SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
บทที่บทที่ 22
ลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อ
ญาณข้อมูลข่าวสารที่ใช้ในระบบการสื่อสาร จะอยู่ในรูปขอ
็น 2 ชนิด คือ
ยง ( Audio Wave )
ยุ ( Radio Wave )
คลื่นเสียงและคลื่นวิทยุ
การได้ยินเสียงของมนุษย์การได้ยินเสียงของมนุษย์
คลื่นเสียงคลื่นเสียง
(( AudioAudio
Wave )Wave )
นคลื่นที่มีความถี่ตำ่า ความถี่อยู่ในช่วงประมาณ 20 – 20,00
• คลื่นเสียง เป็นคลื่นที่มนุษย์สามารถรับฟังได้
ลื่นเสียง เกิดจากการเปล่งเสียงของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งมีชีว
คลื่นเสียง อาจเกิดจากเครื่องกำาเนินเสียงสัญญาณต่างๆ
รายละเอียดทั่วไปของคลื่นเสียงรายละเอียดทั่วไปของคลื่นเสียง
ความถีคลื่นเสียงคือระดับความถี่ที่มนุษย์สามารถ
รับฟังได้ปกติระหว่าง 20 Hz to 20,000 Hz คลื่น
ตำ่า(Infrasonic waves)ความถีที่ตำ่ากว่า 20 Hz คลื่น
เหนือเสียง(Ultrasonic waves)ความถี่ที่สูงกว่า 20,0
00 Hz ความสัมพันธ์ระหว่างความถี ความยาวคลื่น
และความเร็วคลื่น
v = λ f
รายละเอียดทั่วไปของคลื่นเสียงรายละเอียดทั่วไปของคลื่นเสียง
ที่มนุษย์ได้ยินจะมีระดับความถี่ของเสียงแตกต่างกัน ดังนี้
สียงทุ้ม มีความถี่เสียงตำ่า ประมาณ 20 – 500 Hz
งกลาง มีความถี่เสียงปานกลาง ประมาณ 500 – 5,000 Hz
งแหลม มีความถี่เสียงสูง ประมาณ 5,000 – 20,000 Hz
คลื่นวิทยุคลื่นวิทยุ
(( RadioRadio
Wave )Wave )
เป็นคลื่นที่มีความถี่ ประมาณ 10kHz – 300GHz
วามเร็วในการเดินทางของคลื่นวิทยุ คือ 3x108
เมตร/วินา
รเดินทางของคลื่นวิทยุจะเคลื่อนที่อยู่ในรูปของคลื่นแม่เหล
รทางคลื่นวิทยุ คือ นำาข้อมูลต่างๆ ทั้งภาพ เสียง หรือข้อมูล
คลื่นวิทยุแล้วก็ส่งออกอากาศไป จากนั้นทางเครื่องรับก็จะร
สายอากาศ แล้วทำาการแยกคลื่นวิทยุและข้อมูลต่างๆออกจ
มูลข่าวสารนั้นไปใช้ต่อไป ส่วนในการผสมข่าวสารข้อมูลเข
ื่อสารด้วยคลื่นวิทยุก็มีด้วยกัน 3 แบบด้วยกัน ที่นิยมใช้กัน
ไปนี้
1. การผสมคลื่นทางความสูงหรือแบบ AM
2. การผสมคลื่นทางความถี่หรือ FM
3. การผสมคลื่นทางเฟสหรือ PM
การผสมคลื่นทางความสูงหรือแบบการผสมคลื่นทางความสูงหรือแบบ AMAM
ารนำาสัญญาณข่าวสารข้อมูล ไปผสมกับคลื่นพาหะโดยสัญ
งๆนั้น จะไปควบคุมการเปลี่ยนแปลงระดับความสูง ของสัญ
ลงตาม สัญญาณของข้อมูลข่าวสารนั้นโดยที่ความถี่ของคล
สำาหรับการผสมคลื่นทางความสูงสามารถผสมคลื่นได้ไม่เก
นไม่เกิน 100 % จะทำาให้คลื่นสัญญาณข้อมูลข่าวสารสาม
ด้ทั้งหมดทำาให้การรับข้อมูลข่าวสารที่ปลายทางสามารถรับ
งเดิมได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ แต่ถ้าหากผสมคลื่นเกิน 100 % แล
งส่วนไม่สามารถเกาะติดไปกับ คลื่นพาหะได้ทำาให้การรับข
มบูรณ์ หรือข้อมูลมีความผิดเพี้ยนไป ซึ่งการผสมคลื่นเกิน 1
เกินปกติ
การผสมคลื่นทางความถี่หรือการผสมคลื่นทางความถี่หรือ FMFM
ข้อมูลข่าวสาร ไปผสมกับคลื่นพาหะโดยสัญญาณข่าวสาร
ปลงระดับความถี่ของ สัญญาณคลื่นพาหะให้เพิ่มขึ้นหรือล
โดยที่ความสูงของคลื่นพาหะไม่เปลี่ยนแปลง แถบคลื่นควา
แถบคลื่นความถี่ที่เกิดขึ้นจากการ นำาสัญญาณข่าวสารข้อม
พาหะเกิดการเปลี่ยนแปลง ความถี่เพิ่มขึ้นหรือลดลง เกิดค
ปแถบความถี่ด้านข้าง ซึ่งจะเกิดขึ้นเป็นคู่ๆ กระจายห่างออ
งความถี่ด้านข้างสูงหรือ ความถี่ด้านข้างตำ่าทำาให้สัญญาณ
ารใช้งาน เป็นแถบความถี่ ความสัมพันธ์ของความถี่พาหะก
นอยู่กับดัชนีการผสมคลื่นเนื่องจากดัชนีการผสมคลื่น เป็นต
ความแรง ของพาหะกับความแรงของความถี่ด้านข้าง
การผสมคลื่นทางเฟสหรือการผสมคลื่นทางเฟสหรือ PMPM
เฟสหรือแบบ PM เป็นการนำาสัญญาณข่าวสารข้อมูลไปผส
เฟสของสัญญาณข่าวสารข้อมูลต่างๆ จะไปควบคุมการเปล
ะ โดยที่ระดับความสูงของคลื่นพาหะยังคงเดิม คือไม่เปลี่ย
ยการทำาให้คลื่นพาหะถูกสัญญาณ ข่าวสารข้อมูลควบคุมร
ยนแปลงสูงขึ้นหรือตำ่าลงตามเฟสสัญญาณข้อมูลข่าวสาร ส
สจากบวกเป็นลบถูกผสมเข้ามา ทำาให้คลื่นพาหะมีความถี่ต
าวสารข้อมูลช่วงเปลี่ยนจากเฟสลบ เป็นบวกถูกผสมเข้ามา
าปกติ ความถี่คลื่นพาหะจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปมากที่ส
ข้อมูลเปลี่ยนระดับ ความแรงเลื่อนผ่านตำาแหน่งศูนย์ คลื่นพ
ายกับการผสมแบบ FM บางที่จึงเรียกว่า การผสมแบบ FM
แถบแม่เหล็กไฟฟ้าแถบแม่เหล็กไฟฟ้า
พบโดย เจมส์ ซี แมกซ์เวล
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มาจัดเรียงตามลำาดับความถี่และความย
“แถบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า”
ฟ้า เกิดจากการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagne
มไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อสนามไฟฟ
ให้เกิดสนามแม่เหล็ก หรือถ้าสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแป
ฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง ประกอบด้วยสนา
ารสั่นในแนวตั้งฉากกัน และอยู่บนระนาบตั้งฉากกับทิศการ
ไฟฟ้าเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง จึงสามารถเ
กมมา (gamma ray : l < 0.1 nm) และช่วงรังสีเอ็กซ์
1 nm < l < 300 nm) เป็นช่วงที่มีพลังงานสูง
กปฏิกิริยานิวเคลียร์ หรือจากสารกัมมันตรังสี
าไวโอเลต เป็นช่วงที่มีพลังงานสูง เป็นอันตรายต่อเซลสิ่งม
สง เป็นช่วงคลื่นที่ตามนุษย์รับรู้ได้ ประกอบด้วยแสงสีม่วง
ถึงแสงสีแดง
าเรด เป็นช่วงคลื่นที่มีพลังงานตำ่า ตามนุษย์มองไม่เห็น จำาแ
ดคลื่นสั้น และอินฟราเรดคลื่นความร้อน
1. ELF (Extremely Low Frequency)
2. VF (Voice Frequency)
3. VLF (Very Low Frequency)
4. LF (Low Frequency)
5. MF (Medium Frequency)
6. HF (High Frequency)
7. VHF (Very High Frequency)
8. UHF (Ultra High Frequency)
9. SHF (Super High Frequency)
10. EHF (Extremely High Frequency)
11. Infrared wave
12. Visible Spectrum
F (Extremely Low Frequency)
30 Hz-300 Hz ซึ่งมีความยาวคลื่น 107-106 เมตร ซึ่งเป
รถได้ยิน และเป็นช่วงของความถี่ไฟบ้านที่ 50 Hz และ 60
F (Voice Frequency)
Hz-3000 Hz ซึ่งมีความยาวคลื่น 105-106 เมตร ซึ่งเป็นคว
F (Very Low Frequency)
3 kHz-30 kHz ซึ่งมีความยาวคลื่น 104-105 เมตร ซึ่งเป
ารทางทหารใช้
LF (Low Frequency)
คือ ความถี่ 30 kHz-300 KHz ซึ่งมี
ความยาวคลื่น 103-104 เมตร ซึ่งเป็นความถี่ที่ใช้
ในการนำาร่องของระบบการบินและการเดินเรือ
MF (Medium Frequency)
คือ ความถี่ 300 kHz-3000 KHz (3 MHz)
ซึ่งมีความยาวคลื่น 103-102 เมตร ซึ่งเป็น
ความถี่ที่ใช้สำาหรับคลื่นวิทยุกระจายเสียงในระบบ
AM (535-1605 MHz) และยังใช้สำาหรับการ
สื่อสารในระบบการบินและการเดินเรือ
HF (High Frequency)
คือ ความถี่ 3 MHz-30 MHz ซึ่งมี
ความยาวคลื่น 102-101 เมตร ความถี่สูงหรือที่
เรียกว่า คลื่นสั้น (short wave) จะใช้ในการกระ
จายเสียงวิทยุคลื่นสั้น เช่น VOA (Voice Of
American) ใช้ในการสื่อสารคลื่นวิทยุแบบ 2 way
ใช้ในวิทยุสื่อสารของทหารและวิทยุสมัครเล่น
VHF (Very High Frequency)
คือ ความถี่ 30 MHz-300 MHz ซึ่งมี
ความยาวคลื่น 10-1-1 เมตร เป็นช่วงความถี่ที่มี
การใช้งานมาก เช่น วิทยุกระจายเสียงในระบบ
FM (88-108 MHz) มีสถานีโทรทัศน์ช่อง 2 ถึงช่อง
13 มีบางช่วงความถี่สำาหรับวิทยุสมัครเล่น
UHF (Ultra High Frequency)
คือ ความถี่ 300 MHz-3000 MHz ซึ่งมี
ความยาวคลื่น 1-10-1 เมตร เป็นอีกช่วงที่มีการใช้
งานมาก มีสถานีโทรทัศน์ตั้งแต่ช่อง 14 ถึงช่อง 83
และถูกใช้งานมากในระบบสื่อสารเคลื่อนที่ บริการ
ด้านโทรศัพท์ระบบ cellular มีช่องความถี่สำาหรับ
ทหาร ระบบนำาร่อง (navigation) และระบบ Radar
สำาหรับความถี่ที่สูงกว่า 1000 MHz หรือ
1 GHz ขึ้นไป จะถูกเรียกว่า Microwave
SHF (Super High Frequency)
คือ ความถี่ 3 GHz-30 GHz มีความยาวคลื่น
10-1 - 10-2 เมตร คือย่านความถี่ microwave ซึ่ง
ถูกใช้งานมากในระบบดาวเทียมและระบบ Radar
EHF (Extremely High Frequency)
คือ ความถี่ 30 GHz-300 GHz มี
ความยาวคลื่น 10-2 - 10-3 เมตร ใช้สำาหรับระบบ
สื่อสารดาวเทียมและระบบ Radar ชนิดพิเศษ
เนื่องจากอุปกรณ์สื่อสารที่ใช้ในย่านความถี่นี้มี
ความซับซ้อนมาก จึงยังมีการใช้งานน้อย
ความถี่ที่อยู่เหนือจากนี้ขึ้นไปจะถูกเรียกว่า
Millimeter Wave
Infrared wave
คือ มีความยาวคลื่น 0.7 - 100 micron สำาหรับ
สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่า 300 GHz
จะไม่นับเป็นคลื่นวิทยุ แต่จะมีการตั้งชื่อให้กับแถบ
ความถี่
ช่วงความถี่ infrared อยู่ระหว่างคลื่นวิทยุที่สูง
ที่สุด และคลื่นแสงที่ตามองเห็น
คลื่น Infrared มักแพร่กระจายออกมาพร้อมกับ
ความร้อน ซึ่งสามารถสร้างขึ้นโดย LED (Light
Emitting Diode) ชนิดพิเศษ
การใช้งาน เช่น งานดาราศาสตร์สำาหรับตรวจ
จับดาวหรือวัตถุในอวกาศ, ใช้ในการความคุมระยะ
ไกล (Remote control)
Visible Spectrum
คือ แสง ซึ่งมีความยาวคลื่น 8000 - 4000
Angstrom เหนือความถี่ของ Infrared เป็นแถบ
ความถี่ที่มนุษย์สามารถมองเห็นได้ แสงใช้ในการ
สื่อสารหลายอย่าง เพราะสามารถ modulate และส่ง
สัญญาณเข้าไปใน Fiber Optic ได้
Angstrom
คือ หน่วยวัดความยาวคลื่นของแสง โดย
1 Angstrom = 1 x 10-4
Micron
สหภาพคมนาคมระหว่างประเทศสหภาพคมนาคมระหว่างประเทศ
สัญลักษณ์
International Telecommunication Union : ITUInternational Telecommunication Union : ITU
ก่อตั้ง 17 พฤษภาคม . .ค ศ 1865
ประเภท องค์การระหว่างประเทศ
สำานักงานใหญ่
เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
จำานวน
สมาชิก
192 ประเทศ
ประวัติความเป็นมาของประวัติความเป็นมาของ ITUITU
ชื่อเดิมว่า "สหภาพโทรเลขระหว่าง
ประเทศ"(International Telegraph Union) ต่อมาในปี
ค.ศ. 1934 (พ.ศ. 2477) และได้กลายเป็น องค์การ
ชำานาญพิเศษของสหประชาชาติ
(United Nations) หรือ UN ในปี ค.ศ.1947 (พ.ศ. 2490)
เป็นต้นมา ITU เป็นองค์กรระหว่าง
ประเทศที่เกิดขึ้น มาจากความร่วมมือของรัฐบาลประเทศ
สมาชิกในอันที่จะทำาให้เกิดความ
ร่วมมือกัน เพื่อรับผิดชอบด้านการกำากับดูแล
(regulation) การจัดทำามาตรฐาน (standardization)
และการพัฒนากิจการโทรคมนาคมของโลกรวมทั้ง การ
บริหารและจัดการระหว่างประเทศในเรื่องเกี่ยวกับ
สเปกตรัมความถี่วิทยุ (radiofrequency spectrum)
ตลอดจนกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่จะนำาเอาไปใช้สำาหรับควบคุม
การเข้าถึง (Access to) และการใช้ประโยชน์ (Use)
จากวงโคจรดาวเทียม (satellite orbits) ทั้งหลายของ
วัตถุประสงค์วัตถุประสงค์
ละให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค ต่อประเทศกำาลังพัฒนา เ
าร โทรคมนาคมรวมถึงการส่งเสริมการดำาเนินการด้านต่า
เป็นสำาหรับใช้ดำาเนินการให้บรรลุผลสำาเร็จ
ให้มีการพัฒนาในส่วนของคุณสมบัติต่างๆ ของเทคโนโลยีใ
ารโทรคมนาคม ทั้งนี้เพื่อให้มีการพัฒนาทางด้านการควบค
งเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด รวมทั้งเป็นการส่งเสริมให้มีการ
หม่ๆ อีกด้วย
มีการกระจายการใช้ประโยชน์ต่างๆ ของเทคโนโลยีสื่อสาร
  (บริการโทรคมนาคมพื้นฐานที่หลากหลาย และบริการเส
ร) ไปสู่มวลมนุษยชาติ
สริมให้มีการใช้ประโยชน์ จากการให้บริการสื่อสารโทรคม
างความสัมพันธ์อย่างสันติวิธี
นย์กลางในการประสานงานการดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ของ
ลุตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้
ทบาทและวัตถุประสงค์ทบาทและวัตถุประสงค์
ภาพฯ มีการปรับปรุงเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ให้มีความเ
ะหนักดีถึงบทบาทของสหภาพ และทำาให้เกิดความร่วมมือก
วมมือระหว่างประเทศสมาชิกในอัน ที่จะปรับปรุงและแบ่งป
รคมนาคมทุกชนิด
ส่งเสริมการพัฒนาด้านวิชาการและการดำาเนินงาน
ให้มีประสิทธิภาพอย่างดีที่สุด เพื่อจะ
ปรับปรุงประสิทธิภาพของบริการโทรคมนาคมต่างๆ
เพิ่มพูนผลประโยชน์ให้แก่ประชาชน
ทั่วไปให้มากขึ้นเท่าที่จะทำาได้กำากับดูแล จัดสรรย่าน
ความถี่สำาหรับกิจการประเภทต่างๆ
ประสานงานการใช้ความถี่ของแต่ละประเทศกำาหนด
วิธีปฏิบัติ และควบคุมลักษณะทาง
เทคนิคต่างๆ เพื่อมิให้เกิดการรบกวนซึ่งกันและกัน
โดยการกำาหนดออกมาเป็น ข้อบังคับวิทยุ
ระหว่างประเทศ(Radio Regulations) ให้ประเทศ
ประเทศไทยกับประเทศไทยกับ ITUITU
ไทยเข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ พ.ศ.2428 และได้ให้ความร่วมม
นที่ตั้งของสำานักงานประจำาภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิก และจ
างๆ ให้ ทำาให้สหภาพสามารถปฏิบัติงานการพัฒนาโทรคม
กในภูมิภาคนี้ได้สะดวกและรวดเร็ว ในฐานะที่ประเทศไทยเ
หนึ่งมีบทบาทสำาคัญ และเป็นที่ยอมรับของสมาชิก ดังนั้น ใ
แทนผู้มีอำานาจเต็มที่ประเทศสเปนสเปนเมื่อ พ.ศ.2516 จึงไ
ชิกสภาบริหารของสหภาพฯ ทำาให้มีส่วนร่วมในการบริหาร
วมกำาหนดนโยบายต่างๆ รวมถึงการทำาหน้าที่เป็นผู้แทนขอ
ภูมิภาคเอเชีย และออสเตรเลีย โดยได้รับเลือกตั้งซำ้าอีก 3
532 และ พ.ศ.2537
หน่วยงานที่สำาคัญของ ITU ( International
Telecommunication Union )
แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ
1. General Secretariat
2. International Frequency Registration
Board : IFRB
3. Consultive committee International
Radio : CCIR
4. Consultive committee International
Telegraph and Telephone : CCITT
ค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ (( InternaInterna
mmunication Satellite Organizationmmunication Satellite Organization หรือหรือ INTELSATINTELSAT
หน่วยงานสื่อสารโทรคมนาคมภายในประเทศหน่วยงานสื่อสารโทรคมนาคมภายในประเทศ
1. กรมไปรษณีย์โทรเลข
2. การสื่อสารแห่งประเทศไทย ( กสท. )
3. องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ( ทศท. )
4. บริษัทชินวัตรแซทเทลไลท์ จำากัด
ช้งานดาวเทียมไทยคมเพื่อการสื่อสาร มีดังนี้
1. ทางด้านโทรทัศน์
2. ทางด้านวิทยุกระจายเสียง
3. ทางด้านโทรศัพท์
4. ทางด้านการสื่อสารข้อมูล
5. ทางด้านการบริการใหม่

More Related Content

Similar to บทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร

Similar to บทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร (6)

ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียงฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
 
Wave
WaveWave
Wave
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404
คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404
คลื่นวิทยุ(สิทธิกานต์+วรุตม์)404
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 

บทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร

  • 2. ญาณข้อมูลข่าวสารที่ใช้ในระบบการสื่อสาร จะอยู่ในรูปขอ ็น 2 ชนิด คือ ยง ( Audio Wave ) ยุ ( Radio Wave ) คลื่นเสียงและคลื่นวิทยุ
  • 4.
  • 5. คลื่นเสียงคลื่นเสียง (( AudioAudio Wave )Wave ) นคลื่นที่มีความถี่ตำ่า ความถี่อยู่ในช่วงประมาณ 20 – 20,00 • คลื่นเสียง เป็นคลื่นที่มนุษย์สามารถรับฟังได้ ลื่นเสียง เกิดจากการเปล่งเสียงของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งมีชีว คลื่นเสียง อาจเกิดจากเครื่องกำาเนินเสียงสัญญาณต่างๆ
  • 6.
  • 7. รายละเอียดทั่วไปของคลื่นเสียงรายละเอียดทั่วไปของคลื่นเสียง ความถีคลื่นเสียงคือระดับความถี่ที่มนุษย์สามารถ รับฟังได้ปกติระหว่าง 20 Hz to 20,000 Hz คลื่น ตำ่า(Infrasonic waves)ความถีที่ตำ่ากว่า 20 Hz คลื่น เหนือเสียง(Ultrasonic waves)ความถี่ที่สูงกว่า 20,0 00 Hz ความสัมพันธ์ระหว่างความถี ความยาวคลื่น และความเร็วคลื่น
  • 8. v = λ f รายละเอียดทั่วไปของคลื่นเสียงรายละเอียดทั่วไปของคลื่นเสียง ที่มนุษย์ได้ยินจะมีระดับความถี่ของเสียงแตกต่างกัน ดังนี้ สียงทุ้ม มีความถี่เสียงตำ่า ประมาณ 20 – 500 Hz งกลาง มีความถี่เสียงปานกลาง ประมาณ 500 – 5,000 Hz งแหลม มีความถี่เสียงสูง ประมาณ 5,000 – 20,000 Hz
  • 9. คลื่นวิทยุคลื่นวิทยุ (( RadioRadio Wave )Wave ) เป็นคลื่นที่มีความถี่ ประมาณ 10kHz – 300GHz วามเร็วในการเดินทางของคลื่นวิทยุ คือ 3x108 เมตร/วินา รเดินทางของคลื่นวิทยุจะเคลื่อนที่อยู่ในรูปของคลื่นแม่เหล
  • 10. รทางคลื่นวิทยุ คือ นำาข้อมูลต่างๆ ทั้งภาพ เสียง หรือข้อมูล คลื่นวิทยุแล้วก็ส่งออกอากาศไป จากนั้นทางเครื่องรับก็จะร สายอากาศ แล้วทำาการแยกคลื่นวิทยุและข้อมูลต่างๆออกจ มูลข่าวสารนั้นไปใช้ต่อไป ส่วนในการผสมข่าวสารข้อมูลเข ื่อสารด้วยคลื่นวิทยุก็มีด้วยกัน 3 แบบด้วยกัน ที่นิยมใช้กัน ไปนี้ 1. การผสมคลื่นทางความสูงหรือแบบ AM 2. การผสมคลื่นทางความถี่หรือ FM 3. การผสมคลื่นทางเฟสหรือ PM
  • 11. การผสมคลื่นทางความสูงหรือแบบการผสมคลื่นทางความสูงหรือแบบ AMAM ารนำาสัญญาณข่าวสารข้อมูล ไปผสมกับคลื่นพาหะโดยสัญ งๆนั้น จะไปควบคุมการเปลี่ยนแปลงระดับความสูง ของสัญ ลงตาม สัญญาณของข้อมูลข่าวสารนั้นโดยที่ความถี่ของคล สำาหรับการผสมคลื่นทางความสูงสามารถผสมคลื่นได้ไม่เก นไม่เกิน 100 % จะทำาให้คลื่นสัญญาณข้อมูลข่าวสารสาม ด้ทั้งหมดทำาให้การรับข้อมูลข่าวสารที่ปลายทางสามารถรับ งเดิมได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ แต่ถ้าหากผสมคลื่นเกิน 100 % แล งส่วนไม่สามารถเกาะติดไปกับ คลื่นพาหะได้ทำาให้การรับข มบูรณ์ หรือข้อมูลมีความผิดเพี้ยนไป ซึ่งการผสมคลื่นเกิน 1 เกินปกติ
  • 12. การผสมคลื่นทางความถี่หรือการผสมคลื่นทางความถี่หรือ FMFM ข้อมูลข่าวสาร ไปผสมกับคลื่นพาหะโดยสัญญาณข่าวสาร ปลงระดับความถี่ของ สัญญาณคลื่นพาหะให้เพิ่มขึ้นหรือล โดยที่ความสูงของคลื่นพาหะไม่เปลี่ยนแปลง แถบคลื่นควา แถบคลื่นความถี่ที่เกิดขึ้นจากการ นำาสัญญาณข่าวสารข้อม พาหะเกิดการเปลี่ยนแปลง ความถี่เพิ่มขึ้นหรือลดลง เกิดค ปแถบความถี่ด้านข้าง ซึ่งจะเกิดขึ้นเป็นคู่ๆ กระจายห่างออ งความถี่ด้านข้างสูงหรือ ความถี่ด้านข้างตำ่าทำาให้สัญญาณ ารใช้งาน เป็นแถบความถี่ ความสัมพันธ์ของความถี่พาหะก นอยู่กับดัชนีการผสมคลื่นเนื่องจากดัชนีการผสมคลื่น เป็นต ความแรง ของพาหะกับความแรงของความถี่ด้านข้าง
  • 13. การผสมคลื่นทางเฟสหรือการผสมคลื่นทางเฟสหรือ PMPM เฟสหรือแบบ PM เป็นการนำาสัญญาณข่าวสารข้อมูลไปผส เฟสของสัญญาณข่าวสารข้อมูลต่างๆ จะไปควบคุมการเปล ะ โดยที่ระดับความสูงของคลื่นพาหะยังคงเดิม คือไม่เปลี่ย ยการทำาให้คลื่นพาหะถูกสัญญาณ ข่าวสารข้อมูลควบคุมร ยนแปลงสูงขึ้นหรือตำ่าลงตามเฟสสัญญาณข้อมูลข่าวสาร ส สจากบวกเป็นลบถูกผสมเข้ามา ทำาให้คลื่นพาหะมีความถี่ต าวสารข้อมูลช่วงเปลี่ยนจากเฟสลบ เป็นบวกถูกผสมเข้ามา าปกติ ความถี่คลื่นพาหะจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปมากที่ส ข้อมูลเปลี่ยนระดับ ความแรงเลื่อนผ่านตำาแหน่งศูนย์ คลื่นพ ายกับการผสมแบบ FM บางที่จึงเรียกว่า การผสมแบบ FM
  • 14. แถบแม่เหล็กไฟฟ้าแถบแม่เหล็กไฟฟ้า พบโดย เจมส์ ซี แมกซ์เวล คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มาจัดเรียงตามลำาดับความถี่และความย “แถบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า” ฟ้า เกิดจากการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagne มไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อสนามไฟฟ ให้เกิดสนามแม่เหล็ก หรือถ้าสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแป ฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง ประกอบด้วยสนา ารสั่นในแนวตั้งฉากกัน และอยู่บนระนาบตั้งฉากกับทิศการ ไฟฟ้าเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง จึงสามารถเ
  • 15.
  • 16.
  • 17. กมมา (gamma ray : l < 0.1 nm) และช่วงรังสีเอ็กซ์ 1 nm < l < 300 nm) เป็นช่วงที่มีพลังงานสูง กปฏิกิริยานิวเคลียร์ หรือจากสารกัมมันตรังสี าไวโอเลต เป็นช่วงที่มีพลังงานสูง เป็นอันตรายต่อเซลสิ่งม สง เป็นช่วงคลื่นที่ตามนุษย์รับรู้ได้ ประกอบด้วยแสงสีม่วง ถึงแสงสีแดง าเรด เป็นช่วงคลื่นที่มีพลังงานตำ่า ตามนุษย์มองไม่เห็น จำาแ ดคลื่นสั้น และอินฟราเรดคลื่นความร้อน
  • 18. 1. ELF (Extremely Low Frequency) 2. VF (Voice Frequency) 3. VLF (Very Low Frequency) 4. LF (Low Frequency) 5. MF (Medium Frequency) 6. HF (High Frequency) 7. VHF (Very High Frequency) 8. UHF (Ultra High Frequency) 9. SHF (Super High Frequency) 10. EHF (Extremely High Frequency) 11. Infrared wave 12. Visible Spectrum
  • 19. F (Extremely Low Frequency) 30 Hz-300 Hz ซึ่งมีความยาวคลื่น 107-106 เมตร ซึ่งเป รถได้ยิน และเป็นช่วงของความถี่ไฟบ้านที่ 50 Hz และ 60
  • 20. F (Voice Frequency) Hz-3000 Hz ซึ่งมีความยาวคลื่น 105-106 เมตร ซึ่งเป็นคว
  • 21. F (Very Low Frequency) 3 kHz-30 kHz ซึ่งมีความยาวคลื่น 104-105 เมตร ซึ่งเป ารทางทหารใช้ LF (Low Frequency) คือ ความถี่ 30 kHz-300 KHz ซึ่งมี ความยาวคลื่น 103-104 เมตร ซึ่งเป็นความถี่ที่ใช้ ในการนำาร่องของระบบการบินและการเดินเรือ MF (Medium Frequency) คือ ความถี่ 300 kHz-3000 KHz (3 MHz) ซึ่งมีความยาวคลื่น 103-102 เมตร ซึ่งเป็น ความถี่ที่ใช้สำาหรับคลื่นวิทยุกระจายเสียงในระบบ AM (535-1605 MHz) และยังใช้สำาหรับการ สื่อสารในระบบการบินและการเดินเรือ
  • 22. HF (High Frequency) คือ ความถี่ 3 MHz-30 MHz ซึ่งมี ความยาวคลื่น 102-101 เมตร ความถี่สูงหรือที่ เรียกว่า คลื่นสั้น (short wave) จะใช้ในการกระ จายเสียงวิทยุคลื่นสั้น เช่น VOA (Voice Of American) ใช้ในการสื่อสารคลื่นวิทยุแบบ 2 way ใช้ในวิทยุสื่อสารของทหารและวิทยุสมัครเล่น VHF (Very High Frequency) คือ ความถี่ 30 MHz-300 MHz ซึ่งมี ความยาวคลื่น 10-1-1 เมตร เป็นช่วงความถี่ที่มี การใช้งานมาก เช่น วิทยุกระจายเสียงในระบบ FM (88-108 MHz) มีสถานีโทรทัศน์ช่อง 2 ถึงช่อง 13 มีบางช่วงความถี่สำาหรับวิทยุสมัครเล่น
  • 23. UHF (Ultra High Frequency) คือ ความถี่ 300 MHz-3000 MHz ซึ่งมี ความยาวคลื่น 1-10-1 เมตร เป็นอีกช่วงที่มีการใช้ งานมาก มีสถานีโทรทัศน์ตั้งแต่ช่อง 14 ถึงช่อง 83 และถูกใช้งานมากในระบบสื่อสารเคลื่อนที่ บริการ ด้านโทรศัพท์ระบบ cellular มีช่องความถี่สำาหรับ ทหาร ระบบนำาร่อง (navigation) และระบบ Radar สำาหรับความถี่ที่สูงกว่า 1000 MHz หรือ 1 GHz ขึ้นไป จะถูกเรียกว่า Microwave SHF (Super High Frequency) คือ ความถี่ 3 GHz-30 GHz มีความยาวคลื่น 10-1 - 10-2 เมตร คือย่านความถี่ microwave ซึ่ง ถูกใช้งานมากในระบบดาวเทียมและระบบ Radar
  • 24. EHF (Extremely High Frequency) คือ ความถี่ 30 GHz-300 GHz มี ความยาวคลื่น 10-2 - 10-3 เมตร ใช้สำาหรับระบบ สื่อสารดาวเทียมและระบบ Radar ชนิดพิเศษ เนื่องจากอุปกรณ์สื่อสารที่ใช้ในย่านความถี่นี้มี ความซับซ้อนมาก จึงยังมีการใช้งานน้อย ความถี่ที่อยู่เหนือจากนี้ขึ้นไปจะถูกเรียกว่า Millimeter Wave
  • 25. Infrared wave คือ มีความยาวคลื่น 0.7 - 100 micron สำาหรับ สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่า 300 GHz จะไม่นับเป็นคลื่นวิทยุ แต่จะมีการตั้งชื่อให้กับแถบ ความถี่ ช่วงความถี่ infrared อยู่ระหว่างคลื่นวิทยุที่สูง ที่สุด และคลื่นแสงที่ตามองเห็น คลื่น Infrared มักแพร่กระจายออกมาพร้อมกับ ความร้อน ซึ่งสามารถสร้างขึ้นโดย LED (Light Emitting Diode) ชนิดพิเศษ การใช้งาน เช่น งานดาราศาสตร์สำาหรับตรวจ จับดาวหรือวัตถุในอวกาศ, ใช้ในการความคุมระยะ ไกล (Remote control)
  • 26. Visible Spectrum คือ แสง ซึ่งมีความยาวคลื่น 8000 - 4000 Angstrom เหนือความถี่ของ Infrared เป็นแถบ ความถี่ที่มนุษย์สามารถมองเห็นได้ แสงใช้ในการ สื่อสารหลายอย่าง เพราะสามารถ modulate และส่ง สัญญาณเข้าไปใน Fiber Optic ได้ Angstrom คือ หน่วยวัดความยาวคลื่นของแสง โดย 1 Angstrom = 1 x 10-4 Micron
  • 28. ก่อตั้ง 17 พฤษภาคม . .ค ศ 1865 ประเภท องค์การระหว่างประเทศ สำานักงานใหญ่ เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จำานวน สมาชิก 192 ประเทศ
  • 29. ประวัติความเป็นมาของประวัติความเป็นมาของ ITUITU ชื่อเดิมว่า "สหภาพโทรเลขระหว่าง ประเทศ"(International Telegraph Union) ต่อมาในปี ค.ศ. 1934 (พ.ศ. 2477) และได้กลายเป็น องค์การ ชำานาญพิเศษของสหประชาชาติ (United Nations) หรือ UN ในปี ค.ศ.1947 (พ.ศ. 2490) เป็นต้นมา ITU เป็นองค์กรระหว่าง ประเทศที่เกิดขึ้น มาจากความร่วมมือของรัฐบาลประเทศ สมาชิกในอันที่จะทำาให้เกิดความ ร่วมมือกัน เพื่อรับผิดชอบด้านการกำากับดูแล (regulation) การจัดทำามาตรฐาน (standardization) และการพัฒนากิจการโทรคมนาคมของโลกรวมทั้ง การ บริหารและจัดการระหว่างประเทศในเรื่องเกี่ยวกับ สเปกตรัมความถี่วิทยุ (radiofrequency spectrum) ตลอดจนกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่จะนำาเอาไปใช้สำาหรับควบคุม การเข้าถึง (Access to) และการใช้ประโยชน์ (Use) จากวงโคจรดาวเทียม (satellite orbits) ทั้งหลายของ
  • 30.
  • 31. วัตถุประสงค์วัตถุประสงค์ ละให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค ต่อประเทศกำาลังพัฒนา เ าร โทรคมนาคมรวมถึงการส่งเสริมการดำาเนินการด้านต่า เป็นสำาหรับใช้ดำาเนินการให้บรรลุผลสำาเร็จ ให้มีการพัฒนาในส่วนของคุณสมบัติต่างๆ ของเทคโนโลยีใ ารโทรคมนาคม ทั้งนี้เพื่อให้มีการพัฒนาทางด้านการควบค งเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด รวมทั้งเป็นการส่งเสริมให้มีการ หม่ๆ อีกด้วย
  • 32. มีการกระจายการใช้ประโยชน์ต่างๆ ของเทคโนโลยีสื่อสาร   (บริการโทรคมนาคมพื้นฐานที่หลากหลาย และบริการเส ร) ไปสู่มวลมนุษยชาติ สริมให้มีการใช้ประโยชน์ จากการให้บริการสื่อสารโทรคม างความสัมพันธ์อย่างสันติวิธี นย์กลางในการประสานงานการดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ของ ลุตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้
  • 33. ทบาทและวัตถุประสงค์ทบาทและวัตถุประสงค์ ภาพฯ มีการปรับปรุงเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ให้มีความเ ะหนักดีถึงบทบาทของสหภาพ และทำาให้เกิดความร่วมมือก วมมือระหว่างประเทศสมาชิกในอัน ที่จะปรับปรุงและแบ่งป รคมนาคมทุกชนิด ส่งเสริมการพัฒนาด้านวิชาการและการดำาเนินงาน ให้มีประสิทธิภาพอย่างดีที่สุด เพื่อจะ ปรับปรุงประสิทธิภาพของบริการโทรคมนาคมต่างๆ เพิ่มพูนผลประโยชน์ให้แก่ประชาชน ทั่วไปให้มากขึ้นเท่าที่จะทำาได้กำากับดูแล จัดสรรย่าน ความถี่สำาหรับกิจการประเภทต่างๆ ประสานงานการใช้ความถี่ของแต่ละประเทศกำาหนด วิธีปฏิบัติ และควบคุมลักษณะทาง เทคนิคต่างๆ เพื่อมิให้เกิดการรบกวนซึ่งกันและกัน โดยการกำาหนดออกมาเป็น ข้อบังคับวิทยุ ระหว่างประเทศ(Radio Regulations) ให้ประเทศ
  • 35. ไทยเข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ พ.ศ.2428 และได้ให้ความร่วมม นที่ตั้งของสำานักงานประจำาภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิก และจ างๆ ให้ ทำาให้สหภาพสามารถปฏิบัติงานการพัฒนาโทรคม กในภูมิภาคนี้ได้สะดวกและรวดเร็ว ในฐานะที่ประเทศไทยเ หนึ่งมีบทบาทสำาคัญ และเป็นที่ยอมรับของสมาชิก ดังนั้น ใ แทนผู้มีอำานาจเต็มที่ประเทศสเปนสเปนเมื่อ พ.ศ.2516 จึงไ ชิกสภาบริหารของสหภาพฯ ทำาให้มีส่วนร่วมในการบริหาร วมกำาหนดนโยบายต่างๆ รวมถึงการทำาหน้าที่เป็นผู้แทนขอ ภูมิภาคเอเชีย และออสเตรเลีย โดยได้รับเลือกตั้งซำ้าอีก 3 532 และ พ.ศ.2537
  • 36. หน่วยงานที่สำาคัญของ ITU ( International Telecommunication Union ) แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ 1. General Secretariat 2. International Frequency Registration Board : IFRB 3. Consultive committee International Radio : CCIR 4. Consultive committee International Telegraph and Telephone : CCITT
  • 37.
  • 40. ช้งานดาวเทียมไทยคมเพื่อการสื่อสาร มีดังนี้ 1. ทางด้านโทรทัศน์ 2. ทางด้านวิทยุกระจายเสียง 3. ทางด้านโทรศัพท์ 4. ทางด้านการสื่อสารข้อมูล 5. ทางด้านการบริการใหม่