SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
เรื่องนารูเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องตนองนารูเกี่ยวกับการปฐม
พยาบาล
การปฐมพยาบาล หมายถึง การปฏิบัติการใหความชวยเหลือ หรือการรักษาพยาบาลในขั้นแรกแกผูที่ไดรับอุบัติเหตุ
หรือผูปวยโดยปจจุบันทันดวนกอนที่ผูปวยจะไดรับการรักษาพยาบาล จากแพทย ทั้งนี้เพื่อชวยใหผูปวยพนจากอันตราย
หรือลดอันตรายใหนอยลงกอนที่แพทยจะรักษาในขั้นตอไป
เอุปกรณปฐมพยาบาล
สําลี ผากอซแผนชนิดฆาเชื้อ ทําความสะอาด (แอลกอฮอล)
คีมสําหรับบงเสี้ยน ผาสามเหลี่ยม
ผากอซพันแผลขนาดตาง ๆ เชน 1 นิ้ว 2 นิ้ว 3 นิ้ว หรือ 4 นิ้ว
กรรไกรขนาดกลาง เข็มกลัดซอนปลาย
แกวลางตา พลาสเตอรมวน หรือชิ้น
ผายืดพันแกเคล็ด ขัดยอก(Elastic bandage) ผากอซชุบพาราฟนสําหรับปดแผลไฟไหม
ยาที่ควรมีไวในตูยาประจําบาน
ยาแกปวดลดไข เชน ยาเม็ดพาราเซตามอล ขนาด 500 มิลลิกรัม
ยาแกแพ ลดน้ํามูก เชน ยาเม็ดคลอเฟนนิรามีน 4 มิลลิกรัม และ 2 มิลลิกรัม
ยาแกปวดทอง ทองอืด ทองเฟอ เชน ยาธาตุน้ําแดง ยาธาตุน้ําขาว โซดามิ้นท ขมิ้นชันแคปซูล
ยาโรคกระเพาะ เชน ยาเม็ดอลูมินาแมกนิเซีย ไตรซิลลิเคท
ยาแกทองเสีย เชน ยาน้ําเคาลินเปคติน ผงน้ําตาลเกลือแร
ยาใสแผล เชน ทิงเจอรแผลสด ไอโปดีน
ยาลางตา โบริคโซลูชั่น
ยาทาแกแพ แกคัน คาลาไมน
ยาลางแผล เช็ดแผล เชน ไฮโดรเจนเปอรออกไซด แอลกอฮอลเช็ดแผล
ยาทานวด เชน ขี้ผึ้งปวดบวม ครีมระกํา GPO บาลม
ยาแกไอผูใหญ เชน ยาแกไอน้ําดํา ยาขับเสมหะ
ยาแกไอเด็ก เชน ยาแกไอขับเสมหะ ยาแกไอเด็กเล็ก
ยาระบาย เชน ยาระบายแมกนีเซีย ชามะขามแขก ยาเม็ดมะขามแขก
ยาสูดดม เชน เหลาแอมโมเนีย
2
ความปลอดภัยสําหรับเด็ก
อยาปลอยใหทารก หรือเด็กอายุต่ํากวา 5 ขวบ ไวกับสิ่งที่อุดตันทางเดินหายใจได เชน ถุงพลาสติกใหเลือก
ของเลนชิ้นใหญ ๆ ที่ใสปากไมได
อยาใชหมอนกับทารกอายุต่ํากวา1 ป
อยาทิ้งทารกไวกับขวดนม หรืออาหารตามลําพัง เพราะอาจสําลักได
หามใหถั่วลิสง นอยหนา มะขาม แกเด็กอายุต่ํากวา 3 ขวบ
อยาปลอยใหเด็กทารกไวบนเตียงกับคุณนาน ๆ เพราะอาจเผลอหลับทับเด็กได
อยาปลอยเด็กหรือทารกไวบนที่ยกสูงตามลําพัง
รถหัดเดินควรมีฐานและลอที่แข็งแรง
อยาปลอยเด็ก หรือทารกไวบนเกาอี้สูงโดยไมมีเครื่องรัดตัว
อยาวางแจกันแกว กาน้ํารอนไวบนโตะเตี้ย หรือในระยะที่เด็กเอื้อมมือถึง
หาที่ครอบปลั๊กไฟ และสอนไมใหเลนปลั๊กไฟ พัดลม เมื่อเด็กเรียนรูและสอนจุดอันตรายตาง ๆใหเด็กทราบ
หามเด็กอายุต่ํากวา 5 ขวบ ขามถนนตามลําพัง ควรจูงมือเด็กที่อายุต่ํากวา5 ขวบ ขามถนนเสมอ
อยาถือของรอน ถวยกาแฟรอน ๆเหนือศีรษะเด็ก
บานที่มีเด็กในวัยหัดเดินเตาะแตะ ไมควรใชผาปูโตะที่มีชายใหเด็กดึงได
การปฐมพยาบาลเบื้องตน
1. ไฟไหม น้ํารอนลวก
ฉีก หรือตัดเสื้อผาบริเวณที่ถูกน้ํารอนลวกออก
เสื้อผาที่ไหมไฟและดับแลว ถาติดที่แผล ไมตองดึงออก
ถอดเครื่องประดับที่รัดอยู เชน แหวน เข็มขัด นาฬิกา รองเทา(เพราะอาจจะบวมทําใหถอดยาก)
ทําใหบริเวณที่ถูกไฟไหม น้ํารอนลวกเย็นลงโดยเร็วที่สุด(ทําอยางนอย 10 นาที)
ใชผากอซปราศจากเชื้อปดแผล กรณีแผลใหญ ใชผาปดพันดวยผายืดหลวม ๆ
3
2. การทําแผล
ลางมือใหสะอาด
ทําแผลที่สะอาดกอนแผลที่สกปรก
เช็ดรอบแผลดวยสําลีชุบแอลกอฮอล (เช็ดจากขางในวนมาขางนอกทางเดียว)
ปดดวยผากอซ หรือผาสะอาด
อยาใหถูกน้ําอีก เพราะจะทําใหเปนหนองหรือหายชา
2.1 กรณีแผลถลอกทั่วไป
ลางดวยน้ํา และสบูใหสิ่งสกปรกออกใหหมด
เช็ดดวยแอลกอฮอล ทาทิงเจอรแผลสด หรือ เบตาดีน
ไมตองปดแผล
2.2 กรณีแผลตื้น หรือมีดบาด (เลือดออกไมมาก)
บีบเลือดออกบาง
ลางดวยน้ําสะอาด และสบู
ใสยาทิงเจอรแผลสด หรือเบตาดีน
ปดแผล เพื่อใหขอบแผลสมานติดกัน
2.3 กรณีแผลลึกถึงกระดูก หรือกระดูกโผล
หามเลือดทันที
ใชผาสะอาดคลุม หามจับกระดูกยัดกลับเขาไป
รีบพาไปพบแพทยทันที
2.4 กรณีแผลมีหนอง
ลางดวยไฮโดรเจนเปอรออกไซด หรือเดกิ้นโซลูชั่น ทุกวัน
เช็ดดวยสําลี
รับประทานยาปฏิชีวนะตามแพทยสั่งใหครบ
4
2.5 กรณีแผลตะปูตํา
ลางแผลใหสะอาดดวยน้ํา และสบูมากๆ
ใชไฮโดรเจนเปอรออกไซดทําความสะอาดอีกครั้ง
ปดแผล หามถูกน้ํา
ฉีดยาปองกันบาดทะยัก
รับประทานยาปฏิชีวนะตามแพทยสั่งใหครบ
2.6 กรณีแผลถูกแทงดวยของแหลม มีด ไม
ตัดมีด หรือไมที่ถูกแทงใหสั้นลง และยึดวัสดุนั้นใหอยูนิ่ง เพื่อใหเดินทางไปพบแพทย
ไดสะดวก (หามดึงออก)
ใหอยูนิ่ง ๆ
รีบนําสงโรงพยาบาล
2.7 กรณีแผลพุ -พอง
จากการเสียดสี ไฟไหม น้ํารอนลวก ผิวหนังชั้นนอกแยกจากชั้นใน มีน้ํามาขังอยู
การปฐมพยาบาล
ถาแผลเล็ก ไมตองทําอะไร ปกติรางกายจะดูดซึมน้ํากลับไปเอง และผิวหนังชั้นนอกจะลอกตัวไป
ถาบริเวณที่พุพองขยายตัวกวางขึ้นใหรีบไปพบแพทย
3. เลือดออก
ใชนิ้วกดบาดแผลประมาณ 10 นาที หรือบีบเนื้อขาง ๆ มาปดแผล
ใชผาหรือเนคไทพันปดบาดแผลไว อยาใหแนนจนชา
แผลที่แขน หรือขา ใหยกสูง ถาเลือดไหลไมหยุดใหกดเสนเลือดใหญที่ไปเลี้ยงแขน หรือขา
4. เลือดออกไมหยุดหลังการถอนฟน
กัดผากอซชิ้นใหมซ้ํา อมน้ําแข็ง (หามบวนน้ํา หรือน้ํายาบวนปาก)
ประคบน้ําแข็งนอกปาก
ถายังไมหยุดใหรีบไปพบแพทย
5
5. เลือดกําเดาออก
สาเหตุ
จากการกระแทก สั่งน้ํามูก การแคะจมูก
การปฐมพยาบาล
นั่งลง กมศีรษะเล็กนอย บีบจมูกนาน 10 นาที (หายใจทางปาก)
วางน้ําแข็ง หรือผาเย็น ๆ บนสันจมูก หนาผาก ใตขากรรไกร
ถาไมหยุด รีบไปพบแพทย
6. ฟกช้ํา หัวโน หอเลือด
ใหประคบความเย็นเร็วที่สุด เพื่อลดอาการบวม หรือใชมะนาวผสมดินสอพองพอกไว
(ปกติรอยฟกช้ําจะหายไปเอง)
ถาเกิดอาการนานเกิน 24 ชั่วโมง ใชประคบ และคลึงดวยผาชุบน้ํารอน วันละ2-3 ครั้ง
7. ขอเคล็ด
ใหบริเวณขอนั้น ๆ อยูนิ่ง ๆ และยกสูงไว
ประคบน้ําแข็งทันที เพื่อลดอาการบวม ปวด
ถาภายหลังมีอาการบวม ใหประคบดวยน้ํารอน หรือนวดดวยยาหมอง
หรือน้ํามันระกํา หรือGPO บาลม
ถาปวดมาก บวมมาก ใหรีบปรึกษาแพทย
8. กระดูกหัก
ใหวางอวัยวะสวนนั้น ๆบนแผนไม หรือหนังสือหนา ๆ
ใชผาพันยึดไมใหเคลื่อนไหว
ถาเปนปลายแขน หรือมือ ใหใชผาคลองคอ
9. กางติดคอ
กลืนกอนขาวสุก หรือขนมปงนิ่ม ๆ
ถายังไมหลุด กลืนน้ําสมสายชูเจือจาง เพื่อใหกางออนลง
ถาไมหลุด ควรไปพบแพทย
6
10. ตะคริว
สาเหตุ
ใชกลามเนื้อมัดนั้นหนักเกินไป
ความหนาวเย็น
การสูญเสียน้ําและเกลือแร (อาเจียน ทองเสีย เหงื่อออก)
การปฐมพยาบาล
การยืดกลามเนื้อสวนนั้นออกโดยถาเปนที่มือ ใหยืดนิ้วมือ ดัดปลายนิ้ว ถาเปนที่เทา ใหยืดนิ้วเทายืนเขยง
ถาเปนที่ตนขา ใหนั่งลง เหยียดเทา กดที่หัวเขา และชวยนวดเทา ถาเปนที่นอง ใหนั่งลง ยืดขา
ถาเปนเพราะเสียเหงื่อ เสียน้ํา ใหดื่มน้ําเกลือ (เกลือ 1/2 ชอนชา ผสมน้ํา 1 ขวดแมโขง)
11. เปนลม
หามคนมุงดู พาเขาที่รมใหอยูในที่อากาศถายเทไดสะดวก
คลายเสื้อผาออกใหหลวม
จัดใหนอนตะแคงหนาไปขางใดขางหนึ่ง เพื่อปองกันในเรื่องทางเดินหายใจอุดตัน
โดยเฉพาะลิ้นของผูปวย มักจะตกไปทางดานหลังของลําคอ ทําใหหายใจไมออก
ใชผาชุบน้ําเช็ดหนาผาก มือและเทา
ถาอาการไมดีขึ้น รีบนําสงโรงพยาบาล
12. ช็อค
สาเหตุ
จากโรคหัวใจกําเริบ เกิดการบาดเจ็บรุนแรงมาก ไฟไหมน้ํารอนลวก
เลือดออกมาก กระดูกหัก อาเจียน หรือทองเสียรุนแรง
อาการ
หนาวเย็น เหงื่อออก เวียนศีรษะ หายใจเร็วขึ้น ชีพจรเร็วแตแผว กลัว กระหาย
การปฐมพยาบาล
ใหนอนราบ ถาเลือดออกหามเลือด หมผา คลายเสื้อผา อยาเคลื่อนไหวผูปวย ถาบาดเจ็บที่อกทอง ศีรษะ
ใหหนุนศีรษะและบาใหสูงกวาลําตัวเล็กนอย คอยปลอบใจ ถากระหายน้ํามาก ใหหยดน้ําที่ริมฝปากนิด ๆ หามรับประทาน
สิ่งใด ๆ
7
13. อาารปวดทองที่ควรไปพบแพทยทันที
ปวดทองพรอมอาเจียนเปนเลือด
เด็กอายุต่ํากวา 5 ขวบ หรือคนชรา
ปวดทอง เพราะถูกกระแทก ทุบ ตี หรือตกจากที่สูง
ปวดนานหลายชั่วโมง
ปวดมากจนนอนไมหลับ
14. ทองเดิน ทองรวง ทองเสีย
14.1 ในเด็กโต หรือผูใหญ
งดอาหารรสจัด และยอยยาก เลือกกินอาหารเหลว กินจนกวาอาการจะดีขึ้น
ดื่มน้ําเกลือแร หรือผสมเอง (เกลือ 1/2 ชอนชา + น้ํา 1 ขวดแมโขง)
ดื่มน้ําชาแก ๆ
ถาถายรุนแรง มีอาเจียน ออนเพลียมาก หนามืด เปนลม และอาการไมดีขึ้นภายใน 48 ชั่วโมง
ใหรีบไปพบแพทย
14.2 ในเด็กเล็ก เด็กทารก
งดนม และอาหาร ประมาณ 2 - 4 ชั่วโมง ดื่มน้ําเกลือแร
(ทารกใชเกลือ 1/2 ชอน + น้ํา 1 ขวดแมโขง)
ถาเด็กหิวมากใหนมที่ชงจาง ๆทีละนอย
ถาถายทองรุนแรง อาเจียน ดื่มนม หรือน้ําไมได (ซึม ตาโบ กระหมอมบุม หายใจหอบแรง) และไมดีขึ้นใน
24 ชั่วโมง ใหไปพบแพทยโดยดวน
15. ทองผูก
15.1 ในเด็กโต หรือผูใหญ
ดื่มน้ํามาก ๆ กินอาหารพวกผัก ผลไม งดชา กาแฟ และออกกําลังกาย
กินยาระบาย (ชามะขามแขก ยาระบายแมกนีเซีย)
ถามีอาการปวดทองรุนแรง หรืออาเจียนรุนแรง ควรไปพบแพทยโดยเร็ว
8
15.2 ในเด็กเล็ก
ดื่มน้ํามาก ๆ น้ําสมคั้นน้ําลูกพรุนตม หรือเปลี่ยนนม
ใชกลีเซอรีนเหน็บกน (ของเด็ก)
16. กินยาพิษ
16.1 ยาพิษที่มีฤทธิ์กัด
ตัวอยางเชน กรด ยาฆาเชื้อ ยาขัดพื้น น้ํายาลางสี ผงขัดถู แชมพู แอลกอฮอลทาแผล ยางสน น้ํายาขัดเงา
ผงและน้ํายาซักผา โซดาซักลาง สียอมเนื้อไม ผงซักฟอก ยาลางหองน้ํา
การปฐมพยาบาล
สังเกตรอยไหมบริเวณริมฝปากและปาก มองหาภาชนะบรรจุยาพิษที่ตกอยูใกลผูปวย
และนําภาชนะบรรจุยาพิษไปโรงพยาบาลดวย
ดื่มนมมาก ๆ (โดยใหจิบทีละนอย เพราะนมจะชวยทําใหพิษเจือจางลง) ถาหานมไมได
ใหดื่มน้ําสะอาด
หามทําใหอาเจียน ถาผูปวยหมดสติ หามกรอกน้ํา หรือของเหลวเขาปากผูปวย
ถาหยุดหายใจ ใหรีบชวยหายใจ และเรียกรถพยาบาลทันที
16.2 ยาพิษที่ไมมีฤทธิ์กัด
ตัวอยางเชน แอลกอฮอล (เอทธิลแอลกอฮอล) แอสไพริน ผลไมปามีพิษ เห็ดพิษ ยาแผนปจจุบัน
การปฐมพยาบาล
มองหาภาชนะบรรจุยาพิษที่ตกอยูใกลผูปวย นําไปโรงพยาบาล
ถาทราบวาเพิ่งรับประทานยาเขาไป พยายามทําใหอาเจียน ถาไมออก
ใหดื่มน้ํามาก ๆ พยายามลวงคอใหอาเจียน นําเศษอาเจียนไปใหแพทยดูดวย(ถาทําได)
ถากินยาพิษเขาไประยะหนึ่งแลวอยาทําใหอาเจียน เพราะพิษถูกดูดซึมภายหลัง
17. สําลัก หรือมีสิ่งของไปอุดหลอดลม
ทารก ใหตบกลางหลังอยางรวดเร็ว 4 ครั้ง ในทาที่ศีรษะอยูต่ํากวาปอด
เด็กเล็ก ใหตบกลางหลังหนัก ๆ 4 ครั้ง ในทาที่ศีรษะอยูต่ํากวาปอด
เด็กโตและผูใหญ ใหตบหนัก ๆ และเร็ว ๆ กลางหลัง 4 ครั้ง ในทาที่ศีรษะ
อยูต่ํากวาปอด
9
18. ถูกแกสพิษ
ตัวอยางเชน คารบอนมอนนอกไซด จะมีอาการปวดศีรษะ สับสน หายใจลําบาก อาจจะหมดสติ ผิวหนาจะ
เปลี่ยนเปนสีแดง ถาในขณะที่ไดรับแกสเพิ่มขึ้น
วิธีปฐมพยาบาล
ใหไดอากาศบริสุทธิ์เร็วและมากที่สุด(อาจจะเปด หรือทุบกระจกประตูหนาตาง)
คลายเสื้อผาใหหลวม ปฐมพยาบาลเหมือนคนช็อค (หมผาใหอบอุน)
ถาหยุดหายใจ ใหรีบชวยหายใจ
ดูการหายใจและจับชีพจรอยางใกลชิด
เรียกรถพยาบาลทันที
19. บาดเจ็บที่ตา
หากกรดหรือดางเขาตา อยาขยี้ตา ใหลางดวยน้ําสะอาดมาก ๆ แลวรีบพาไปพบแพทย
หากถูกของแหลมทิ่ม ใหนอนหลับตา ปดตาดวยผากอซ หรือผาเช็ดหนา
อยาขยับสายตาไปมา แลวรีบพาไปพบแพทยทันที
หากมีสิ่งแปลกปลอมเขาตาขาว ขยี้ตาเบา ๆ กระพริบตา ลางตา หรือเงยสายตาขึ้นดานบน
แลวใชมุมผาเช็ดหนาเขี่ยผงออก ถาเขี่ยไมออกใหรีบพาไปพบแพทย
ถาถูกกระแทกที่ดวงตา ใหประคบดวยความเย็นทันที แลวรีบพาไปพบแพทย
20. โดนพิษสัตวทะเล
20.1 โดนเงี่ยงปลาที่มีพิษ
แชน้ํารอนพอทน (40 องศาเซลเซียส หรือ 104 องศาฟาเรนไฮต) นาน 4-5 นาที
จะชวยใหหายปวด
20.2 โดนแมงกระพรุนไฟ
ใชทราย หรือผักบุงทะเลถูเมือกออก
ลางดวยน้ําสบู
ทาดวยน้ําปูนใส แอมโมเนีย เพรดนิโซโลนครีม หรือเบตาเมทธาโซนครีม
10
21. ลมพิษ
สาเหตุ
โดนสารที่แพ พืช สารเคมี แพอาหารทะเล เหลา เบียร ละอองตาง ๆ
การปฐมพยาบาล
ทายาแกผดผื่นคัน คาลาไมน เพรดนิโซโลนครีม หรือเบตาเมทธาโซนครีม
กินยาแกแพ คลอเฟนนิรามีน ขนาด 4 มิลลิกรัม 1 เม็ด
หาสาเหตุที่แพ
ถาผื่นไมยุบลง และเพิ่มมากขึ้นใหรีบไปพบแพทย
22. สัตวกัด
22.1 สุนัขกัด
ลางแผลดวยน้ําสะอาด ปดดวยผากอซสะอาด
ถาเลือดออก หามเลือดทันที(ดวยผากอซ หรือบีบแผล)
รีบไปพบแพทย เพื่อฉีดวัคซีน
22.2 งูกัด
ดูรอยแผล ถาเปนงูมีพิษ จะมีรอยเขี้ยว
ใชเชือก หรือยาง หรือเข็มขัดรัดเหนือแผลใหแนนพอควร
ใหนอนนิ่ง ๆ คอยปลอบใจ
หามดื่มสุรา ยาดองเหลา ยากลอมประสาท
ถาหยุดหายใจใหชวยหายใจทันที
ควรนํางูไปพบแพทยดวย ถาทําได
22.3 ทากดูดเลือด
หามดึง เพราะเลือดจะหยุดยาก
จี้ทากดวยบุหรี่ติดไฟ หรือไมขีดไฟใหทากหลุด
ลางแผลใหสะอาด ใสทิงเจอรแผลสด หรือเบตาดีน
11
22.4 แมลงตอย
ถาถูกตอยหลายตัว หรือตอยบริเวณหนา ใหรีบไปพบแพทย
พยายามถอนเหล็กใน (โดยใชหลอดกาแฟเล็ก ๆ แข็ง ๆ หรือปากกาครอบแลวกด
ใหเหล็กในโผล แลวดึงเหล็กในออก)
ใชยาแกแพทา หรือราดดวยน้ําโซดาหรือประคบดวยน้ําแข็ง (ปกติอาการบวมจะลดลง
ใน 1 วัน ถาไมลดใหพบแพทย)
ถามีอาการปวด กินยาแกปวด (พาราเซตามอล)
22.5 อาการแพพิษแมลงที่ตองไปพบแพทยทันที
ช็อค เวียนศีรษะ ตัวซีด เหงื่อออก อาเจียน หายใจลําบาก ผื่นขึ้นที่ตา ตาบวม
23. ของเขารูจมูก
บีบจมูกขางที่ไมมีของแลวสั่งออกมาแรง ๆ
อยาพยายามแคะออก
ถาเปนเด็กใหหันเหความสนใจจากจมูก ใหหายใจทางปาก แลวรีบไปพบแพทยทันที
24. ของเขาหู
ตะแคงศีรษะ หันหูขางที่มีของเขาไปลง เพื่อใหของหลนออกมาเอง
ถาไมออก หามแคะหู ใหรีบไปพบแพทย
25. แมลงเขาหู
พาไปหาที่มืด ใชไฟฉายสอง (ใหแมลงออกมาตามแสง)
หรือ หยอดดวยน้ํามัน หรือกลีเซอรีนบอแรกซ ใหแมลงลอยออกมา
แลวจึงเขึ่ย หรือคีบออก
ถาไมออกใหรีบไปพบแพทยทันที
26. คันในหู (เพราะเปนเชื้อรา)
ใชไมพันสําลีชุบทิงเจอรแผลสด ทาในรูหูวันละ 2-3 ครั้ง
12
27. หูอื้อ
กรณีเปนหูน้ําหนวกอยูใหรีบรักษาใหหาย
กรณีหูอื้อไมทราบสาเหตุ อาจจะมาจากการมีขี้หูมาก ขี้หูเหนียว ใหไปพบแพทย
เพื่อดึงขี้หู หรือดูดขี้หูออก
28. หอบ - หืด
ใหผูปวยนั่ง หรือยืนในทาเอนตัวไปขางหนา ใหหลังและหนาอกตรง
คลายเสื้อผาใหอากาศบริสุทธิ์ผานเขาหอง
ปลอบมิใหตกใจ วิตก กังวล
ถาเปนครั้งแรกรีบไปพบแพทยทันที
กรณีผูปวยพนยา หรือกินยาประจําใหรีบใชยาทันที
29. ไฟฟาช็อต
หากพบผูถูกกระแสไฟฟาดูดใหตัดการจายไฟ เชน คัทเอาทหรือ เตาเสียบ
ถาไมสามารถปดสวิตซไฟได หามใชมือจับตองคนที่กําลังถูกไฟช็อต
แลวใชสิ่งที่ไมนําไฟฟา เชน ไมกวาดเกาอี้ไม เขี่ยออกจากสายไฟ หรือเขี่ยสายไฟ
ออกจากตัวผูบาดเจ็บ
เมื่อตัวผูบาดเจ็บหลุดออกมาแลว รีบปฐมพยาบาล ถาหยุดหายใจ ใหทําการเปาปากชวยหายใจ ถาคลําชีพจร
ไมได ใหนวดหัวใจ แลวรีบนําไปโรงพยาบาล
การปฐมพยาบาลขั้นตนเมื่อผูบาดเจ็บจากการถูกไฟฟาช็อตหยุดหายใจ
1. วางผูปวยใหนอนหงาย แลวชอนคอผูปวยใหแหงนขึ้น
13
2. ตรวจดูวามีสิ่งอุดตันในชองปากหรือไมหากพบใหนําออกและชวยเปาปากโดยใชนิ้วงางปากและบีบจมูกของผูปวย
3. ประกบปากของผูปวยใหสนิท เปาลมเขาแรงๆ โดยเปาปากประมาณ 12-15 ครั้ง/นาที สังเกต การขยายของหนาอก
หากเปาปากไมไดใหเปาจมูกแทน
4. หากหัวใจหยุดเตน ตองนวดหัวใจโดยวางผูปวยนอนราบแลวเอามือกดเหนือลิ้นปใหถูกตําแหนง(ดังรูป)กดลงไปเปน
จังหวะเทากับการเตนของหัวใจ(ผูใหญประมาณนาทีละ 60 ครั้ง เด็กประมาณ 80 ครั้ง)
5. ฟงการเตนของหัวใจสลับกับการกดทุกๆ10-15 ครั้ง
6. ถาหยุดหายใจ และหัวใจหยุดเตนใหเปาปาก 2 ครั้ง นวดหัวใจ 15 ครั้งสลับกัน และถามีผูชวยเหลือ 2 คน ตอง
สลับกันเปาปาก 1 ครั้ง นวดหัวใจ 5 ครั้ง
การปฐมพยาบาลตองทําทันทีที่ชวยเหลือผูปวยออกมา และควรนําสงโรงพยาบาลขณะนําสงจะตองทําการ
ปฐมพยาบาลตามขั้นตอนดังกลาวตลอด
14
การปฏิบัติสําหรับกรณีฉุกเฉิน
1. ตั้งสติใหได อยาตกใจ
2. ขอความชวยเหลือจาก
สายดวนฮอทไลน ศูนยสื่อสารสาธารณสุข "นเรนทร" 1669 หรือ 0-2951- 0282
เหตุดวนเหตุราย 191 หรือ 0-2246-1338-42
เพลิงไหม 199 หรือ 0-2246-0199
จส.100 0-2711-9150 หรือ 0-2711-9151-8
สวพ.91 1644 หรือ 0-2562-0033-5 หรือ 0-2941-0848
รวมดวยชวยกัน 1677 หรือ 0-2644-6996
กูภัยปอเตกตึ๊ง 0-2226-4444-8
กูภัยรวมกตัญู 0-2751-0951-3
หนวยแพทยกูชีวิตวชิรพยาบาล1554

More Related Content

Viewers also liked

รัฐธรรมนูญชั่วคราว 57
รัฐธรรมนูญชั่วคราว 57รัฐธรรมนูญชั่วคราว 57
รัฐธรรมนูญชั่วคราว 57Assanee Rattanachai
 
อุปกรณ์ เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์Kanyarad Smlf
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
Educação ambiental
Educação ambientalEducação ambiental
Educação ambientalRenato Nunes
 
โครงงานคอมพ วเตอร (1)
โครงงานคอมพ วเตอร  (1)โครงงานคอมพ วเตอร  (1)
โครงงานคอมพ วเตอร (1)Puripat Duangin
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์nutnpor
 
Presentación nubia zamorafinal
Presentación nubia zamorafinalPresentación nubia zamorafinal
Presentación nubia zamorafinalnezamora
 
ข้อสอบ O net 50 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 50 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 คณิตศาสตร์ ม 6ninjynoppy39
 
รับเป้แบบ15.80
รับเป้แบบ15.80รับเป้แบบ15.80
รับเป้แบบ15.80swchome
 
Ciudad de curitiba
Ciudad de curitibaCiudad de curitiba
Ciudad de curitibayormaar
 
งานดอกเตอ..
งานดอกเตอ..งานดอกเตอ..
งานดอกเตอ..tuphung
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กprawanya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanyarad Smlf
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Sattawat Backer
 
ประว ต ส_วนต_ว1 (1)
ประว ต ส_วนต_ว1 (1)ประว ต ส_วนต_ว1 (1)
ประว ต ส_วนต_ว1 (1)Sasiyada Promsuban
 
หกฟหกประวัติส่วนตัวZ
หกฟหกประวัติส่วนตัวZหกฟหกประวัติส่วนตัวZ
หกฟหกประวัติส่วนตัวZNeys Swift
 

Viewers also liked (19)

รัฐธรรมนูญชั่วคราว 57
รัฐธรรมนูญชั่วคราว 57รัฐธรรมนูญชั่วคราว 57
รัฐธรรมนูญชั่วคราว 57
 
อุปกรณ์ เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Educação ambiental
Educação ambientalEducação ambiental
Educação ambiental
 
โครงงานคอมพ วเตอร (1)
โครงงานคอมพ วเตอร  (1)โครงงานคอมพ วเตอร  (1)
โครงงานคอมพ วเตอร (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentación nubia zamorafinal
Presentación nubia zamorafinalPresentación nubia zamorafinal
Presentación nubia zamorafinal
 
Brochure promotion-bird-furniture-august-2011
Brochure promotion-bird-furniture-august-2011Brochure promotion-bird-furniture-august-2011
Brochure promotion-bird-furniture-august-2011
 
ข้อสอบ O net 50 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 50 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 คณิตศาสตร์ ม 6
 
รับเป้แบบ15.80
รับเป้แบบ15.80รับเป้แบบ15.80
รับเป้แบบ15.80
 
เฉลยSocial
เฉลยSocialเฉลยSocial
เฉลยSocial
 
Ciudad de curitiba
Ciudad de curitibaCiudad de curitiba
Ciudad de curitiba
 
งานดอกเตอ..
งานดอกเตอ..งานดอกเตอ..
งานดอกเตอ..
 
Gabryella
GabryellaGabryella
Gabryella
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ประว ต ส_วนต_ว1 (1)
ประว ต ส_วนต_ว1 (1)ประว ต ส_วนต_ว1 (1)
ประว ต ส_วนต_ว1 (1)
 
หกฟหกประวัติส่วนตัวZ
หกฟหกประวัติส่วนตัวZหกฟหกประวัติส่วนตัวZ
หกฟหกประวัติส่วนตัวZ
 

Similar to 2

การล้างมือ(อบรมครู)
การล้างมือ(อบรมครู)การล้างมือ(อบรมครู)
การล้างมือ(อบรมครู)dumrongsuk
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123Janjira Majai
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นguest8be8a6
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นJanjira Majai
 
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหล
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหลสมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหล
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหลItsara Pensri
 
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหล
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหลสมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหล
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหลItsara Pensri
 
งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nannannee
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1surasak2222
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1surasak2222
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1surasak2222
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1surasak2222
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1surasak2222
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to 2 (20)

การล้างมือ(อบรมครู)
การล้างมือ(อบรมครู)การล้างมือ(อบรมครู)
การล้างมือ(อบรมครู)
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
 
Mold remediation-after-flood
Mold remediation-after-floodMold remediation-after-flood
Mold remediation-after-flood
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
ไซนัส
ไซนัส ไซนัส
ไซนัส
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหล
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหลสมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหล
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหล
 
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหล
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหลสมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหล
สมุนไพรไทยหยุดเลือดกำเดาไหล
 
งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
อาการกลากเกลื้อน
อาการกลากเกลื้อนอาการกลากเกลื้อน
อาการกลากเกลื้อน
 
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 

More from Suttipa Kamsai

ปัญหาและความจำเป็น2
ปัญหาและความจำเป็น2ปัญหาและความจำเป็น2
ปัญหาและความจำเป็น2Suttipa Kamsai
 
ปัญหาและความจำเป็น
ปัญหาและความจำเป็นปัญหาและความจำเป็น
ปัญหาและความจำเป็นSuttipa Kamsai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Suttipa Kamsai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Suttipa Kamsai
 
7 สามัญ เคมี
7 สามัญ เคมี7 สามัญ เคมี
7 สามัญ เคมีSuttipa Kamsai
 
7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษSuttipa Kamsai
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทยSuttipa Kamsai
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิตSuttipa Kamsai
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคมSuttipa Kamsai
 
ข้อสอบและเฉลย 7 วิชาสามัญ วิชาฟิสิกส์ ปีการศึกษา 2556
ข้อสอบและเฉลย 7 วิชาสามัญ วิชาฟิสิกส์ ปีการศึกษา 2556ข้อสอบและเฉลย 7 วิชาสามัญ วิชาฟิสิกส์ ปีการศึกษา 2556
ข้อสอบและเฉลย 7 วิชาสามัญ วิชาฟิสิกส์ ปีการศึกษา 2556Suttipa Kamsai
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติSuttipa Kamsai
 

More from Suttipa Kamsai (14)

ปัญหาและความจำเป็น2
ปัญหาและความจำเป็น2ปัญหาและความจำเป็น2
ปัญหาและความจำเป็น2
 
ปัญหาและความจำเป็น
ปัญหาและความจำเป็นปัญหาและความจำเป็น
ปัญหาและความจำเป็น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
7 สามัญ เคมี
7 สามัญ เคมี7 สามัญ เคมี
7 สามัญ เคมี
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม
 
ข้อสอบและเฉลย 7 วิชาสามัญ วิชาฟิสิกส์ ปีการศึกษา 2556
ข้อสอบและเฉลย 7 วิชาสามัญ วิชาฟิสิกส์ ปีการศึกษา 2556ข้อสอบและเฉลย 7 วิชาสามัญ วิชาฟิสิกส์ ปีการศึกษา 2556
ข้อสอบและเฉลย 7 วิชาสามัญ วิชาฟิสิกส์ ปีการศึกษา 2556
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
 
Storyboard55[1]
Storyboard55[1]Storyboard55[1]
Storyboard55[1]
 

2

  • 1. เรื่องนารูเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องตนองนารูเกี่ยวกับการปฐม พยาบาล การปฐมพยาบาล หมายถึง การปฏิบัติการใหความชวยเหลือ หรือการรักษาพยาบาลในขั้นแรกแกผูที่ไดรับอุบัติเหตุ หรือผูปวยโดยปจจุบันทันดวนกอนที่ผูปวยจะไดรับการรักษาพยาบาล จากแพทย ทั้งนี้เพื่อชวยใหผูปวยพนจากอันตราย หรือลดอันตรายใหนอยลงกอนที่แพทยจะรักษาในขั้นตอไป เอุปกรณปฐมพยาบาล สําลี ผากอซแผนชนิดฆาเชื้อ ทําความสะอาด (แอลกอฮอล) คีมสําหรับบงเสี้ยน ผาสามเหลี่ยม ผากอซพันแผลขนาดตาง ๆ เชน 1 นิ้ว 2 นิ้ว 3 นิ้ว หรือ 4 นิ้ว กรรไกรขนาดกลาง เข็มกลัดซอนปลาย แกวลางตา พลาสเตอรมวน หรือชิ้น ผายืดพันแกเคล็ด ขัดยอก(Elastic bandage) ผากอซชุบพาราฟนสําหรับปดแผลไฟไหม ยาที่ควรมีไวในตูยาประจําบาน ยาแกปวดลดไข เชน ยาเม็ดพาราเซตามอล ขนาด 500 มิลลิกรัม ยาแกแพ ลดน้ํามูก เชน ยาเม็ดคลอเฟนนิรามีน 4 มิลลิกรัม และ 2 มิลลิกรัม ยาแกปวดทอง ทองอืด ทองเฟอ เชน ยาธาตุน้ําแดง ยาธาตุน้ําขาว โซดามิ้นท ขมิ้นชันแคปซูล ยาโรคกระเพาะ เชน ยาเม็ดอลูมินาแมกนิเซีย ไตรซิลลิเคท ยาแกทองเสีย เชน ยาน้ําเคาลินเปคติน ผงน้ําตาลเกลือแร ยาใสแผล เชน ทิงเจอรแผลสด ไอโปดีน ยาลางตา โบริคโซลูชั่น ยาทาแกแพ แกคัน คาลาไมน ยาลางแผล เช็ดแผล เชน ไฮโดรเจนเปอรออกไซด แอลกอฮอลเช็ดแผล ยาทานวด เชน ขี้ผึ้งปวดบวม ครีมระกํา GPO บาลม ยาแกไอผูใหญ เชน ยาแกไอน้ําดํา ยาขับเสมหะ ยาแกไอเด็ก เชน ยาแกไอขับเสมหะ ยาแกไอเด็กเล็ก ยาระบาย เชน ยาระบายแมกนีเซีย ชามะขามแขก ยาเม็ดมะขามแขก ยาสูดดม เชน เหลาแอมโมเนีย
  • 2. 2 ความปลอดภัยสําหรับเด็ก อยาปลอยใหทารก หรือเด็กอายุต่ํากวา 5 ขวบ ไวกับสิ่งที่อุดตันทางเดินหายใจได เชน ถุงพลาสติกใหเลือก ของเลนชิ้นใหญ ๆ ที่ใสปากไมได อยาใชหมอนกับทารกอายุต่ํากวา1 ป อยาทิ้งทารกไวกับขวดนม หรืออาหารตามลําพัง เพราะอาจสําลักได หามใหถั่วลิสง นอยหนา มะขาม แกเด็กอายุต่ํากวา 3 ขวบ อยาปลอยใหเด็กทารกไวบนเตียงกับคุณนาน ๆ เพราะอาจเผลอหลับทับเด็กได อยาปลอยเด็กหรือทารกไวบนที่ยกสูงตามลําพัง รถหัดเดินควรมีฐานและลอที่แข็งแรง อยาปลอยเด็ก หรือทารกไวบนเกาอี้สูงโดยไมมีเครื่องรัดตัว อยาวางแจกันแกว กาน้ํารอนไวบนโตะเตี้ย หรือในระยะที่เด็กเอื้อมมือถึง หาที่ครอบปลั๊กไฟ และสอนไมใหเลนปลั๊กไฟ พัดลม เมื่อเด็กเรียนรูและสอนจุดอันตรายตาง ๆใหเด็กทราบ หามเด็กอายุต่ํากวา 5 ขวบ ขามถนนตามลําพัง ควรจูงมือเด็กที่อายุต่ํากวา5 ขวบ ขามถนนเสมอ อยาถือของรอน ถวยกาแฟรอน ๆเหนือศีรษะเด็ก บานที่มีเด็กในวัยหัดเดินเตาะแตะ ไมควรใชผาปูโตะที่มีชายใหเด็กดึงได การปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. ไฟไหม น้ํารอนลวก ฉีก หรือตัดเสื้อผาบริเวณที่ถูกน้ํารอนลวกออก เสื้อผาที่ไหมไฟและดับแลว ถาติดที่แผล ไมตองดึงออก ถอดเครื่องประดับที่รัดอยู เชน แหวน เข็มขัด นาฬิกา รองเทา(เพราะอาจจะบวมทําใหถอดยาก) ทําใหบริเวณที่ถูกไฟไหม น้ํารอนลวกเย็นลงโดยเร็วที่สุด(ทําอยางนอย 10 นาที) ใชผากอซปราศจากเชื้อปดแผล กรณีแผลใหญ ใชผาปดพันดวยผายืดหลวม ๆ
  • 3. 3 2. การทําแผล ลางมือใหสะอาด ทําแผลที่สะอาดกอนแผลที่สกปรก เช็ดรอบแผลดวยสําลีชุบแอลกอฮอล (เช็ดจากขางในวนมาขางนอกทางเดียว) ปดดวยผากอซ หรือผาสะอาด อยาใหถูกน้ําอีก เพราะจะทําใหเปนหนองหรือหายชา 2.1 กรณีแผลถลอกทั่วไป ลางดวยน้ํา และสบูใหสิ่งสกปรกออกใหหมด เช็ดดวยแอลกอฮอล ทาทิงเจอรแผลสด หรือ เบตาดีน ไมตองปดแผล 2.2 กรณีแผลตื้น หรือมีดบาด (เลือดออกไมมาก) บีบเลือดออกบาง ลางดวยน้ําสะอาด และสบู ใสยาทิงเจอรแผลสด หรือเบตาดีน ปดแผล เพื่อใหขอบแผลสมานติดกัน 2.3 กรณีแผลลึกถึงกระดูก หรือกระดูกโผล หามเลือดทันที ใชผาสะอาดคลุม หามจับกระดูกยัดกลับเขาไป รีบพาไปพบแพทยทันที 2.4 กรณีแผลมีหนอง ลางดวยไฮโดรเจนเปอรออกไซด หรือเดกิ้นโซลูชั่น ทุกวัน เช็ดดวยสําลี รับประทานยาปฏิชีวนะตามแพทยสั่งใหครบ
  • 4. 4 2.5 กรณีแผลตะปูตํา ลางแผลใหสะอาดดวยน้ํา และสบูมากๆ ใชไฮโดรเจนเปอรออกไซดทําความสะอาดอีกครั้ง ปดแผล หามถูกน้ํา ฉีดยาปองกันบาดทะยัก รับประทานยาปฏิชีวนะตามแพทยสั่งใหครบ 2.6 กรณีแผลถูกแทงดวยของแหลม มีด ไม ตัดมีด หรือไมที่ถูกแทงใหสั้นลง และยึดวัสดุนั้นใหอยูนิ่ง เพื่อใหเดินทางไปพบแพทย ไดสะดวก (หามดึงออก) ใหอยูนิ่ง ๆ รีบนําสงโรงพยาบาล 2.7 กรณีแผลพุ -พอง จากการเสียดสี ไฟไหม น้ํารอนลวก ผิวหนังชั้นนอกแยกจากชั้นใน มีน้ํามาขังอยู การปฐมพยาบาล ถาแผลเล็ก ไมตองทําอะไร ปกติรางกายจะดูดซึมน้ํากลับไปเอง และผิวหนังชั้นนอกจะลอกตัวไป ถาบริเวณที่พุพองขยายตัวกวางขึ้นใหรีบไปพบแพทย 3. เลือดออก ใชนิ้วกดบาดแผลประมาณ 10 นาที หรือบีบเนื้อขาง ๆ มาปดแผล ใชผาหรือเนคไทพันปดบาดแผลไว อยาใหแนนจนชา แผลที่แขน หรือขา ใหยกสูง ถาเลือดไหลไมหยุดใหกดเสนเลือดใหญที่ไปเลี้ยงแขน หรือขา 4. เลือดออกไมหยุดหลังการถอนฟน กัดผากอซชิ้นใหมซ้ํา อมน้ําแข็ง (หามบวนน้ํา หรือน้ํายาบวนปาก) ประคบน้ําแข็งนอกปาก ถายังไมหยุดใหรีบไปพบแพทย
  • 5. 5 5. เลือดกําเดาออก สาเหตุ จากการกระแทก สั่งน้ํามูก การแคะจมูก การปฐมพยาบาล นั่งลง กมศีรษะเล็กนอย บีบจมูกนาน 10 นาที (หายใจทางปาก) วางน้ําแข็ง หรือผาเย็น ๆ บนสันจมูก หนาผาก ใตขากรรไกร ถาไมหยุด รีบไปพบแพทย 6. ฟกช้ํา หัวโน หอเลือด ใหประคบความเย็นเร็วที่สุด เพื่อลดอาการบวม หรือใชมะนาวผสมดินสอพองพอกไว (ปกติรอยฟกช้ําจะหายไปเอง) ถาเกิดอาการนานเกิน 24 ชั่วโมง ใชประคบ และคลึงดวยผาชุบน้ํารอน วันละ2-3 ครั้ง 7. ขอเคล็ด ใหบริเวณขอนั้น ๆ อยูนิ่ง ๆ และยกสูงไว ประคบน้ําแข็งทันที เพื่อลดอาการบวม ปวด ถาภายหลังมีอาการบวม ใหประคบดวยน้ํารอน หรือนวดดวยยาหมอง หรือน้ํามันระกํา หรือGPO บาลม ถาปวดมาก บวมมาก ใหรีบปรึกษาแพทย 8. กระดูกหัก ใหวางอวัยวะสวนนั้น ๆบนแผนไม หรือหนังสือหนา ๆ ใชผาพันยึดไมใหเคลื่อนไหว ถาเปนปลายแขน หรือมือ ใหใชผาคลองคอ 9. กางติดคอ กลืนกอนขาวสุก หรือขนมปงนิ่ม ๆ ถายังไมหลุด กลืนน้ําสมสายชูเจือจาง เพื่อใหกางออนลง ถาไมหลุด ควรไปพบแพทย
  • 6. 6 10. ตะคริว สาเหตุ ใชกลามเนื้อมัดนั้นหนักเกินไป ความหนาวเย็น การสูญเสียน้ําและเกลือแร (อาเจียน ทองเสีย เหงื่อออก) การปฐมพยาบาล การยืดกลามเนื้อสวนนั้นออกโดยถาเปนที่มือ ใหยืดนิ้วมือ ดัดปลายนิ้ว ถาเปนที่เทา ใหยืดนิ้วเทายืนเขยง ถาเปนที่ตนขา ใหนั่งลง เหยียดเทา กดที่หัวเขา และชวยนวดเทา ถาเปนที่นอง ใหนั่งลง ยืดขา ถาเปนเพราะเสียเหงื่อ เสียน้ํา ใหดื่มน้ําเกลือ (เกลือ 1/2 ชอนชา ผสมน้ํา 1 ขวดแมโขง) 11. เปนลม หามคนมุงดู พาเขาที่รมใหอยูในที่อากาศถายเทไดสะดวก คลายเสื้อผาออกใหหลวม จัดใหนอนตะแคงหนาไปขางใดขางหนึ่ง เพื่อปองกันในเรื่องทางเดินหายใจอุดตัน โดยเฉพาะลิ้นของผูปวย มักจะตกไปทางดานหลังของลําคอ ทําใหหายใจไมออก ใชผาชุบน้ําเช็ดหนาผาก มือและเทา ถาอาการไมดีขึ้น รีบนําสงโรงพยาบาล 12. ช็อค สาเหตุ จากโรคหัวใจกําเริบ เกิดการบาดเจ็บรุนแรงมาก ไฟไหมน้ํารอนลวก เลือดออกมาก กระดูกหัก อาเจียน หรือทองเสียรุนแรง อาการ หนาวเย็น เหงื่อออก เวียนศีรษะ หายใจเร็วขึ้น ชีพจรเร็วแตแผว กลัว กระหาย การปฐมพยาบาล ใหนอนราบ ถาเลือดออกหามเลือด หมผา คลายเสื้อผา อยาเคลื่อนไหวผูปวย ถาบาดเจ็บที่อกทอง ศีรษะ ใหหนุนศีรษะและบาใหสูงกวาลําตัวเล็กนอย คอยปลอบใจ ถากระหายน้ํามาก ใหหยดน้ําที่ริมฝปากนิด ๆ หามรับประทาน สิ่งใด ๆ
  • 7. 7 13. อาารปวดทองที่ควรไปพบแพทยทันที ปวดทองพรอมอาเจียนเปนเลือด เด็กอายุต่ํากวา 5 ขวบ หรือคนชรา ปวดทอง เพราะถูกกระแทก ทุบ ตี หรือตกจากที่สูง ปวดนานหลายชั่วโมง ปวดมากจนนอนไมหลับ 14. ทองเดิน ทองรวง ทองเสีย 14.1 ในเด็กโต หรือผูใหญ งดอาหารรสจัด และยอยยาก เลือกกินอาหารเหลว กินจนกวาอาการจะดีขึ้น ดื่มน้ําเกลือแร หรือผสมเอง (เกลือ 1/2 ชอนชา + น้ํา 1 ขวดแมโขง) ดื่มน้ําชาแก ๆ ถาถายรุนแรง มีอาเจียน ออนเพลียมาก หนามืด เปนลม และอาการไมดีขึ้นภายใน 48 ชั่วโมง ใหรีบไปพบแพทย 14.2 ในเด็กเล็ก เด็กทารก งดนม และอาหาร ประมาณ 2 - 4 ชั่วโมง ดื่มน้ําเกลือแร (ทารกใชเกลือ 1/2 ชอน + น้ํา 1 ขวดแมโขง) ถาเด็กหิวมากใหนมที่ชงจาง ๆทีละนอย ถาถายทองรุนแรง อาเจียน ดื่มนม หรือน้ําไมได (ซึม ตาโบ กระหมอมบุม หายใจหอบแรง) และไมดีขึ้นใน 24 ชั่วโมง ใหไปพบแพทยโดยดวน 15. ทองผูก 15.1 ในเด็กโต หรือผูใหญ ดื่มน้ํามาก ๆ กินอาหารพวกผัก ผลไม งดชา กาแฟ และออกกําลังกาย กินยาระบาย (ชามะขามแขก ยาระบายแมกนีเซีย) ถามีอาการปวดทองรุนแรง หรืออาเจียนรุนแรง ควรไปพบแพทยโดยเร็ว
  • 8. 8 15.2 ในเด็กเล็ก ดื่มน้ํามาก ๆ น้ําสมคั้นน้ําลูกพรุนตม หรือเปลี่ยนนม ใชกลีเซอรีนเหน็บกน (ของเด็ก) 16. กินยาพิษ 16.1 ยาพิษที่มีฤทธิ์กัด ตัวอยางเชน กรด ยาฆาเชื้อ ยาขัดพื้น น้ํายาลางสี ผงขัดถู แชมพู แอลกอฮอลทาแผล ยางสน น้ํายาขัดเงา ผงและน้ํายาซักผา โซดาซักลาง สียอมเนื้อไม ผงซักฟอก ยาลางหองน้ํา การปฐมพยาบาล สังเกตรอยไหมบริเวณริมฝปากและปาก มองหาภาชนะบรรจุยาพิษที่ตกอยูใกลผูปวย และนําภาชนะบรรจุยาพิษไปโรงพยาบาลดวย ดื่มนมมาก ๆ (โดยใหจิบทีละนอย เพราะนมจะชวยทําใหพิษเจือจางลง) ถาหานมไมได ใหดื่มน้ําสะอาด หามทําใหอาเจียน ถาผูปวยหมดสติ หามกรอกน้ํา หรือของเหลวเขาปากผูปวย ถาหยุดหายใจ ใหรีบชวยหายใจ และเรียกรถพยาบาลทันที 16.2 ยาพิษที่ไมมีฤทธิ์กัด ตัวอยางเชน แอลกอฮอล (เอทธิลแอลกอฮอล) แอสไพริน ผลไมปามีพิษ เห็ดพิษ ยาแผนปจจุบัน การปฐมพยาบาล มองหาภาชนะบรรจุยาพิษที่ตกอยูใกลผูปวย นําไปโรงพยาบาล ถาทราบวาเพิ่งรับประทานยาเขาไป พยายามทําใหอาเจียน ถาไมออก ใหดื่มน้ํามาก ๆ พยายามลวงคอใหอาเจียน นําเศษอาเจียนไปใหแพทยดูดวย(ถาทําได) ถากินยาพิษเขาไประยะหนึ่งแลวอยาทําใหอาเจียน เพราะพิษถูกดูดซึมภายหลัง 17. สําลัก หรือมีสิ่งของไปอุดหลอดลม ทารก ใหตบกลางหลังอยางรวดเร็ว 4 ครั้ง ในทาที่ศีรษะอยูต่ํากวาปอด เด็กเล็ก ใหตบกลางหลังหนัก ๆ 4 ครั้ง ในทาที่ศีรษะอยูต่ํากวาปอด เด็กโตและผูใหญ ใหตบหนัก ๆ และเร็ว ๆ กลางหลัง 4 ครั้ง ในทาที่ศีรษะ อยูต่ํากวาปอด
  • 9. 9 18. ถูกแกสพิษ ตัวอยางเชน คารบอนมอนนอกไซด จะมีอาการปวดศีรษะ สับสน หายใจลําบาก อาจจะหมดสติ ผิวหนาจะ เปลี่ยนเปนสีแดง ถาในขณะที่ไดรับแกสเพิ่มขึ้น วิธีปฐมพยาบาล ใหไดอากาศบริสุทธิ์เร็วและมากที่สุด(อาจจะเปด หรือทุบกระจกประตูหนาตาง) คลายเสื้อผาใหหลวม ปฐมพยาบาลเหมือนคนช็อค (หมผาใหอบอุน) ถาหยุดหายใจ ใหรีบชวยหายใจ ดูการหายใจและจับชีพจรอยางใกลชิด เรียกรถพยาบาลทันที 19. บาดเจ็บที่ตา หากกรดหรือดางเขาตา อยาขยี้ตา ใหลางดวยน้ําสะอาดมาก ๆ แลวรีบพาไปพบแพทย หากถูกของแหลมทิ่ม ใหนอนหลับตา ปดตาดวยผากอซ หรือผาเช็ดหนา อยาขยับสายตาไปมา แลวรีบพาไปพบแพทยทันที หากมีสิ่งแปลกปลอมเขาตาขาว ขยี้ตาเบา ๆ กระพริบตา ลางตา หรือเงยสายตาขึ้นดานบน แลวใชมุมผาเช็ดหนาเขี่ยผงออก ถาเขี่ยไมออกใหรีบพาไปพบแพทย ถาถูกกระแทกที่ดวงตา ใหประคบดวยความเย็นทันที แลวรีบพาไปพบแพทย 20. โดนพิษสัตวทะเล 20.1 โดนเงี่ยงปลาที่มีพิษ แชน้ํารอนพอทน (40 องศาเซลเซียส หรือ 104 องศาฟาเรนไฮต) นาน 4-5 นาที จะชวยใหหายปวด 20.2 โดนแมงกระพรุนไฟ ใชทราย หรือผักบุงทะเลถูเมือกออก ลางดวยน้ําสบู ทาดวยน้ําปูนใส แอมโมเนีย เพรดนิโซโลนครีม หรือเบตาเมทธาโซนครีม
  • 10. 10 21. ลมพิษ สาเหตุ โดนสารที่แพ พืช สารเคมี แพอาหารทะเล เหลา เบียร ละอองตาง ๆ การปฐมพยาบาล ทายาแกผดผื่นคัน คาลาไมน เพรดนิโซโลนครีม หรือเบตาเมทธาโซนครีม กินยาแกแพ คลอเฟนนิรามีน ขนาด 4 มิลลิกรัม 1 เม็ด หาสาเหตุที่แพ ถาผื่นไมยุบลง และเพิ่มมากขึ้นใหรีบไปพบแพทย 22. สัตวกัด 22.1 สุนัขกัด ลางแผลดวยน้ําสะอาด ปดดวยผากอซสะอาด ถาเลือดออก หามเลือดทันที(ดวยผากอซ หรือบีบแผล) รีบไปพบแพทย เพื่อฉีดวัคซีน 22.2 งูกัด ดูรอยแผล ถาเปนงูมีพิษ จะมีรอยเขี้ยว ใชเชือก หรือยาง หรือเข็มขัดรัดเหนือแผลใหแนนพอควร ใหนอนนิ่ง ๆ คอยปลอบใจ หามดื่มสุรา ยาดองเหลา ยากลอมประสาท ถาหยุดหายใจใหชวยหายใจทันที ควรนํางูไปพบแพทยดวย ถาทําได 22.3 ทากดูดเลือด หามดึง เพราะเลือดจะหยุดยาก จี้ทากดวยบุหรี่ติดไฟ หรือไมขีดไฟใหทากหลุด ลางแผลใหสะอาด ใสทิงเจอรแผลสด หรือเบตาดีน
  • 11. 11 22.4 แมลงตอย ถาถูกตอยหลายตัว หรือตอยบริเวณหนา ใหรีบไปพบแพทย พยายามถอนเหล็กใน (โดยใชหลอดกาแฟเล็ก ๆ แข็ง ๆ หรือปากกาครอบแลวกด ใหเหล็กในโผล แลวดึงเหล็กในออก) ใชยาแกแพทา หรือราดดวยน้ําโซดาหรือประคบดวยน้ําแข็ง (ปกติอาการบวมจะลดลง ใน 1 วัน ถาไมลดใหพบแพทย) ถามีอาการปวด กินยาแกปวด (พาราเซตามอล) 22.5 อาการแพพิษแมลงที่ตองไปพบแพทยทันที ช็อค เวียนศีรษะ ตัวซีด เหงื่อออก อาเจียน หายใจลําบาก ผื่นขึ้นที่ตา ตาบวม 23. ของเขารูจมูก บีบจมูกขางที่ไมมีของแลวสั่งออกมาแรง ๆ อยาพยายามแคะออก ถาเปนเด็กใหหันเหความสนใจจากจมูก ใหหายใจทางปาก แลวรีบไปพบแพทยทันที 24. ของเขาหู ตะแคงศีรษะ หันหูขางที่มีของเขาไปลง เพื่อใหของหลนออกมาเอง ถาไมออก หามแคะหู ใหรีบไปพบแพทย 25. แมลงเขาหู พาไปหาที่มืด ใชไฟฉายสอง (ใหแมลงออกมาตามแสง) หรือ หยอดดวยน้ํามัน หรือกลีเซอรีนบอแรกซ ใหแมลงลอยออกมา แลวจึงเขึ่ย หรือคีบออก ถาไมออกใหรีบไปพบแพทยทันที 26. คันในหู (เพราะเปนเชื้อรา) ใชไมพันสําลีชุบทิงเจอรแผลสด ทาในรูหูวันละ 2-3 ครั้ง
  • 12. 12 27. หูอื้อ กรณีเปนหูน้ําหนวกอยูใหรีบรักษาใหหาย กรณีหูอื้อไมทราบสาเหตุ อาจจะมาจากการมีขี้หูมาก ขี้หูเหนียว ใหไปพบแพทย เพื่อดึงขี้หู หรือดูดขี้หูออก 28. หอบ - หืด ใหผูปวยนั่ง หรือยืนในทาเอนตัวไปขางหนา ใหหลังและหนาอกตรง คลายเสื้อผาใหอากาศบริสุทธิ์ผานเขาหอง ปลอบมิใหตกใจ วิตก กังวล ถาเปนครั้งแรกรีบไปพบแพทยทันที กรณีผูปวยพนยา หรือกินยาประจําใหรีบใชยาทันที 29. ไฟฟาช็อต หากพบผูถูกกระแสไฟฟาดูดใหตัดการจายไฟ เชน คัทเอาทหรือ เตาเสียบ ถาไมสามารถปดสวิตซไฟได หามใชมือจับตองคนที่กําลังถูกไฟช็อต แลวใชสิ่งที่ไมนําไฟฟา เชน ไมกวาดเกาอี้ไม เขี่ยออกจากสายไฟ หรือเขี่ยสายไฟ ออกจากตัวผูบาดเจ็บ เมื่อตัวผูบาดเจ็บหลุดออกมาแลว รีบปฐมพยาบาล ถาหยุดหายใจ ใหทําการเปาปากชวยหายใจ ถาคลําชีพจร ไมได ใหนวดหัวใจ แลวรีบนําไปโรงพยาบาล การปฐมพยาบาลขั้นตนเมื่อผูบาดเจ็บจากการถูกไฟฟาช็อตหยุดหายใจ 1. วางผูปวยใหนอนหงาย แลวชอนคอผูปวยใหแหงนขึ้น
  • 13. 13 2. ตรวจดูวามีสิ่งอุดตันในชองปากหรือไมหากพบใหนําออกและชวยเปาปากโดยใชนิ้วงางปากและบีบจมูกของผูปวย 3. ประกบปากของผูปวยใหสนิท เปาลมเขาแรงๆ โดยเปาปากประมาณ 12-15 ครั้ง/นาที สังเกต การขยายของหนาอก หากเปาปากไมไดใหเปาจมูกแทน 4. หากหัวใจหยุดเตน ตองนวดหัวใจโดยวางผูปวยนอนราบแลวเอามือกดเหนือลิ้นปใหถูกตําแหนง(ดังรูป)กดลงไปเปน จังหวะเทากับการเตนของหัวใจ(ผูใหญประมาณนาทีละ 60 ครั้ง เด็กประมาณ 80 ครั้ง) 5. ฟงการเตนของหัวใจสลับกับการกดทุกๆ10-15 ครั้ง 6. ถาหยุดหายใจ และหัวใจหยุดเตนใหเปาปาก 2 ครั้ง นวดหัวใจ 15 ครั้งสลับกัน และถามีผูชวยเหลือ 2 คน ตอง สลับกันเปาปาก 1 ครั้ง นวดหัวใจ 5 ครั้ง การปฐมพยาบาลตองทําทันทีที่ชวยเหลือผูปวยออกมา และควรนําสงโรงพยาบาลขณะนําสงจะตองทําการ ปฐมพยาบาลตามขั้นตอนดังกลาวตลอด
  • 14. 14 การปฏิบัติสําหรับกรณีฉุกเฉิน 1. ตั้งสติใหได อยาตกใจ 2. ขอความชวยเหลือจาก สายดวนฮอทไลน ศูนยสื่อสารสาธารณสุข "นเรนทร" 1669 หรือ 0-2951- 0282 เหตุดวนเหตุราย 191 หรือ 0-2246-1338-42 เพลิงไหม 199 หรือ 0-2246-0199 จส.100 0-2711-9150 หรือ 0-2711-9151-8 สวพ.91 1644 หรือ 0-2562-0033-5 หรือ 0-2941-0848 รวมดวยชวยกัน 1677 หรือ 0-2644-6996 กูภัยปอเตกตึ๊ง 0-2226-4444-8 กูภัยรวมกตัญู 0-2751-0951-3 หนวยแพทยกูชีวิตวชิรพยาบาล1554