanoknart Wachirarungsun
 
ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์
ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์
ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์
Chanoknart Wachirarungsun
 

More from Chanoknart Wachirarungsun (6)

กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609
 
กิจกรรม 3
กิจกรรม 3กิจกรรม 3
กิจกรรม 3
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
พรบคอม
พรบคอมพรบคอม
พรบคอม
 
ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์
ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์
ใบงานสำรวจและประวัติตัวเองของน.ส.ชนกนาถ วชิรรังรรค์
 

งาน4

  • 2. ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน 4. การลงมือทาโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
  • 3. 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ โดยทั่วไปเรื่องที่จะมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์มักได้จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจ เรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา จาก แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณา องค์ประกอบที่สาคัญดังต่อไปนี้ 1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ 3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา 4. มีเวลาเพียงพอ 5. มีงบประมาณเพียงพอ 6. มีความปลอดภัย
  • 4. 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงาน นั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า จะทาอะไร ทาไมต้องทา ต้องการให้เกิดอะไร ทาอย่างไร ใช้ทรัพยากรอะไร ทากับใคร เสนอผลอย่างไร
  • 5. 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน 3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิงและรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3.2 วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา 3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษา โปรแกรม และวัสดุต่าง ๆ ที่ต้องใช้ 3.4 กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทาโครงงานและสรุป รายงานโครงงาน โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง ๆ 3.5 ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนา ส่วนย่อย ๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น 3.6 เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาและปรับปรุง แก้ไข เพื่อให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงานเป็นไปอย่างเหมาะสมเป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
  • 6. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการทาโครงงานของนักเรียน ครูที่ปรึกษาร่วม ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คาแนะนาในการทาโครงงานของนัีกเรียน ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้ แนวคิด ที่มา และความสาคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน วิธีดาเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และผู้ัรับผิดชอบ ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
  • 7. 4. การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ เช่น จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม รวมทั้งการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของสมาชิกในกลุ่มให้ชัดเจน แล้วจึงดาเนินการทาโครงงาน ขณะเดียวกันต้องมีการทดสอบ ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา โครงงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ใน เป้าหมาย และเกิดประสิทธิภาพตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. การเตรียมการ การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการ พัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบ คอมพิวเตอร์สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
  • 8. 2. การลงมือพัฒนา เป็นการปฏิบัติตามแผนงานที่ได้วางไว้ในเค้าโครง ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม หากพบว่าจะช่วยให้ผลงานพัฒนาได้ดีขึ้น โดยจัดระบบ ทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้เสร็จ ก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้มีการตกลงรายละเอียดในการเชื่อมต่อชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย รวมทั้งต้องพัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและ ครบถ้วน 3. การทดสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่ พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทาด้วยประสิทธิภาพ สูงด้วย
  • 9. 4. การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการ อภิปรายผลที่ได้ด้วย 5. แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
  • 10. 5. การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้ 1. ส่วนนา - เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย 1.1 ชื่อโครงงาน 1.2 ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 1.4 คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงานที่มีส่วนช่วยทาให้งานสาเร็จ 1.5 บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ
  • 11. 2. บทนา - เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย 2.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2.2 เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า 2.3 ขอบเขตของโครงงาน 3. หลักการและทฤษฎี - เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือ วิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือ พัฒนาเพิ่มเติมด้วย 4. วิธีดาเนินการ - อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบ พร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน
  • 12. 5. ผลการศึกษา - นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือ ข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก 6. สรุปผลและข้อเสนอแนะ - อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุ ด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนา ผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญ หรือข้อผิดพลาด บางประการที่เกิดขึ้นจากการทา โครงงานนี้รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้า ในเรื่องทานองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย 7. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน - ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และ ประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนาผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย
  • 13. 8. บรรณานุกรม - รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทา โครงงานนี้การเขียนเอกสาร บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย 9. การจัดทาคู่มือการใช้งาน - หากโครงงานที่นักเรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียน จัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 9.1 ชื่อผลงาน 9.2 ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ ผลงานนั้นได้ 9.3 ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์ 9.4 คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้า และส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก 9.5 วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงาน ทางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ
  • 14. 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึง ผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงาน นั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงาน ด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัด แสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6. การสาธิตผลงาน 7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
  • 15. ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้ 1. จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างมีระบบ และนาเสนออย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ ชัดเจนเข้าใจง่าย 2. ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบาย รวมไปถึงการเตรียมข้อมูลที่อาจจะต้องใช้ในการตอบคาถาม 3. หลีกเลี่ยงการอ่านรายงาน 4. ควรมองไปยังผู้ฟังรายงาน 5. ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา 6. รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด 7. ควรใช้สื่อ เช่น สไลด์ แผ่นใส ประกอบการรายงาน 8. ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง 9. ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรอยู่ในสภาพที่ทางานได้เป็นอย่างดี