SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
นวัตกรรมทางเทคโนโลยีศึกษาและสื่อสารมวลชล
                              ETM 201

                          เรื่อง 3D
                            เสนอ
                     ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
                  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เทคโนโลยีของการผลิตภาพอย่างหนึ่ง ที่สร้างขึ้นมา
        สิ่งที่สามมิติต่างจากสองมิติก็คือ การเพิ่มมิติที่สามเข้ามา คือ
     "แนวลึก" (จากเดิมที่เราจะเห็นภาพในความกว้างและยาวเท่านั้น)
ปัจจุปันเราจึงพบกับการ์ตูน เกม แอนิเมชั่น ที่เป็น 3 มิตไิ ด้อย่างมากมาย
• ปี 1838
  Charles Wheatstones ค้นพบ
  เทคนิค Stereo Scope ซึ่งนาไปสู่การ
  ประดิษฐ์เครื่องมองภาพ 3 มิติ ที่ทาให้เกิด
  การมองเห็นภาพจาก 2 มิติ เป็น 3 มิติ
ปี 1849
David Brewster พัฒนากล้อง
สเตอริโอมองภาพ 3 มิติ ที่ใช้เลนส์
 2 ตัวรับภาพแทนกระจก เพื่อลดขนาด
ของอุปกรณ์ลง
ปี 1922
The Power Of Love เป็ นภาพยนตร์ 3D เรื่องแรก
 ของโลก ที่ใช้ เทคนิค Anaglyph และต้ องสวมแว่นตา
     3D สองสี ที่มีสีแดง และสีน ้าเงินในการรับชม
ปี 1953 CinemaScope
ในยุคนี้อาจจะไม่ใช่ 3D ที่สมบูรณ์ แต่ด้วยขนาดภาพที่ใหญ่และมีมุมมองภาพ
           กว้างถึง 180 องศา ก็ทาให้ผู้คนหลงใหลได้ไม่น้อยเลย
ปี 1983 ภาพยนตร์เรื่อง Jaws ภาคใหม่เข้าโรง
ภาพยนตร์อีกครั้งในรูปแบบ 3D ที่ต้องสวมแว่นตาสองสี
แต่ด้วยตัวเนื้อหาและเทคนิคถ่ายทาที่ธรรมดาจึงไม่ได้มีอะไร
                     น่าสนใจมากนัก
หลักการทางาน
     3D
แบ่ งได้ เป็ น 4 หลักการทางาน

        1. Anaglyph
  2. Polarized 3-D Glasses
  3. Active Shutter Glasses
      4. Paralax Barrie
1. Anaglyph แว่นตาสี(นาเงิน/แดง)

• คือ การแสดงภาพสองภาพลงไปบนเฟรมเดียวกัน
  ซึ่งภาพทั้งสองภาพนั้นจะมีโทนสีที่แตกต่างกันคือมี
  สีน้าเงินและสีแดง อีกทั้งยังมีมุมมองเหลื่อมกันอยู่
  เล็กน้อย เพราะฉะนั้นเราจึงต้องมีอุปกรณ์อย่าง
  แว่นน้าเงิน-แดง ซึ่งจะมาทาหน้าที่เป็นตัวฟิลเตอร์
  กรองสีที่ไม่ตรงกับสีของแว่นตาออกไป โดยที่
  แว่นตาสีแดงจะกรองภาพสีแดงออกไปให้เห็นแต่
  ภาพสีน้าเงิน ส่วนแว่นตาสีน้าเงินก็จะกรองภาพ
  ส่วนที่เป็นสีแดงออกไป
2. Polarized 3-D Glasses
การทางานจะมีความคล้ายคลึงกับ Anaglyph โดยใช้การแสดงภาพมาลง
ที่เฟรมเดียวกันเหมือนเดิม แต่ในคราวนี้จะไม่ใช่สีเป็นตัวฟิลเตอร์ แต่จะใช้
แนวการวางตัวของช่องการมองเห็นแต่ละภาพที่ฉายซ้อนกันอยู่ เช่นจากใน
ภาพแว่นตาข้างซ้ายจะเห็นมองเป็นภาพที่ผ่านช่องในแนวตั้ง ส่วนตาขวาจะ
มองเห็นภาพที่ช่องในแนวนอน
3. Active Shutter Glasses

 ซึ่งการทางานของ Active Shutter Glasses จะต้องอาศัยทีวีที่มีความถี่
ในการแสดงภาพ 120Hz เป็ นอย่างต่าด้วยเพราะจะต้องแสดงภาพใน
                  ่
เฟรมแรก สมมุติวาเป็ นตาซ้ายเฟรมถัดมาจะเป็ นตาขวา เพราะฉะนั้นการ
แสดงภาพจะเป็ น ซ้าย – ขวา – ซ้าย – ขวา … จนครบ 120 เฟรม คิดเป็ น
1 วินาที จะเห็นว่าตาซ้ายและขวาจะเห็นข้างละ 60 เฟรมพอดี ซึ่งเป็ น
ความถี่ข้นต่าที่ทาให้ไม่รู้สึกว่าภาพสัน อีกทั้งการทางานนี้จะต้องอาศัย
         ั                            ่
แว่นตา Active Shutter อีกด้วย
4. Paralax Barrier
จะใช้วิธีแบ่งภาพที่มีมุมมองต่างกันเป็นแท่งๆ วางตัวสลับกัน (เหมือน
 เส้นสแกนในทีวี แต่ทีวีจะใช้ภาพมุมมองเดียวกัน) โดยมี Parallax
Barrier ที่เป็นชั้นกรองพิเศษสามารถแบ่งแต่ละส่วนของภาพให้ตาแต่
    ละข้างที่มองผ่าน ชั้นนี้มองเห็นภาพที่ไม่เหมือนกันได้พร้อมกัน
 แน่นอนว่าสมองของเราพยายามที่จะรวมภาพที่มีมุมมองต่างกันให้
  เป็นภาพเดียว เราก็จะมองเห็น เป็นภาพ 3D ซึ่งถ้าจะอธิบายกัน
ง่ายๆ ก็คือ Parallax Barrier ทาหน้าที่ฟิลเตอร์ภาพทั้งสองภาพ
               ให้ตาแต่ละข้างได้มองเห็นคนละภาพกัน
เครื่องเล่นเกมส์พกพาอย่าง Nintendo 3DS ที่สามารถ
 แสดงผล 3D ได้โดยไม่ต้องใส่แว่นอีกต่อไป โดยเทคโนโลยีนี้เป็น
การใช้เทคโนโลยีแบบ Parallax Barrier ซึ่งเป็นชั้นเลเยอร์พิเศษ
 ปิดทับบนหน้าจอทาหน้าที่หักเหแสงให้ตาแต่ละข้างมองเห็นภาพที่
                      มุมมองไม่เหมือนกัน
ประเภทของ 3D
สื่อสิ่งพิมพ์
   เช่น รูปภาพ 3D โปสเตอร์ต่างๆ
ซึ่ง เป็นภาพ 3 มิติโดยดูด้วยตาเปล่า
    หรือ ใช้แว่น การดูภาพ 3 มิติ
สามารถดูด้วยตาเปล่าโดยไม่ต้องเพ่ง
หรือทาตาเอียงแต่อย่างใด หรือจะมอง
ผ่านแว่นที่ข้างหนึ่งเป็นสีแดง อีกข้าง
             เป็นสีน้าเงินก็ได้
วัสดุกระดาษ-พลาสติก
Animation
หลักการสร้างงานคอมพิวเตอร์
3D Animation ในแง่มุมต่างๆ นั้น เป็นการนา
หลักการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบดั้งเดิมมา
ใช้ หนึ่งในแนวคิดที่สาคัญที่สุดของงาน
Animation เช่น โปรแกรม MAYA 3D
MAX Adobe Flash
Games
   เครื่องเล่นเกมส์พกพาอย่าง Nintendo 3DS ที่สามารถ
 แสดงผล 3D ได้โดยไม่ต้องใส่แว่นอีกต่อไป โดยเทคโนโลยีนี้เป็น
การใช้เทคโนโลยีแบบ Parallax Barrier ซึ่งเป็นชั้นเลเยอร์พิเศษ
 ปิดทับบนหน้าจอทาหน้าที่หักเหแสงให้ตาแต่ละข้างมองเห็นภาพที่
                      มุมมองไม่เหมือนกัน
ภาพยนตร์
    แสดงภาพแบบเชิงลอย คือ
ขณะที่ชมภาพ จะให้ความรู้สึก
ว่าภาพนั้นลอยออกมานอกจอ
จนสามารถจับต้องได้ เทคนิค
3D แบบนี้จะพบได้ทั่วไปในโรง
ภาพยนตร์ 3D เทคโนโลยีนี้เรา
เรียกว่า "Polarize" โดยผูชม  ้
จะต้องใส่แว่น 3D ที่มีเลนส์ข้าง
หนึ่งสีแดง กับอีกข้างสีน้าเงิน
นั้นเอง
แนวโน้มการพัฒนา 3D ในอนาคต
3D ที่ดูโดยไม่ต้องใส่แว่นและไม่ทาให้ปวดตา

• การปรับปรุงระบบการผลิตหนัง 3D ที่ทาให้ภาพมีความคมชัด โดยไม่ต้องใส่
  แว่นประกอบในการดู ซึ่งทาให้เกิดความสะดวกสบายต่อผู้ชม อีกทั้งแว่นอาจบด
  บังทัศนียภาพมุมกว้าง หรือบางคนอาจจะรู้สึกราคาญ อยากมองภาพเปล่าๆ
  โดยไม่มีอะไรมาเป็นตัวขวางกั้นมากกว่า นอกจากนี้ระบบการผลิตภาพที่คมชัด
  มากขึ้น โดยการใช้เทคนิคต่างๆ จะช่วยให้คนดูรู้สึกไม่ปวดตา ซึ่งอาจเป็นผลดี
  ต่อสุขภาพตาของผู้ชมในระยะยาว
• ปัจจุบัน ระบบ TV 3D กาลังเป็นที่นิยม
  อย่างมาก เพราะช่วยให้ภาพมีความ
  สมจริง ทาให้คนดูมีความรู้สึกว่าได้เข้าไป
  อยู่ในนั้นด้วย ทาให้มีอารมณ์ร่วมคล้อย
  ตามไปด้วยได้อย่างดี จากความนิยมใน
  ระบบ 3D ดังกล่าว อาจทาให้ระบบ TV
  2D ในบ้านเราอาจหายไปอย่างถาวร
  เพราะความทันสมัยของระบบ 3D เข้ามา
  แทนที่ได้อย่างสมบูรณ์แบบ
ข้อดี-ข้อเสียของ 3D
ข้อดี
-สร้างความแปลกใหม่ในการรับชมสื่อ
-ให้ความรู้สึกที่สมจริง ทาให้ถ่ายทอด
  อารมณ์ได้อย่าง สมบูรณ์
- 3D สามารถดึงดูดความสนใจของผู้ชมได้
มากกว่า 2D
ข้อเสีย
- เกิดการรบกวนกันเองของภาพ ทาให้เกิดอาการปวดตาหรือปวดศีรษะ
- ในการชมภาพยนตร์ 3D ที่ต้องสวมแว่น อาจทาให้เกิดความกังวลกับแว่น
  จนทาให้การชมภาพยนตร์ไม่ราบรื่นหรือได้อรรถรสเท่าที่ควร
- ในการผลิตสื่อ 3d จะมีราคาต้นทุนที่สูงกว่าปกติ
3D กับประเทศไทย
เอกสารอ้างอิง
 http://www.muffincheeze.com/news_detail.php?news_id=16
    http://forum.thaidvd.net/index.php?showtopic=131556
http://www.lcdtvthailand.com/article/detail.asp?param_id=706
    http://board.eg3d-club.com/index.php?topic=30795.20
         http://www.notebook4game.com/web/22110
  http://www.yawaraj.com/th/forums/detail/article-2011002
                    http://www.vpro.co.th
       http://www.youtube.com/watch?v=uKujOudUk0w
คณะผูจ้ ดั ทา
54218105   น.ส.จิราภรณ์      ไพบูลย์นภาพงศ์
54218106   น.ส.จุติจุฑา      ดวงจินดา
54218108   น.ส.ชนิกานต์      ปฏิทศน์ั
54218110   น.ส.ชุติญา        อรรฐีโสต
54218111   น.ส.ณัชชารี ย ์    สุ ภทร์วรพงศ์
                                  ั
54218123   น.ส.ธิดารัตน์      รอบุญ
54218124   น.ส.นฤมล           ประดับ
54218139   น.ส.วรวรรณ          ทองแผ่น

More Related Content

Similar to 3D ETM 201

Similar to 3D ETM 201 (15)

3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3 d virtual studio present
3 d virtual studio present3 d virtual studio present
3 d virtual studio present
 
Autodesk sketch book pro
Autodesk sketch book proAutodesk sketch book pro
Autodesk sketch book pro
 
Autodesk sketch book pro
Autodesk sketch book proAutodesk sketch book pro
Autodesk sketch book pro
 
3D Display Monitor
3D Display Monitor3D Display Monitor
3D Display Monitor
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
Mapping
MappingMapping
Mapping
 
Eep time issue_8
Eep time issue_8Eep time issue_8
Eep time issue_8
 
ใบงานท 8
ใบงานท   8ใบงานท   8
ใบงานท 8
 
ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...
 
Handbook
HandbookHandbook
Handbook
 
Trainer adobe captivate 6 08 10-2556
Trainer adobe captivate 6 08 10-2556Trainer adobe captivate 6 08 10-2556
Trainer adobe captivate 6 08 10-2556
 
ระบบภาพดิจิตอล
ระบบภาพดิจิตอลระบบภาพดิจิตอล
ระบบภาพดิจิตอล
 
ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11
 

3D ETM 201

  • 1. นวัตกรรมทางเทคโนโลยีศึกษาและสื่อสารมวลชล ETM 201 เรื่อง 3D เสนอ ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5. เทคโนโลยีของการผลิตภาพอย่างหนึ่ง ที่สร้างขึ้นมา สิ่งที่สามมิติต่างจากสองมิติก็คือ การเพิ่มมิติที่สามเข้ามา คือ "แนวลึก" (จากเดิมที่เราจะเห็นภาพในความกว้างและยาวเท่านั้น) ปัจจุปันเราจึงพบกับการ์ตูน เกม แอนิเมชั่น ที่เป็น 3 มิตไิ ด้อย่างมากมาย
  • 6.
  • 7. • ปี 1838 Charles Wheatstones ค้นพบ เทคนิค Stereo Scope ซึ่งนาไปสู่การ ประดิษฐ์เครื่องมองภาพ 3 มิติ ที่ทาให้เกิด การมองเห็นภาพจาก 2 มิติ เป็น 3 มิติ
  • 8. ปี 1849 David Brewster พัฒนากล้อง สเตอริโอมองภาพ 3 มิติ ที่ใช้เลนส์ 2 ตัวรับภาพแทนกระจก เพื่อลดขนาด ของอุปกรณ์ลง
  • 9. ปี 1922 The Power Of Love เป็ นภาพยนตร์ 3D เรื่องแรก ของโลก ที่ใช้ เทคนิค Anaglyph และต้ องสวมแว่นตา 3D สองสี ที่มีสีแดง และสีน ้าเงินในการรับชม
  • 10.
  • 11. ปี 1953 CinemaScope ในยุคนี้อาจจะไม่ใช่ 3D ที่สมบูรณ์ แต่ด้วยขนาดภาพที่ใหญ่และมีมุมมองภาพ กว้างถึง 180 องศา ก็ทาให้ผู้คนหลงใหลได้ไม่น้อยเลย
  • 12. ปี 1983 ภาพยนตร์เรื่อง Jaws ภาคใหม่เข้าโรง ภาพยนตร์อีกครั้งในรูปแบบ 3D ที่ต้องสวมแว่นตาสองสี แต่ด้วยตัวเนื้อหาและเทคนิคถ่ายทาที่ธรรมดาจึงไม่ได้มีอะไร น่าสนใจมากนัก
  • 14. แบ่ งได้ เป็ น 4 หลักการทางาน 1. Anaglyph 2. Polarized 3-D Glasses 3. Active Shutter Glasses 4. Paralax Barrie
  • 15. 1. Anaglyph แว่นตาสี(นาเงิน/แดง) • คือ การแสดงภาพสองภาพลงไปบนเฟรมเดียวกัน ซึ่งภาพทั้งสองภาพนั้นจะมีโทนสีที่แตกต่างกันคือมี สีน้าเงินและสีแดง อีกทั้งยังมีมุมมองเหลื่อมกันอยู่ เล็กน้อย เพราะฉะนั้นเราจึงต้องมีอุปกรณ์อย่าง แว่นน้าเงิน-แดง ซึ่งจะมาทาหน้าที่เป็นตัวฟิลเตอร์ กรองสีที่ไม่ตรงกับสีของแว่นตาออกไป โดยที่ แว่นตาสีแดงจะกรองภาพสีแดงออกไปให้เห็นแต่ ภาพสีน้าเงิน ส่วนแว่นตาสีน้าเงินก็จะกรองภาพ ส่วนที่เป็นสีแดงออกไป
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. 2. Polarized 3-D Glasses การทางานจะมีความคล้ายคลึงกับ Anaglyph โดยใช้การแสดงภาพมาลง ที่เฟรมเดียวกันเหมือนเดิม แต่ในคราวนี้จะไม่ใช่สีเป็นตัวฟิลเตอร์ แต่จะใช้ แนวการวางตัวของช่องการมองเห็นแต่ละภาพที่ฉายซ้อนกันอยู่ เช่นจากใน ภาพแว่นตาข้างซ้ายจะเห็นมองเป็นภาพที่ผ่านช่องในแนวตั้ง ส่วนตาขวาจะ มองเห็นภาพที่ช่องในแนวนอน
  • 20.
  • 21.
  • 22. 3. Active Shutter Glasses ซึ่งการทางานของ Active Shutter Glasses จะต้องอาศัยทีวีที่มีความถี่ ในการแสดงภาพ 120Hz เป็ นอย่างต่าด้วยเพราะจะต้องแสดงภาพใน ่ เฟรมแรก สมมุติวาเป็ นตาซ้ายเฟรมถัดมาจะเป็ นตาขวา เพราะฉะนั้นการ แสดงภาพจะเป็ น ซ้าย – ขวา – ซ้าย – ขวา … จนครบ 120 เฟรม คิดเป็ น 1 วินาที จะเห็นว่าตาซ้ายและขวาจะเห็นข้างละ 60 เฟรมพอดี ซึ่งเป็ น ความถี่ข้นต่าที่ทาให้ไม่รู้สึกว่าภาพสัน อีกทั้งการทางานนี้จะต้องอาศัย ั ่ แว่นตา Active Shutter อีกด้วย
  • 23.
  • 24.
  • 25. 4. Paralax Barrier จะใช้วิธีแบ่งภาพที่มีมุมมองต่างกันเป็นแท่งๆ วางตัวสลับกัน (เหมือน เส้นสแกนในทีวี แต่ทีวีจะใช้ภาพมุมมองเดียวกัน) โดยมี Parallax Barrier ที่เป็นชั้นกรองพิเศษสามารถแบ่งแต่ละส่วนของภาพให้ตาแต่ ละข้างที่มองผ่าน ชั้นนี้มองเห็นภาพที่ไม่เหมือนกันได้พร้อมกัน แน่นอนว่าสมองของเราพยายามที่จะรวมภาพที่มีมุมมองต่างกันให้ เป็นภาพเดียว เราก็จะมองเห็น เป็นภาพ 3D ซึ่งถ้าจะอธิบายกัน ง่ายๆ ก็คือ Parallax Barrier ทาหน้าที่ฟิลเตอร์ภาพทั้งสองภาพ ให้ตาแต่ละข้างได้มองเห็นคนละภาพกัน
  • 26.
  • 27. เครื่องเล่นเกมส์พกพาอย่าง Nintendo 3DS ที่สามารถ แสดงผล 3D ได้โดยไม่ต้องใส่แว่นอีกต่อไป โดยเทคโนโลยีนี้เป็น การใช้เทคโนโลยีแบบ Parallax Barrier ซึ่งเป็นชั้นเลเยอร์พิเศษ ปิดทับบนหน้าจอทาหน้าที่หักเหแสงให้ตาแต่ละข้างมองเห็นภาพที่ มุมมองไม่เหมือนกัน
  • 29. สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น รูปภาพ 3D โปสเตอร์ต่างๆ ซึ่ง เป็นภาพ 3 มิติโดยดูด้วยตาเปล่า หรือ ใช้แว่น การดูภาพ 3 มิติ สามารถดูด้วยตาเปล่าโดยไม่ต้องเพ่ง หรือทาตาเอียงแต่อย่างใด หรือจะมอง ผ่านแว่นที่ข้างหนึ่งเป็นสีแดง อีกข้าง เป็นสีน้าเงินก็ได้
  • 31. Animation หลักการสร้างงานคอมพิวเตอร์ 3D Animation ในแง่มุมต่างๆ นั้น เป็นการนา หลักการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบดั้งเดิมมา ใช้ หนึ่งในแนวคิดที่สาคัญที่สุดของงาน Animation เช่น โปรแกรม MAYA 3D MAX Adobe Flash
  • 32.
  • 33. Games เครื่องเล่นเกมส์พกพาอย่าง Nintendo 3DS ที่สามารถ แสดงผล 3D ได้โดยไม่ต้องใส่แว่นอีกต่อไป โดยเทคโนโลยีนี้เป็น การใช้เทคโนโลยีแบบ Parallax Barrier ซึ่งเป็นชั้นเลเยอร์พิเศษ ปิดทับบนหน้าจอทาหน้าที่หักเหแสงให้ตาแต่ละข้างมองเห็นภาพที่ มุมมองไม่เหมือนกัน
  • 34. ภาพยนตร์ แสดงภาพแบบเชิงลอย คือ ขณะที่ชมภาพ จะให้ความรู้สึก ว่าภาพนั้นลอยออกมานอกจอ จนสามารถจับต้องได้ เทคนิค 3D แบบนี้จะพบได้ทั่วไปในโรง ภาพยนตร์ 3D เทคโนโลยีนี้เรา เรียกว่า "Polarize" โดยผูชม ้ จะต้องใส่แว่น 3D ที่มีเลนส์ข้าง หนึ่งสีแดง กับอีกข้างสีน้าเงิน นั้นเอง
  • 36. 3D ที่ดูโดยไม่ต้องใส่แว่นและไม่ทาให้ปวดตา • การปรับปรุงระบบการผลิตหนัง 3D ที่ทาให้ภาพมีความคมชัด โดยไม่ต้องใส่ แว่นประกอบในการดู ซึ่งทาให้เกิดความสะดวกสบายต่อผู้ชม อีกทั้งแว่นอาจบด บังทัศนียภาพมุมกว้าง หรือบางคนอาจจะรู้สึกราคาญ อยากมองภาพเปล่าๆ โดยไม่มีอะไรมาเป็นตัวขวางกั้นมากกว่า นอกจากนี้ระบบการผลิตภาพที่คมชัด มากขึ้น โดยการใช้เทคนิคต่างๆ จะช่วยให้คนดูรู้สึกไม่ปวดตา ซึ่งอาจเป็นผลดี ต่อสุขภาพตาของผู้ชมในระยะยาว
  • 37. • ปัจจุบัน ระบบ TV 3D กาลังเป็นที่นิยม อย่างมาก เพราะช่วยให้ภาพมีความ สมจริง ทาให้คนดูมีความรู้สึกว่าได้เข้าไป อยู่ในนั้นด้วย ทาให้มีอารมณ์ร่วมคล้อย ตามไปด้วยได้อย่างดี จากความนิยมใน ระบบ 3D ดังกล่าว อาจทาให้ระบบ TV 2D ในบ้านเราอาจหายไปอย่างถาวร เพราะความทันสมัยของระบบ 3D เข้ามา แทนที่ได้อย่างสมบูรณ์แบบ
  • 39. ข้อดี -สร้างความแปลกใหม่ในการรับชมสื่อ -ให้ความรู้สึกที่สมจริง ทาให้ถ่ายทอด อารมณ์ได้อย่าง สมบูรณ์ - 3D สามารถดึงดูดความสนใจของผู้ชมได้ มากกว่า 2D
  • 40. ข้อเสีย - เกิดการรบกวนกันเองของภาพ ทาให้เกิดอาการปวดตาหรือปวดศีรษะ - ในการชมภาพยนตร์ 3D ที่ต้องสวมแว่น อาจทาให้เกิดความกังวลกับแว่น จนทาให้การชมภาพยนตร์ไม่ราบรื่นหรือได้อรรถรสเท่าที่ควร - ในการผลิตสื่อ 3d จะมีราคาต้นทุนที่สูงกว่าปกติ
  • 42.
  • 43. เอกสารอ้างอิง http://www.muffincheeze.com/news_detail.php?news_id=16 http://forum.thaidvd.net/index.php?showtopic=131556 http://www.lcdtvthailand.com/article/detail.asp?param_id=706 http://board.eg3d-club.com/index.php?topic=30795.20 http://www.notebook4game.com/web/22110 http://www.yawaraj.com/th/forums/detail/article-2011002 http://www.vpro.co.th http://www.youtube.com/watch?v=uKujOudUk0w
  • 44. คณะผูจ้ ดั ทา 54218105 น.ส.จิราภรณ์ ไพบูลย์นภาพงศ์ 54218106 น.ส.จุติจุฑา ดวงจินดา 54218108 น.ส.ชนิกานต์ ปฏิทศน์ั 54218110 น.ส.ชุติญา อรรฐีโสต 54218111 น.ส.ณัชชารี ย ์ สุ ภทร์วรพงศ์ ั 54218123 น.ส.ธิดารัตน์ รอบุญ 54218124 น.ส.นฤมล ประดับ 54218139 น.ส.วรวรรณ ทองแผ่น