SlideShare a Scribd company logo
บทที ่ 2

                 เอกสารที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง

     ในการจัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก
(WebBlog) ด้วย Blogger
Skinny Player นี้ ผู้จดทำาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจาก
                        ั
เว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

    2.1 ความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต
    2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media
    2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)




      2.1 ความสำ า คั ญ ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
  อิ น เทอร์ เ น็ ต
         เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง ความรูในผลิตภัณฑ
  หรือในกระบวนการดำาเนินการใดๆ ที่ อาศัยเทคโนโลยีทาง
  ดานคอมพิวเตอรซอฟตแวร (software)
  คอมพิวเตอรฮารดแวร (hardware) การติดตอสื่อสาร การ
  รวบรวมและการนำาขอมูลมาใชอยางทันการ เพื่อกอใหเกิด
  ประสิทธิภาพทั้งทางดานการผลิต การบริการ การบริหาร และ
  การดำาเนินงาน รวมทั้งเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ซึ่งจะสง
  ผลตอความไดเปรียบทางเศรษฐกิจ การคา และการพัฒนาด้าน
  คุณภาพชีวิตและคุณภาพของ ประชาชนในสังคม
2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media
       2.2.1 ความหมายของ Social Media
             Social Media สำำหรับในยุคนี้ เรำคงจะหลีกเลี่ยง
หรือหนีคำำว่ำ Social Media ไปไม่ได้ เพรำะไม่ว่ำจะไปที่ไหน ก็จะ
พบเห็นมันอยู่ตลอดเวลำ ซึ่งหลำยๆ คนก็อำจจะยังสงสัยว่ำ
“Social Media” มันคืออะไรกันแน่ วันนี้เรำจะมำรู้จักควำมหมำย
ของมันกันครับ
คำำว่ำ “Social” หมำยถึง สังคม ซึงในทีนี้จะหมำยถึงสังคม
                                  ่      ่
ออนไลน์ ซึ่งมีขนำดใหม่มำกในปัจจุบัน
คำำว่ำ “Media” หมำยถึง สื่อ ซึ่งก็คือ เนื้อหำ เรื่องรำว บทควำม
วีดีโอ เพลง รูปภำพ เป็นต้น
ดังนั้นคำำว่ำ Social Media จึงหมำยถึง สื่อสังคมออนไลน์ที่มี
กำรตอบสนองทำงสังคมได้หลำยทิศทำง โดยผ่ำนเครือข่ำย
อินเตอร์เน็ต พูดง่ำยๆ ก็คือเว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สำมำรถมีปฏิ
สัมพันธ์โ้้ต้ตอบกันได้นั่นเอง พื้นฐำนกำรเกิด Social Media ก็
มำจำกควำมต้องกำรของมนุษย์หรือคนเรำที่ต้องกำรติดต่อสื่อสำร
หรือมีปฏิสัมพันธ์กัน จำกเดิมเรำมีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่
แสดงเนื้อหำอย่ำงเดียว บุคคลแต่ละคนไม่สำมำรถติดต่อหรือ
โต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนำเข้ำสู่ยุค 2.0 ก็มีกำร
พัฒนำเว็บไซต์ที่เรียกว่ำ web application ซึ่งก็คือเว็บไซต์มีแอ
พลิเคชันหรือโปรแกรมต่ำงๆ ที่มีกำรโต้ตอบกับผู้ใช้งำนมำกขึ้น ผู้
ใช้งำนแต่ละคนสำมำรถโต้ตอบกันได้ผ่ำนหน้ำเว็บ


    2.2.2 ประวั ต ิ ค วามเป็ น มาและพั ฒ นาการของ
Social Media

           ประวัติของบล็อกบล็อก (Blog) คือ คำาว่า “Weblog”
ถูกใช้งานเป็นครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ปี
1997 ต่อมามีฝรั่งที่ชอบเรียกสั้นๆ ชื่อนาย Peter Merholz จับมา
เรียกย่อเหลือแต่ “Blog” แทนในเดือนเมษายน ปีค.ศ.1999 และ
จนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ.2003 ทาง Oxford English
Dictionary จึงได้บรรจุคำาว่า blog ในพจนานุกรม แสดงว่าได้รับ
การยอมรับอย่างเป็นทางการ บล็อก (Blog) ขึนแท่นศัพท์ยอดฮิต
                                               ้
อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะแสวงหา ความหมาย ทางพจนานุกรม
ออนไลน์ มากที่สุด ประจำาปี 2004 สำานักข่าวเอพีรายงานว่า
เว็บไซต์ ดิกชั่นนารีหรือ พจนานุกรมออนไลน์ “เมอร์เรียม-เว็บส
เตอร์” ได้ประกาศรายชื่อ คำาศัพท์ซึ่งถูกคลิก เข้าไปค้นหา ความ
หมายผ่าน ระบบออนไลน์มากที่สุด 10 อันดับแรกประจำาปีนี้ ซึ่ง
อันดับหนึ่งตกเป็นของคำาว่า “บล็อก” (blog) ซึ่งเป็นคำาย่อของ “เว็
บ บล็อก” (web log)โดยนายอาเธอร์ บิคเนล โฆษกสำานักพิมพ์
พจนานุกรมฉบับ เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ กล่าวว่า สำานักพิมพ์ได้
เตรียมที่จะนำาคำาว่า “บล็อก” บรรจุลงในพจนานุกรมฉบับล่าสุดทั้ง
ที่เป็นเล่มและ ฉบับออนไลน์แล้วแต่จากความต้องการของผู้ใช้ที่
หลั่งไหลเข้ามา ทำาให้เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ตัดสินใจบรรจุคำาว่า “บ
ล็อก” ลงในเว็บไซต์ในสังกัดบางแห่งไปก่อน โดยให้คำาจำากัด
ความไว้ว่า “เว็บไซต์ที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกส่วนตัวประจำา
วัน ซึ่งสะท้อนถึงมุมมอง ความคิดเห็นของบุคคล โดยอาจรวมลิงค์
เชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์อื่นๆ ตามความประสงค์ของเจ้าของเว็บ
บล็อกเองด้วย” โดยทั่วไป คำาศัพท์ที่ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมนั้น
จะต้องผ่านการใช้งาน อย่างแพร่หลาย มาไม่น้อยกว่า 20 ปี ซึ่ง
หมายความว่าคำาคำานั้นจะต้องถูกนำามาใช้โดยทั่วไปในระยะเวลา
หนึ่ง อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันคำาศัพท์ ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรค
ภัยไข้เจ็บใหม่ๆ อย่างเช่น โรคเอดส์ โรคไข้หวัดซาร์ส ถูกบรรจุลง
ในพจนานุกรมภายในระยะเวลาอันสั้นคำาว่า “บล็อก” เริ่มใช้เป็น
ครั้งแรกๆผ่านทางหน้าหนังสือพิมพ์และนิตยสารเมื่อปี 2542 แต่ผู้
รวบรวมพจนานุกรมตั้งข้อสังเกตว่าการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง
ประธานาธิบดีสหรัฐฯ และการประชุมใหญ่ของ พรรคเดโมแครต
และพรรครีพับลิกันเพื่อรับรองชื่อ ผู้สมัครเข้าชิงตำาแหน่ง
ประธานาธิบดีที่ผ่านมา ทำาให้ประชาชนชาวสหรัฐฯ ผูติดตาม  ้
ข่าวสารส่วนใหญ่สนใจ และต้องการทราบความหมายที่แท้จริง
ของคำาดังกล่าว โดยเฉพาะเมื่อคำาศัพท์เหล่านั้นปรากฏเป็นข่าว
พาดหัวตามหน้าหนังสือพิมพ์ทั่วไปนอกเหนือจากคำาว่า “บล็อก”
แล้ว คำาศัพท์ที่ติดอันดับถูกเข้าไปค้นหาความหมายสูงสุด 10
อันดับแรกประจำาปีนี้ได้แก่ “อินคัมเบนท์” (incumbent) ซึ่งหมาย
ถึงผู้อยู่ในตำาแหน่ง, “อิเล็กทอรัล” (electoral) หรือคณะผู้เลือกตั้ง
ขณะที่บางคำาเป็นคำาศัพท์ที่เกี่ยวเนื่องกับสงครามในอิรัก เช่น “ส
ตอร์มส” (stroms) ซึ่งมีความหมายว่ าการโจมตีอย่างรุนแรง, “อิน
-เซอร์เจ้นท์” (insurgent) หรือกองกำาลังฝ่ายต่อต้านการปกครอง
อิรัก, “เฮอร์ริเคน” (hurri- cane) ซึ่งหมาย ถึงผลกระทบอย่าง
รุนแรง, “เพโลตัน” (peloton) ที่แปลว่ากองทหารขนาดเล็ก และซิ
คาด้า (cicada) ซึ่งความหมายตามรูปศัพท์ แปลว่าจักจั่น



         2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ที่ให้บริการ Social Media
             1) Blog – ซึ่งเป็นกำรลดรูปจำกคำำว่ำ Weblog ซึ่งถือ
เป็นระบบจัดกำรเนื้อหำ (Content Management System: CMS)
รูปแบบหนึ่ง ซึ่งทำำให้ผู้ใช้สำมำรถเขียนบทควำมเรียกว่ำ Post
และทำำกำรเผยแพร่ได้โดยง่ำย ไม่ยุ่งยำกในกำรที่จะต้องมำนั่ง
เรียนรู้ถึงภำษำ HTML หรือโปรแกรมทำำ web site ทังนี้กำรเรียง
                                                   ้
ของเนื้อหำจะเรียงจำกเนื้อหำที่มำใหม่สุดก่อน จำกนั้นก็ลดหลั่น
ลงไปตำมลำำดับของเวลำ (Chronological Order) กำรเกิดของ
Blog เปิดโอกำสให้ใครๆที่มีควำมสำมำรถในด้ำนต่ำงๆ สำมำรถ
เผยแพร่ควำมรู้ดังกล่ำวด้วยกำรเขียนได้อย่ำงเสรี ไม่มีขีดจำำกัด
เรื่องเทคนิคอย่ำงในอดีตอีกต่อไป ทำำให้เกิด Blog ขึ้นมำจำำนวน
มำกมำย และเพิ่มเนื้อหำให้กับโลกออนไลน์ได้เป็นจำำนวน
มหำศำลอย่ำงที่ไม่เคยมีมำก่อน นอกจำกนี้เครื่องมือที่สำำคัญที่
ทำำให้เกิดลักษณะของ Social คือกำรเปิดให้เพื่อนๆเข้ำมำแสดง
ควำมเห็นได้นั่นเอง

ในแง่ของกำรตลำด Blog อำจจะถูกนำำมำใช้ได้ใน 2 รูปแบบ คือ
กำรที่บริษทจัดทำำ Blog (Corporate Blog) ขึ้นมำเพื่อพูดจำกับ
          ั
บรรดำลูกค้ำ และ Blog ทีเขียนจำก Blogger อิสระ ที่มีควำม
                        ่
สำมำรถเขียนเรื่องที่ตนถนัดและมีผู้ติดตำมจำำนวนมำก จนกลำย
เป็น Marketing Influencer

                         2) Twitter และ Microblog อื่นๆ – เป็นรูป
แบบหนึ่งของ Blog ทีจำำกัดขนำดของกำร Post แต่ละครั้งไว้ที่
                       ่
140 ตัวอักษร โดยแรกเริ่มเดิมที ผู้ออกแบบ Twitter ต้องกำรให้ผู้
ใช้เขียนเรื่องรำวว่ำคุณกำำลังทำำอะไรอยูในขณะนี้ (What are you
                                        ่
doing?) แต่กิจกำรต่ำงๆกลับนำำ Twitter ไปใช้ในทำงธุรกิจ ไม่ว่ำ
จะเป็นกำรสร้ำงกำรบอกต่อ เพิ่มยอดขำย สร้ำง Brand หรือเป็น
เครื่องมือสำำหรับกำรบริหำรควำมสัมพันธ์ลูกค้ำ (CRM) ทั้งนี้เรำยัง
สำมำรถใช้เป็นเครื่องมือในกำรประชำสัมพันธ์บทควำมใหม่ๆบน
Blog ของเรำได้ด้วย Twitter นั้นเป็นนิยมขึ้นมำกอย่ำงรวดเร็ว จน
ทำำให้เว็บไซต์ประเภท Social Network ต่ำงๆ เพิ่ม Feature ทีให้  ่
ผู้ใช้สำมำรถบอกได้ว่ำตอนนี้กำำลังทำำอะไรกันอยู่ นั้นก็คือกำรนำำ
Microblog เข้ำไปเป็นส่วนหนึ่งด้วยนั้นเอง

                3) Social Networking – จำกชื่อก็สำมำรถแปล
ควำมหมำยได้วำเป็นเครือข่ำยที่เชื่อมโยงเรำกับเพื่อนๆจนกลำย
                 ่
เป็นสังคม ทั้งนี้ผใช้จะเริ่มต้นสร้ำงตัวตนของตนเองขึ้นในส่วนของ
                   ู้
Profile ซึ่งประกกอบด้วยข้อมูลส่วนตัว (Info) รูป (Photo) กำรจด
บันทึก (Note) หรือกำรใส่วิดีโอ (Video) และอื่นๆ นอกจำกนี้
Social Networking ยังมีเครื่องมือสำำคัญในกำรสร้ำงจำำนวนเพื่อน
ให้มำกขึ้น คือ ในส่วนของ Invite Friend และ Find Friend รวม
ถึงกำรสร้ำงเพื่อนจำกเพื่อนของเพื่อนอีกด้วย

นักกำรตลำดนำำ Social Networking มำใช้ในกำรมีปฏิสัมพันธ์กับ
ลูกค้ำ อำจจะอยูในรูปของกำรสร้ำง Brand ผ่ำนเกมส์หรือ
               ่
Application ต่ำงๆ หรืออำจใช้เป็นเครื่องมือของ CRM ผ่ำนทำง
Pages และนอกจำกนี้ตัวลูกค้ำเอง หำกชื่นชอบในสินค้ำหรือ
บริกำร ก็สำมำรถร่วมกลุ่มกันจัดตั้ง Group ขึ้นมำได้

เว็บไซต์ทมีลักษณะของ Social Networking มีมำกมำย แต่อำจ
          ี่
จะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ประเภทแรกจะสนใจในกำรสร้ำง
เครือข่ำยระหว่ำงเพื่อนๆหรือครอบครัว เช่น Facebook, Hi5 หรือ
Myspace และอีกประเภท คือสนใจในกำรสร้ำงเครือข่ำยในเชิง
ธุรกิจ ทีเปิดให้ใส่ Resume และข้อมูลเชิงอำชีพต่ำงๆ เช่น
         ่
Linkedin หรือ Plaxo เป็นต้น

               4) Media Sharing – เป็นเว็บไซต์ที่เปิดโอกำสให้
เรำสำมำรถ upload รูปหรือวิดีโอเพื่อแบ่งปันให้กับครอบครัว
เพื่อนๆ หรือแม้กระทั่งเพื่อเผยแพร่ต่อสำธำรณชน นักกำรตลำด ณ
ปัจจุบันไม่จำำเป็นจะต้องทุ่มทุนในกำรสร้ำงหนังโฆษณำที่มีต้นทุน
สูง เรำอำจจะใช้กล้องดิจิตอลรำคำถูกๆ ถ่ำยทอดควำมคิดเป็นรูป
แบบวิดีโอ จำกนั้นนำำขึ้นไปสู่เว็บไซต์ Media Sharing อย่ำง
Youtube หำกควำมคิดของเรำเป็นที่ชื่นชอบ ก็ทำำให้เกิดกำรบอก
ต่ออย่ำงแพร่หลำย หรือกรณีหำกกิจกำรคุณขำยสินค้ำที่เน้นดีไซน์
ที่สวยงำม ก็อำจจะถ่ำยรูปแล้วนำำขึ้นไปสู่เว็บไซต์อย่ำง Flickr
เพื่อให้ลูกค้ำได้ชม หรืออำจจะใช้เป็นเครื่องมือในกำรนำำชม
โรงงำน หรือบรรยำกำศในกำรทำำงำนของกิจกำร เป็นต้น หรือ
อย่ำงกรณีของ Multiply ที่คนไทยนิยมนำำรูปภำพที่ตนเองถ่ำยมำ
แสดงฝีมือ เหมือนเป็นแกลลอรีส่วนตัว ทำำให้ผู้ว่ำจ้ำงได้เห็นฝีมือ
ก่อนที่จะทำำกำรจ้ำง

                5) Social News and Bookmarking – เป็น
เว็บไซต์ที่เชื่อมโยงไปยังบทควำมหรือเนื้อหำใดในอินเทอร์เน็ต
โดยผู้ใช้เป็นผู้ส่งและเปิดโอกำสให้คะแนนและทำำกำรโหวตได้
เป็นเสมือนมหำชนช่วยกลั่นกรองว่ำบทควำมหรือเนื้อหำใดนั้นเป็น
ที่นำสนใจที่สุด ในส่วนของ Social Bookmarking นั้น เป็นกำรที่
    ่
เปิดโอกำสให้คุณสำมำรถทำำกำร Bookmark เนื้อหำหรือเว็บไซต์
ที่ชื่นชอบ โดยไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง แต่
สำมำรถทำำผ่ำนออนไลน์ และเนื้อหำในส่วนที่เรำทำำ Bookmark
ไว้นี้ สำมำรถที่จะแบ่งปันให้คนอื่นๆได้ด้วย นักกำรตลำดจะใช้เป็น
เครื่องมือในกำรบอกต่อและสร้ำงจำำนวนคนเข้ำมำยังที่เว็บไซต์
หรือ Campaign กำรตลำดที่ต้องกำร

               6) Online Forums – ถือเป็นรูปแบบของ Social
Media ทีเก่ำแก่ที่สุด เป็นเสมือนสถำนที่ที่ให้ผู้คนเข้ำมำพูดคุยใน
          ่
หัวข้อที่พวกเขำสนใจ ซึงอำจจะเป็นเรื่อง เพลง หนัง กำรเมือง
                         ่
กีฬำ สุขภำพ หนังสือ กำรลงทุน และอื่นๆอีกมำกมำย ได้ทำำกำร
แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น แสดงข้อมูลข่ำวสำร ตลอดจนถึงกำร
แนะนำำสินค้ำหรือบริกำรต่ำงๆ นักกำรตลำดควนสนใจเนื้อหำที่พูด
คุยใน Forums เหล่ำนี้ เพรำะบำงครั้งอำจจะเป็นคำำวิจำรณ์เกี่ยว
กับตัวสินค้ำและบริกำรของเรำ ซึ่งเรำเองสำมำรถเข้ำไปทำำควำม
เข้ำใจ แก้ไขปัญหำ ตลอดจนถึงใช้สร้ำงควำมสัมพันธ์ที่ดีกับ
ลูกค้ำ เว็บไซต์ประเภท Forums อำจจะเป็นเว็บไซต์ที่เปิดให้แลก
เปลียนควำมคิดเห็นกันโดยเฉพำะ หรืออำจจะเป็นส่วนหนึ่งใน
    ่
เว็บไซต์เนื้อหำต่ำงๆ




      2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
      2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)
             ความหมายของเว็บบล็อก Blog คือ กำรบันทึก
บทควำมของตนเอง (Personal Korunal) ลงบนเว็บไซต์ โดย
เนื้อหำของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง ไม่วำจะเป็นเรื่อง
                                                 ่
ส่วนตัว กำรมองโลกของเรำ ควำมคิดเห็นของเรำต่อเรื่องต่ำง
ๆ หรือเป็นบทควำมเฉพำะด้ำน เช่น เรื่องกำรเมือง เรื่องกล้อง
ถ่ำยรูป เรื่องกีฬำ เรื่องธุรกิจ Blog มำจำกคำำว่ำ WeBlog บำง
คนอ่ำนว่ำ We Blog บำงคนอ่ำนว่ำ Web Log แต่ทั้งหมำด
คือ Blog ซึ่งหมำยถึง กำรบันทึกบทควำมของตนเอง (อำจเป็น
อักษร รูปภำพ มัลติมีเดีย) ลงบนเว็ปผ่ำนเครือข่ำยอินเตอร์เนต
เพื่อเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับทรำบ Blog หรือ Web Blog เป็นกำร
สื่อสำรสองทำงระหว่ำงผู้เขียนและผู้อ่ำน โดยผู้อ่ำนสำมำรถ
โต้ตอบได้โดยกำร comment


     2.3.2 ประเภทของเว็ บ บล็ อ ก

               1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่
1.1. Linklog บล็อกแบบเป็นบล็อกรุ่นแรก ๆ ที่รวมลิ๊
งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ แม้ว่าจะบล็อกแบบนี้จะ
เป็นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรียงเหมือนว็บไดเร็กทอรี่
เพราะเจ้าของบล็อกจะโพสต์ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อ
โพสต์เท่านั้น

       1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นโพสต์ภาพถ่าย
ที่เจ้าของบล็อกอยากนำาเสนอ และมักจะไม่เน้นเขียน
ข้อความมากนัก

       1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็นบล็อกที่รวม
วิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็นบล็อกที่เรียกได้ว่าเป็นบล็อก
ที่นิยมทำากันมากในอนาคต เพราะการเจริญเติบโตของไฮส
ปีด อินเตอร์เน็ต หรือ อินเตอร์เน็ตบอร์ดแบนด์ ที่ทำาให้การ
ถ่ายทอดเสียง ภาพเคลื่อนไหว movie

     2.แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่

      2.1 บล็ อ กส่ ว นตั ว (Personal Blog) นำาแสนอความ
คิดเห็น กิจวัตรประจำาวันของเจ้าของบล็อกเป็นหลัก

     2.2 บล็ อ กข่ า ว(News Blog) บล็อกที่นำาเสนอข่าว
เป็นหลัก

     2.3 บล็ อ กกลุ ่ ม (Collaborative Blog) เป็นบล็อกที่
เขียนกันเป็นกลุ่ม เช่น blognone.com

     2.4 บล็ อ กการเมื อ ง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่อง
การเมืองล้วน ๆ

      2.5 บล็ อ กเพื ่ อ สิ ่ ง แวดล้ อ ม(Environment Blog)
พูดถึงเรื่องราวของธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อม
2.6 มี เ ดี ย บล็ อ ก(Media Blog) เป็นบล็อกที่วิเคราะห์
   สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่งที่เกี่ยวกับสื่อ เช่น
   oknation.net/blog/black ของสุทธิชัย หยุ่น

        2.7 บล็ อ กบั น เทิ ง (Entertainment Blog) บล็อกที่นำา
   เสนอเรื่องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และจอเงิน เรื่องซุบซุ
   ดารา กองถ่าย ฯลฯ

         2.8 บล็ อ กเพื ่ อ การศึ ก ษา(Educational Blog) ใน
   โรงเรียน หรือมหาวิทยาลัยในต่างประเทศมักจะใช้บล็อกเป็น
   สื่อในการสอนหรือ แลกเปลี่ยนความคิดกัน

       2.9 ติ ว เตอร์ บ ล็ อ ก(Tutorial Blog) เป็นบล็อกที่นำา
   เสนอวิธีการต่าง



3.แบ่งตามรูปแบบของเนื้อหาเฉพาะที่เห็นเด่นชัด

          3.1 Filter Blog เป็นบล็อกที่ผู้จัดทำา จะใช้สำาหรับนำา
   เสนอแหล่งข้อมูลที่ตนสนใจ (เว็บเพจหรือเว็บไซต์) โดยปกติ
   มักจะเป็นข่าว บทความ หรือความคิดเห็นของบุคคลใน
   วงการที่เผยแพร่ในเว็บไซต์ต่าง ๆ อาจเรียกได้ว่า เป็น บล็อก
   “Bookmark” หรือ มีชื่อเฉพาะ ว่า Social Bookmark บล็อก
   ลักษณะนี้ จะนำาเสนอแค่หัวข้อเรื่อง และ URL ของเว็บเพจ
   หรือเว็บไซต์ บางทีอาจเพิ่มคำาอธิบายเว็บเพจหรือเว็บไซต์
   นั้น ๆ ได้ด้วย และบางที่อาจจะสามารถเพิ่มความคิดเห็นของ
   ผู้จัดทำาบล็อกได้อีกด้วย เป็นเหมือนการกลั่นกรองข้อมูลให้
   ทราบว่าเว็บเพจหรือเว็บไซต์ใดกำาลังได้รับความนิยม ซึ่งจะ
   เป็นการช่วยจัดลำาดับความน่าเชื่อถือของเว็บเพจหรือ
   เว็บไซต์นั้น ๆ ได้เช่นกัน ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่
   http://del.icio.us/ เป็นต้น
3.2 Personal Journal Blog เป็นบล็อกที่ผู้จัดทำา
จะใช้สำาหรับนำาเสนอความคิดเห็นหรือประสบการณ์ของ
ตนเองผ่านข้อเขียน โดยอาจจะมีภาพประกอบ หรือมีการ
เชื่อมโยงออกไปยังเว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้ขอมูลดูน่าเชื่อถือ
                                         ้
หรือมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งบล็อกลักษณะนี้ เป็นบล็อก
ตามความเข้าใจของบุคคลทั่วไป ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้
ได้แก่ http://www.exteen.com หรือ
http://www.blogger.com เป็นต้น

     3.3 Photo Blog เป็นบล็อกที่ใช้สำาหรับเก็บภาพ
(ภาพถ่าย, ภาพวาด ฯลฯ) และสามารถใส่รายละเอียดของ
ภาพ ใส่คำาค้น (tag) ได้ ทำาให้การเก็บภาพเป็นระบบและง่าย
ต่อการค้นหามากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://
www.flickr.com เป็นต้น

      3.4 Video Blog หรือ เรียกว่า Vlog เป็นบล็อกที่ใช้
สำาหรับเก็บวีดิทัศน์ส่วนตัว สามารถใส่รายละเอียดของวีดิ
ทัศน์ ใส่คำาค้น (tag) ได้ ทำาให้การเก็บวีดิทัศน์เป็นระบบและ
ง่ายต่อการค้นหามากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่
http://www.aolvideoblog.com เป็นต้น

       3.5 บล็ อ กผสม มีลักษณะเป็นบล็อกที่สามารถเก็บ
ข้อมูลต่าง ๆ ได้หลายประเภท ทั้งเก็บรูปภาพ เก็บเพลง เก็บ
วีดิโอ เก็บลิงค์ (link) ต่าง ๆ หรือบันทึกประจำาวัน และใส่
ปฏิทินรายการงานที่ต้องทำา ฯลฯ ได้ด้วย ปัจจุบันเป็นบริการ
ที่ได้รับความนิยมสูงมาก โดยมีชื่อเฉพาะด้วย เรียกว่า Social
Network Service ซึ่งนอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อให้สมาชิก
แลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ กันแล้ว ก็ยังมีจุดประสงค์หลักเพื่อ
การค้นหาและสะสมเพื่อนจากทั่วโลก ตัวอย่าง Social
NetworkingWebsites ซึ่งให้บริการลักษณะนี้ ได้แก่
http://hi5.com หรือ http://multiply.com
หรือ http://spaces.live.com เป็นต้น (ซึ่งปัจจุบัน คำาว่า
blog ใน Social Networking Websites นั้นจะกลายเป็นแค่
ส่วนที่ใช้เขียนข้อความเช่นบันทึกประจำาวันแต่เพียงอย่าง
เดียวเท่านั้น และยังอาจใช้คำาว่า journal แทนคำาว่า blog
ด้วย แต่เนื่องจากบริการนี้ เป็นการรวมเอาบล็อกลักษณะต่าง
ๆที่เคยมี มาอยู่ในที่เดียว ทำาให้ผู้ใช้งานได้รับความสะดวก
สบายมากยิ่งขึ้น เพราะเพียงแค่เปิดใช้บริการที่เดียว ก็ได้ใช้
บริการครบถ้วน ไม่ต้องเสียเวลาไปสมัครใช้งานจาก
เว็บไซต์หลายที่ให้จดจำายากอีกด้วย)



2.3.3 เว็ บ ไซต์ ท ี ่ ใ ห้ บ ริ ก ารเว็ บ บล็ อ ก

      www.onblogme.com
      www.sumhua.com

         www.diaryi.net
          www.maxsiteth.com

      www.ugetblog.com
     www.gujaba.com

     www.freeseoblogs.com
www.istoreblog.com
     www.skypream.com
www.sabuyblog.com
     www.jaideespace.com
      www.my2blog.com
2.3.4 ประวั ต ิ ข องเว็ บ ไซต์ Blogger

      ประวัติของบล็อกบล็อก (Blog) คือ คำาว่า “Weblog”
ถูกใช้งานเป็นครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ปี
1997 ต่อมามีฝรั่งที่ชอบเรียกสั้นๆ ชื่อนาย Peter Merholz
จับมาเรียกย่อเหลือแต่ “Blog” แทนในเดือนเมษายน
ปีค.ศ.1999 และจนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ.2003
ทาง Oxford English Dictionary จึงได้บรรจุคำาว่า blog ใน
พจนานุกรม แสดงว่าได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ
บล็อก (Blog) ขึนแท่นศัพท์ยอดฮิต อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะ
                 ้
แสวงหา ความหมาย ทางพจนานุกรมออนไลน์ มากที่สุด
ประจำาปี 2004 สำานักข่าวเอพีรายงานว่า เว็บไซต์ ดิกชั่นนารี
หรือ พจนานุกรมออนไลน์ “เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์” ได้
ประกาศรายชื่อ คำาศัพท์ซึ่งถูกคลิก เข้าไปค้นหา ความหมาย
ผ่าน ระบบออนไลน์มากที่สุด 10 อันดับแรกประจำาปีนี้ ซึ่ง
อันดับหนึ่งตกเป็นของคำาว่า “บล็อก” (blog) ซึ่งเป็นคำาย่อ
ของ “เว็บ บล็อก” (web log)โดยนายอาเธอร์ บิคเนล โฆษก
สำานักพิมพ์พจนานุกรมฉบับ เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ กล่าวว่า
สำานักพิมพ์ได้เตรียมที่จะนำาคำาว่า “บล็อก” บรรจุลงใน
พจนานุกรมฉบับล่าสุดทั้งที่เป็นเล่มและ ฉบับออนไลน์แล้วแต่
จากความต้องการของผู้ใช้ที่หลั่งไหลเข้ามา ทำาให้เมอร์
เรียม-เว็บสเตอร์ตัดสินใจบรรจุคำาว่า “บล็อก” ลงในเว็บไซต์
ในสังกัดบางแห่งไปก่อน โดยให้คำาจำากัดความไว้ว่า “
เว็บไซต์ที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกส่วนตัวประจำาวัน ซึ่ง
สะท้อนถึงมุมมอง ความคิดเห็นของบุคคล โดยอาจรวมลิงค์
เชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์อื่นๆ ตามความประสงค์ของเจ้าของ
เว็บบล็อกเองด้วย” โดยทั่วไป คำาศัพท์ที่ถูกบรรจุลงใน
พจนานุกรมนั้นจะต้องผ่านการใช้งาน อย่างแพร่หลาย มาไม่
น้อยกว่า 20 ปี ซึ่งหมายความว่าคำาคำานั้นจะต้องถูกนำามาใช้
โดยทั่วไปในระยะเวลาหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันคำาศัพท์
ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรคภัยไข้เจ็บใหม่ๆ อย่างเช่น โรค
เอดส์ โรคไข้หวัดซาร์ส ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมภายใน
ระยะเวลาอันสั้นคำาว่า “บล็อก” เริ่มใช้เป็นครั้งแรกๆผ่านทาง
หน้าหนังสือพิมพ์และนิตยสารเมื่อปี 2542 แต่ผู้รวบรวม
พจนานุกรมตั้งข้อสังเกตว่าการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง
ประธานาธิบดีสหรัฐฯ และการประชุมใหญ่ของ พรรคเดโม
แครตและพรรครีพับลิกันเพื่อรับรองชื่อ ผู้สมัครเข้าชิง
ตำาแหน่งประธานาธิบดีที่ผ่านมา ทำาให้ประชาชนชาวสหรัฐฯ
ผู้ติดตามข่าวสารส่วนใหญ่สนใจ และต้องการทราบความ
หมายที่แท้จริงของคำาดังกล่าว โดยเฉพาะเมื่อคำาศัพท์เหล่า
นั้นปรากฏเป็นข่าวพาดหัวตามหน้าหนังสือพิมพ์ทั่วไปนอก
เหนือจากคำาว่า “บล็อก” แล้ว คำาศัพท์ที่ติดอันดับถูกเข้าไป
ค้นหาความหมายสูงสุด 10 อันดับแรกประจำาปีนี้ได้แก่ “อิน
คัมเบนท์” (incumbent) ซึ่งหมายถึงผู้อยู่ในตำาแหน่ง, “อิ
เล็กทอรัล” (electoral) หรือคณะผู้เลือกตั้งขณะที่บางคำาเป็น
คำาศัพท์ที่เกี่ยวเนื่องกับสงครามในอิรัก เช่น “สตอร์มส”
(stroms) ซึ่งมีความหมายว่ าการโจมตีอย่างรุนแรง, “อิน-
เซอร์เจ้นท์” (insurgent) หรือกองกำาลังฝ่ายต่อต้านการ
ปกครอง อิรัก, “เฮอร์ริเคน” (hurri- cane) ซึ่งหมาย ถึงผลก
ระทบอย่างรุนแรง, “เพโลตัน” (peloton) ที่แปลว่ากองทหาร
ขนาดเล็ก และซิคาด้า (cicada) ซึ่งความหมายตามรูปศัพท์
แปลว่าจักจั่น

More Related Content

What's hot

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
Thanggwa Taemin
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Supaporn Pakdeemee
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
teerarat55
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kot สุรศักดิ์
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
Kanistha Chudchum
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Ninna Natsu
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Poonyapat Wongpong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 

What's hot (14)

2
22
2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Viewers also liked

แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
mewinlove1995
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
sompiaw
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
sompiaw
 
โครงงานไวรัสคอมพิวเตอร์ม,.53
โครงงานไวรัสคอมพิวเตอร์ม,.53โครงงานไวรัสคอมพิวเตอร์ม,.53
โครงงานไวรัสคอมพิวเตอร์ม,.53
sompiaw
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
sompiaw
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
sompiaw
 
แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
mewinlove1995
 
บทที่ 4 (1)
บทที่ 4 (1)บทที่ 4 (1)
บทที่ 4 (1)
sompiaw
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานเรื่อง Macbook ม.5.1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานเรื่อง Macbook ม.5.1แบบเสนอโครงร่างโครงงานเรื่อง Macbook ม.5.1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานเรื่อง Macbook ม.5.1
sompiaw
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
sompiaw
 

Viewers also liked (19)

แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โครงงานไวรัสคอมพิวเตอร์ม,.53
โครงงานไวรัสคอมพิวเตอร์ม,.53โครงงานไวรัสคอมพิวเตอร์ม,.53
โครงงานไวรัสคอมพิวเตอร์ม,.53
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
แบบเสนอโครงงาน เรื่อง Blackberry ม.5.1
 
บทที่ 4 (1)
บทที่ 4 (1)บทที่ 4 (1)
บทที่ 4 (1)
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ปก
ปกปก
ปก
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานเรื่อง Macbook ม.5.1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานเรื่อง Macbook ม.5.1แบบเสนอโครงร่างโครงงานเรื่อง Macbook ม.5.1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานเรื่อง Macbook ม.5.1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ปก
ปกปก
ปก
 

Similar to บทที่2

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kot สุรศักดิ์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
New Tomza
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Beeiiz Gubee
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Tangkwa Tom
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
dargonbail
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
teeraratWI
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Wilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Wilaiporn Seehawong
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Wilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Miw Inthuorn
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Pongtep Treeone
 

Similar to บทที่2 (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัยบทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัย
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

More from mewinlove1995

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
mewinlove1995
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
mewinlove1995
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
mewinlove1995
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
mewinlove1995
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
mewinlove1995
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
mewinlove1995
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
mewinlove1995
 

More from mewinlove1995 (16)

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ปก
ปกปก
ปก
 

บทที่2

  • 1. บทที ่ 2 เอกสารที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง ในการจัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Blogger Skinny Player นี้ ผู้จดทำาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจาก ั เว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 2.1 ความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.1 ความสำ า คั ญ ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ อิ น เทอร์ เ น็ ต เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง ความรูในผลิตภัณฑ หรือในกระบวนการดำาเนินการใดๆ ที่ อาศัยเทคโนโลยีทาง ดานคอมพิวเตอรซอฟตแวร (software) คอมพิวเตอรฮารดแวร (hardware) การติดตอสื่อสาร การ รวบรวมและการนำาขอมูลมาใชอยางทันการ เพื่อกอใหเกิด ประสิทธิภาพทั้งทางดานการผลิต การบริการ การบริหาร และ การดำาเนินงาน รวมทั้งเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ซึ่งจะสง ผลตอความไดเปรียบทางเศรษฐกิจ การคา และการพัฒนาด้าน คุณภาพชีวิตและคุณภาพของ ประชาชนในสังคม
  • 2. 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.2.1 ความหมายของ Social Media Social Media สำำหรับในยุคนี้ เรำคงจะหลีกเลี่ยง หรือหนีคำำว่ำ Social Media ไปไม่ได้ เพรำะไม่ว่ำจะไปที่ไหน ก็จะ พบเห็นมันอยู่ตลอดเวลำ ซึ่งหลำยๆ คนก็อำจจะยังสงสัยว่ำ “Social Media” มันคืออะไรกันแน่ วันนี้เรำจะมำรู้จักควำมหมำย ของมันกันครับ คำำว่ำ “Social” หมำยถึง สังคม ซึงในทีนี้จะหมำยถึงสังคม ่ ่ ออนไลน์ ซึ่งมีขนำดใหม่มำกในปัจจุบัน คำำว่ำ “Media” หมำยถึง สื่อ ซึ่งก็คือ เนื้อหำ เรื่องรำว บทควำม วีดีโอ เพลง รูปภำพ เป็นต้น ดังนั้นคำำว่ำ Social Media จึงหมำยถึง สื่อสังคมออนไลน์ที่มี กำรตอบสนองทำงสังคมได้หลำยทิศทำง โดยผ่ำนเครือข่ำย อินเตอร์เน็ต พูดง่ำยๆ ก็คือเว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สำมำรถมีปฏิ สัมพันธ์โ้้ต้ตอบกันได้นั่นเอง พื้นฐำนกำรเกิด Social Media ก็ มำจำกควำมต้องกำรของมนุษย์หรือคนเรำที่ต้องกำรติดต่อสื่อสำร หรือมีปฏิสัมพันธ์กัน จำกเดิมเรำมีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่ แสดงเนื้อหำอย่ำงเดียว บุคคลแต่ละคนไม่สำมำรถติดต่อหรือ โต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนำเข้ำสู่ยุค 2.0 ก็มีกำร พัฒนำเว็บไซต์ที่เรียกว่ำ web application ซึ่งก็คือเว็บไซต์มีแอ พลิเคชันหรือโปรแกรมต่ำงๆ ที่มีกำรโต้ตอบกับผู้ใช้งำนมำกขึ้น ผู้ ใช้งำนแต่ละคนสำมำรถโต้ตอบกันได้ผ่ำนหน้ำเว็บ 2.2.2 ประวั ต ิ ค วามเป็ น มาและพั ฒ นาการของ Social Media ประวัติของบล็อกบล็อก (Blog) คือ คำาว่า “Weblog” ถูกใช้งานเป็นครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ปี 1997 ต่อมามีฝรั่งที่ชอบเรียกสั้นๆ ชื่อนาย Peter Merholz จับมา เรียกย่อเหลือแต่ “Blog” แทนในเดือนเมษายน ปีค.ศ.1999 และ จนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ.2003 ทาง Oxford English Dictionary จึงได้บรรจุคำาว่า blog ในพจนานุกรม แสดงว่าได้รับ
  • 3. การยอมรับอย่างเป็นทางการ บล็อก (Blog) ขึนแท่นศัพท์ยอดฮิต ้ อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะแสวงหา ความหมาย ทางพจนานุกรม ออนไลน์ มากที่สุด ประจำาปี 2004 สำานักข่าวเอพีรายงานว่า เว็บไซต์ ดิกชั่นนารีหรือ พจนานุกรมออนไลน์ “เมอร์เรียม-เว็บส เตอร์” ได้ประกาศรายชื่อ คำาศัพท์ซึ่งถูกคลิก เข้าไปค้นหา ความ หมายผ่าน ระบบออนไลน์มากที่สุด 10 อันดับแรกประจำาปีนี้ ซึ่ง อันดับหนึ่งตกเป็นของคำาว่า “บล็อก” (blog) ซึ่งเป็นคำาย่อของ “เว็ บ บล็อก” (web log)โดยนายอาเธอร์ บิคเนล โฆษกสำานักพิมพ์ พจนานุกรมฉบับ เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ กล่าวว่า สำานักพิมพ์ได้ เตรียมที่จะนำาคำาว่า “บล็อก” บรรจุลงในพจนานุกรมฉบับล่าสุดทั้ง ที่เป็นเล่มและ ฉบับออนไลน์แล้วแต่จากความต้องการของผู้ใช้ที่ หลั่งไหลเข้ามา ทำาให้เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ตัดสินใจบรรจุคำาว่า “บ ล็อก” ลงในเว็บไซต์ในสังกัดบางแห่งไปก่อน โดยให้คำาจำากัด ความไว้ว่า “เว็บไซต์ที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกส่วนตัวประจำา วัน ซึ่งสะท้อนถึงมุมมอง ความคิดเห็นของบุคคล โดยอาจรวมลิงค์ เชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์อื่นๆ ตามความประสงค์ของเจ้าของเว็บ บล็อกเองด้วย” โดยทั่วไป คำาศัพท์ที่ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมนั้น จะต้องผ่านการใช้งาน อย่างแพร่หลาย มาไม่น้อยกว่า 20 ปี ซึ่ง หมายความว่าคำาคำานั้นจะต้องถูกนำามาใช้โดยทั่วไปในระยะเวลา หนึ่ง อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันคำาศัพท์ ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรค ภัยไข้เจ็บใหม่ๆ อย่างเช่น โรคเอดส์ โรคไข้หวัดซาร์ส ถูกบรรจุลง ในพจนานุกรมภายในระยะเวลาอันสั้นคำาว่า “บล็อก” เริ่มใช้เป็น ครั้งแรกๆผ่านทางหน้าหนังสือพิมพ์และนิตยสารเมื่อปี 2542 แต่ผู้ รวบรวมพจนานุกรมตั้งข้อสังเกตว่าการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ประธานาธิบดีสหรัฐฯ และการประชุมใหญ่ของ พรรคเดโมแครต และพรรครีพับลิกันเพื่อรับรองชื่อ ผู้สมัครเข้าชิงตำาแหน่ง ประธานาธิบดีที่ผ่านมา ทำาให้ประชาชนชาวสหรัฐฯ ผูติดตาม ้ ข่าวสารส่วนใหญ่สนใจ และต้องการทราบความหมายที่แท้จริง ของคำาดังกล่าว โดยเฉพาะเมื่อคำาศัพท์เหล่านั้นปรากฏเป็นข่าว
  • 4. พาดหัวตามหน้าหนังสือพิมพ์ทั่วไปนอกเหนือจากคำาว่า “บล็อก” แล้ว คำาศัพท์ที่ติดอันดับถูกเข้าไปค้นหาความหมายสูงสุด 10 อันดับแรกประจำาปีนี้ได้แก่ “อินคัมเบนท์” (incumbent) ซึ่งหมาย ถึงผู้อยู่ในตำาแหน่ง, “อิเล็กทอรัล” (electoral) หรือคณะผู้เลือกตั้ง ขณะที่บางคำาเป็นคำาศัพท์ที่เกี่ยวเนื่องกับสงครามในอิรัก เช่น “ส ตอร์มส” (stroms) ซึ่งมีความหมายว่ าการโจมตีอย่างรุนแรง, “อิน -เซอร์เจ้นท์” (insurgent) หรือกองกำาลังฝ่ายต่อต้านการปกครอง อิรัก, “เฮอร์ริเคน” (hurri- cane) ซึ่งหมาย ถึงผลกระทบอย่าง รุนแรง, “เพโลตัน” (peloton) ที่แปลว่ากองทหารขนาดเล็ก และซิ คาด้า (cicada) ซึ่งความหมายตามรูปศัพท์ แปลว่าจักจั่น 2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ที่ให้บริการ Social Media 1) Blog – ซึ่งเป็นกำรลดรูปจำกคำำว่ำ Weblog ซึ่งถือ เป็นระบบจัดกำรเนื้อหำ (Content Management System: CMS) รูปแบบหนึ่ง ซึ่งทำำให้ผู้ใช้สำมำรถเขียนบทควำมเรียกว่ำ Post และทำำกำรเผยแพร่ได้โดยง่ำย ไม่ยุ่งยำกในกำรที่จะต้องมำนั่ง เรียนรู้ถึงภำษำ HTML หรือโปรแกรมทำำ web site ทังนี้กำรเรียง ้ ของเนื้อหำจะเรียงจำกเนื้อหำที่มำใหม่สุดก่อน จำกนั้นก็ลดหลั่น ลงไปตำมลำำดับของเวลำ (Chronological Order) กำรเกิดของ Blog เปิดโอกำสให้ใครๆที่มีควำมสำมำรถในด้ำนต่ำงๆ สำมำรถ เผยแพร่ควำมรู้ดังกล่ำวด้วยกำรเขียนได้อย่ำงเสรี ไม่มีขีดจำำกัด เรื่องเทคนิคอย่ำงในอดีตอีกต่อไป ทำำให้เกิด Blog ขึ้นมำจำำนวน มำกมำย และเพิ่มเนื้อหำให้กับโลกออนไลน์ได้เป็นจำำนวน มหำศำลอย่ำงที่ไม่เคยมีมำก่อน นอกจำกนี้เครื่องมือที่สำำคัญที่ ทำำให้เกิดลักษณะของ Social คือกำรเปิดให้เพื่อนๆเข้ำมำแสดง ควำมเห็นได้นั่นเอง ในแง่ของกำรตลำด Blog อำจจะถูกนำำมำใช้ได้ใน 2 รูปแบบ คือ กำรที่บริษทจัดทำำ Blog (Corporate Blog) ขึ้นมำเพื่อพูดจำกับ ั บรรดำลูกค้ำ และ Blog ทีเขียนจำก Blogger อิสระ ที่มีควำม ่
  • 5. สำมำรถเขียนเรื่องที่ตนถนัดและมีผู้ติดตำมจำำนวนมำก จนกลำย เป็น Marketing Influencer 2) Twitter และ Microblog อื่นๆ – เป็นรูป แบบหนึ่งของ Blog ทีจำำกัดขนำดของกำร Post แต่ละครั้งไว้ที่ ่ 140 ตัวอักษร โดยแรกเริ่มเดิมที ผู้ออกแบบ Twitter ต้องกำรให้ผู้ ใช้เขียนเรื่องรำวว่ำคุณกำำลังทำำอะไรอยูในขณะนี้ (What are you ่ doing?) แต่กิจกำรต่ำงๆกลับนำำ Twitter ไปใช้ในทำงธุรกิจ ไม่ว่ำ จะเป็นกำรสร้ำงกำรบอกต่อ เพิ่มยอดขำย สร้ำง Brand หรือเป็น เครื่องมือสำำหรับกำรบริหำรควำมสัมพันธ์ลูกค้ำ (CRM) ทั้งนี้เรำยัง สำมำรถใช้เป็นเครื่องมือในกำรประชำสัมพันธ์บทควำมใหม่ๆบน Blog ของเรำได้ด้วย Twitter นั้นเป็นนิยมขึ้นมำกอย่ำงรวดเร็ว จน ทำำให้เว็บไซต์ประเภท Social Network ต่ำงๆ เพิ่ม Feature ทีให้ ่ ผู้ใช้สำมำรถบอกได้ว่ำตอนนี้กำำลังทำำอะไรกันอยู่ นั้นก็คือกำรนำำ Microblog เข้ำไปเป็นส่วนหนึ่งด้วยนั้นเอง 3) Social Networking – จำกชื่อก็สำมำรถแปล ควำมหมำยได้วำเป็นเครือข่ำยที่เชื่อมโยงเรำกับเพื่อนๆจนกลำย ่ เป็นสังคม ทั้งนี้ผใช้จะเริ่มต้นสร้ำงตัวตนของตนเองขึ้นในส่วนของ ู้ Profile ซึ่งประกกอบด้วยข้อมูลส่วนตัว (Info) รูป (Photo) กำรจด บันทึก (Note) หรือกำรใส่วิดีโอ (Video) และอื่นๆ นอกจำกนี้ Social Networking ยังมีเครื่องมือสำำคัญในกำรสร้ำงจำำนวนเพื่อน ให้มำกขึ้น คือ ในส่วนของ Invite Friend และ Find Friend รวม ถึงกำรสร้ำงเพื่อนจำกเพื่อนของเพื่อนอีกด้วย นักกำรตลำดนำำ Social Networking มำใช้ในกำรมีปฏิสัมพันธ์กับ ลูกค้ำ อำจจะอยูในรูปของกำรสร้ำง Brand ผ่ำนเกมส์หรือ ่ Application ต่ำงๆ หรืออำจใช้เป็นเครื่องมือของ CRM ผ่ำนทำง Pages และนอกจำกนี้ตัวลูกค้ำเอง หำกชื่นชอบในสินค้ำหรือ บริกำร ก็สำมำรถร่วมกลุ่มกันจัดตั้ง Group ขึ้นมำได้ เว็บไซต์ทมีลักษณะของ Social Networking มีมำกมำย แต่อำจ ี่ จะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ประเภทแรกจะสนใจในกำรสร้ำง เครือข่ำยระหว่ำงเพื่อนๆหรือครอบครัว เช่น Facebook, Hi5 หรือ Myspace และอีกประเภท คือสนใจในกำรสร้ำงเครือข่ำยในเชิง
  • 6. ธุรกิจ ทีเปิดให้ใส่ Resume และข้อมูลเชิงอำชีพต่ำงๆ เช่น ่ Linkedin หรือ Plaxo เป็นต้น 4) Media Sharing – เป็นเว็บไซต์ที่เปิดโอกำสให้ เรำสำมำรถ upload รูปหรือวิดีโอเพื่อแบ่งปันให้กับครอบครัว เพื่อนๆ หรือแม้กระทั่งเพื่อเผยแพร่ต่อสำธำรณชน นักกำรตลำด ณ ปัจจุบันไม่จำำเป็นจะต้องทุ่มทุนในกำรสร้ำงหนังโฆษณำที่มีต้นทุน สูง เรำอำจจะใช้กล้องดิจิตอลรำคำถูกๆ ถ่ำยทอดควำมคิดเป็นรูป แบบวิดีโอ จำกนั้นนำำขึ้นไปสู่เว็บไซต์ Media Sharing อย่ำง Youtube หำกควำมคิดของเรำเป็นที่ชื่นชอบ ก็ทำำให้เกิดกำรบอก ต่ออย่ำงแพร่หลำย หรือกรณีหำกกิจกำรคุณขำยสินค้ำที่เน้นดีไซน์ ที่สวยงำม ก็อำจจะถ่ำยรูปแล้วนำำขึ้นไปสู่เว็บไซต์อย่ำง Flickr เพื่อให้ลูกค้ำได้ชม หรืออำจจะใช้เป็นเครื่องมือในกำรนำำชม โรงงำน หรือบรรยำกำศในกำรทำำงำนของกิจกำร เป็นต้น หรือ อย่ำงกรณีของ Multiply ที่คนไทยนิยมนำำรูปภำพที่ตนเองถ่ำยมำ แสดงฝีมือ เหมือนเป็นแกลลอรีส่วนตัว ทำำให้ผู้ว่ำจ้ำงได้เห็นฝีมือ ก่อนที่จะทำำกำรจ้ำง 5) Social News and Bookmarking – เป็น เว็บไซต์ที่เชื่อมโยงไปยังบทควำมหรือเนื้อหำใดในอินเทอร์เน็ต โดยผู้ใช้เป็นผู้ส่งและเปิดโอกำสให้คะแนนและทำำกำรโหวตได้ เป็นเสมือนมหำชนช่วยกลั่นกรองว่ำบทควำมหรือเนื้อหำใดนั้นเป็น ที่นำสนใจที่สุด ในส่วนของ Social Bookmarking นั้น เป็นกำรที่ ่ เปิดโอกำสให้คุณสำมำรถทำำกำร Bookmark เนื้อหำหรือเว็บไซต์ ที่ชื่นชอบ โดยไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง แต่ สำมำรถทำำผ่ำนออนไลน์ และเนื้อหำในส่วนที่เรำทำำ Bookmark ไว้นี้ สำมำรถที่จะแบ่งปันให้คนอื่นๆได้ด้วย นักกำรตลำดจะใช้เป็น เครื่องมือในกำรบอกต่อและสร้ำงจำำนวนคนเข้ำมำยังที่เว็บไซต์ หรือ Campaign กำรตลำดที่ต้องกำร 6) Online Forums – ถือเป็นรูปแบบของ Social Media ทีเก่ำแก่ที่สุด เป็นเสมือนสถำนที่ที่ให้ผู้คนเข้ำมำพูดคุยใน ่ หัวข้อที่พวกเขำสนใจ ซึงอำจจะเป็นเรื่อง เพลง หนัง กำรเมือง ่ กีฬำ สุขภำพ หนังสือ กำรลงทุน และอื่นๆอีกมำกมำย ได้ทำำกำร แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น แสดงข้อมูลข่ำวสำร ตลอดจนถึงกำร
  • 7. แนะนำำสินค้ำหรือบริกำรต่ำงๆ นักกำรตลำดควนสนใจเนื้อหำที่พูด คุยใน Forums เหล่ำนี้ เพรำะบำงครั้งอำจจะเป็นคำำวิจำรณ์เกี่ยว กับตัวสินค้ำและบริกำรของเรำ ซึ่งเรำเองสำมำรถเข้ำไปทำำควำม เข้ำใจ แก้ไขปัญหำ ตลอดจนถึงใช้สร้ำงควำมสัมพันธ์ที่ดีกับ ลูกค้ำ เว็บไซต์ประเภท Forums อำจจะเป็นเว็บไซต์ที่เปิดให้แลก เปลียนควำมคิดเห็นกันโดยเฉพำะ หรืออำจจะเป็นส่วนหนึ่งใน ่ เว็บไซต์เนื้อหำต่ำงๆ 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) ความหมายของเว็บบล็อก Blog คือ กำรบันทึก บทควำมของตนเอง (Personal Korunal) ลงบนเว็บไซต์ โดย เนื้อหำของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง ไม่วำจะเป็นเรื่อง ่ ส่วนตัว กำรมองโลกของเรำ ควำมคิดเห็นของเรำต่อเรื่องต่ำง ๆ หรือเป็นบทควำมเฉพำะด้ำน เช่น เรื่องกำรเมือง เรื่องกล้อง ถ่ำยรูป เรื่องกีฬำ เรื่องธุรกิจ Blog มำจำกคำำว่ำ WeBlog บำง คนอ่ำนว่ำ We Blog บำงคนอ่ำนว่ำ Web Log แต่ทั้งหมำด คือ Blog ซึ่งหมำยถึง กำรบันทึกบทควำมของตนเอง (อำจเป็น อักษร รูปภำพ มัลติมีเดีย) ลงบนเว็ปผ่ำนเครือข่ำยอินเตอร์เนต เพื่อเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับทรำบ Blog หรือ Web Blog เป็นกำร สื่อสำรสองทำงระหว่ำงผู้เขียนและผู้อ่ำน โดยผู้อ่ำนสำมำรถ โต้ตอบได้โดยกำร comment 2.3.2 ประเภทของเว็ บ บล็ อ ก 1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่
  • 8. 1.1. Linklog บล็อกแบบเป็นบล็อกรุ่นแรก ๆ ที่รวมลิ๊ งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ แม้ว่าจะบล็อกแบบนี้จะ เป็นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรียงเหมือนว็บไดเร็กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะโพสต์ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อ โพสต์เท่านั้น 1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นโพสต์ภาพถ่าย ที่เจ้าของบล็อกอยากนำาเสนอ และมักจะไม่เน้นเขียน ข้อความมากนัก 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็นบล็อกที่รวม วิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็นบล็อกที่เรียกได้ว่าเป็นบล็อก ที่นิยมทำากันมากในอนาคต เพราะการเจริญเติบโตของไฮส ปีด อินเตอร์เน็ต หรือ อินเตอร์เน็ตบอร์ดแบนด์ ที่ทำาให้การ ถ่ายทอดเสียง ภาพเคลื่อนไหว movie 2.แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่ 2.1 บล็ อ กส่ ว นตั ว (Personal Blog) นำาแสนอความ คิดเห็น กิจวัตรประจำาวันของเจ้าของบล็อกเป็นหลัก 2.2 บล็ อ กข่ า ว(News Blog) บล็อกที่นำาเสนอข่าว เป็นหลัก 2.3 บล็ อ กกลุ ่ ม (Collaborative Blog) เป็นบล็อกที่ เขียนกันเป็นกลุ่ม เช่น blognone.com 2.4 บล็ อ กการเมื อ ง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่อง การเมืองล้วน ๆ 2.5 บล็ อ กเพื ่ อ สิ ่ ง แวดล้ อ ม(Environment Blog) พูดถึงเรื่องราวของธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อม
  • 9. 2.6 มี เ ดี ย บล็ อ ก(Media Blog) เป็นบล็อกที่วิเคราะห์ สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่งที่เกี่ยวกับสื่อ เช่น oknation.net/blog/black ของสุทธิชัย หยุ่น 2.7 บล็ อ กบั น เทิ ง (Entertainment Blog) บล็อกที่นำา เสนอเรื่องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และจอเงิน เรื่องซุบซุ ดารา กองถ่าย ฯลฯ 2.8 บล็ อ กเพื ่ อ การศึ ก ษา(Educational Blog) ใน โรงเรียน หรือมหาวิทยาลัยในต่างประเทศมักจะใช้บล็อกเป็น สื่อในการสอนหรือ แลกเปลี่ยนความคิดกัน 2.9 ติ ว เตอร์ บ ล็ อ ก(Tutorial Blog) เป็นบล็อกที่นำา เสนอวิธีการต่าง 3.แบ่งตามรูปแบบของเนื้อหาเฉพาะที่เห็นเด่นชัด 3.1 Filter Blog เป็นบล็อกที่ผู้จัดทำา จะใช้สำาหรับนำา เสนอแหล่งข้อมูลที่ตนสนใจ (เว็บเพจหรือเว็บไซต์) โดยปกติ มักจะเป็นข่าว บทความ หรือความคิดเห็นของบุคคลใน วงการที่เผยแพร่ในเว็บไซต์ต่าง ๆ อาจเรียกได้ว่า เป็น บล็อก “Bookmark” หรือ มีชื่อเฉพาะ ว่า Social Bookmark บล็อก ลักษณะนี้ จะนำาเสนอแค่หัวข้อเรื่อง และ URL ของเว็บเพจ หรือเว็บไซต์ บางทีอาจเพิ่มคำาอธิบายเว็บเพจหรือเว็บไซต์ นั้น ๆ ได้ด้วย และบางที่อาจจะสามารถเพิ่มความคิดเห็นของ ผู้จัดทำาบล็อกได้อีกด้วย เป็นเหมือนการกลั่นกรองข้อมูลให้ ทราบว่าเว็บเพจหรือเว็บไซต์ใดกำาลังได้รับความนิยม ซึ่งจะ เป็นการช่วยจัดลำาดับความน่าเชื่อถือของเว็บเพจหรือ เว็บไซต์นั้น ๆ ได้เช่นกัน ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://del.icio.us/ เป็นต้น
  • 10. 3.2 Personal Journal Blog เป็นบล็อกที่ผู้จัดทำา จะใช้สำาหรับนำาเสนอความคิดเห็นหรือประสบการณ์ของ ตนเองผ่านข้อเขียน โดยอาจจะมีภาพประกอบ หรือมีการ เชื่อมโยงออกไปยังเว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้ขอมูลดูน่าเชื่อถือ ้ หรือมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งบล็อกลักษณะนี้ เป็นบล็อก ตามความเข้าใจของบุคคลทั่วไป ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ ได้แก่ http://www.exteen.com หรือ http://www.blogger.com เป็นต้น 3.3 Photo Blog เป็นบล็อกที่ใช้สำาหรับเก็บภาพ (ภาพถ่าย, ภาพวาด ฯลฯ) และสามารถใส่รายละเอียดของ ภาพ ใส่คำาค้น (tag) ได้ ทำาให้การเก็บภาพเป็นระบบและง่าย ต่อการค้นหามากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http:// www.flickr.com เป็นต้น 3.4 Video Blog หรือ เรียกว่า Vlog เป็นบล็อกที่ใช้ สำาหรับเก็บวีดิทัศน์ส่วนตัว สามารถใส่รายละเอียดของวีดิ ทัศน์ ใส่คำาค้น (tag) ได้ ทำาให้การเก็บวีดิทัศน์เป็นระบบและ ง่ายต่อการค้นหามากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.aolvideoblog.com เป็นต้น 3.5 บล็ อ กผสม มีลักษณะเป็นบล็อกที่สามารถเก็บ ข้อมูลต่าง ๆ ได้หลายประเภท ทั้งเก็บรูปภาพ เก็บเพลง เก็บ วีดิโอ เก็บลิงค์ (link) ต่าง ๆ หรือบันทึกประจำาวัน และใส่ ปฏิทินรายการงานที่ต้องทำา ฯลฯ ได้ด้วย ปัจจุบันเป็นบริการ ที่ได้รับความนิยมสูงมาก โดยมีชื่อเฉพาะด้วย เรียกว่า Social Network Service ซึ่งนอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อให้สมาชิก แลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ กันแล้ว ก็ยังมีจุดประสงค์หลักเพื่อ การค้นหาและสะสมเพื่อนจากทั่วโลก ตัวอย่าง Social NetworkingWebsites ซึ่งให้บริการลักษณะนี้ ได้แก่
  • 11. http://hi5.com หรือ http://multiply.com หรือ http://spaces.live.com เป็นต้น (ซึ่งปัจจุบัน คำาว่า blog ใน Social Networking Websites นั้นจะกลายเป็นแค่ ส่วนที่ใช้เขียนข้อความเช่นบันทึกประจำาวันแต่เพียงอย่าง เดียวเท่านั้น และยังอาจใช้คำาว่า journal แทนคำาว่า blog ด้วย แต่เนื่องจากบริการนี้ เป็นการรวมเอาบล็อกลักษณะต่าง ๆที่เคยมี มาอยู่ในที่เดียว ทำาให้ผู้ใช้งานได้รับความสะดวก สบายมากยิ่งขึ้น เพราะเพียงแค่เปิดใช้บริการที่เดียว ก็ได้ใช้ บริการครบถ้วน ไม่ต้องเสียเวลาไปสมัครใช้งานจาก เว็บไซต์หลายที่ให้จดจำายากอีกด้วย) 2.3.3 เว็ บ ไซต์ ท ี ่ ใ ห้ บ ริ ก ารเว็ บ บล็ อ ก www.onblogme.com www.sumhua.com www.diaryi.net www.maxsiteth.com www.ugetblog.com www.gujaba.com www.freeseoblogs.com www.istoreblog.com www.skypream.com www.sabuyblog.com www.jaideespace.com www.my2blog.com
  • 12. 2.3.4 ประวั ต ิ ข องเว็ บ ไซต์ Blogger ประวัติของบล็อกบล็อก (Blog) คือ คำาว่า “Weblog” ถูกใช้งานเป็นครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ปี 1997 ต่อมามีฝรั่งที่ชอบเรียกสั้นๆ ชื่อนาย Peter Merholz จับมาเรียกย่อเหลือแต่ “Blog” แทนในเดือนเมษายน ปีค.ศ.1999 และจนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ.2003 ทาง Oxford English Dictionary จึงได้บรรจุคำาว่า blog ใน พจนานุกรม แสดงว่าได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ บล็อก (Blog) ขึนแท่นศัพท์ยอดฮิต อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะ ้ แสวงหา ความหมาย ทางพจนานุกรมออนไลน์ มากที่สุด ประจำาปี 2004 สำานักข่าวเอพีรายงานว่า เว็บไซต์ ดิกชั่นนารี หรือ พจนานุกรมออนไลน์ “เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์” ได้ ประกาศรายชื่อ คำาศัพท์ซึ่งถูกคลิก เข้าไปค้นหา ความหมาย ผ่าน ระบบออนไลน์มากที่สุด 10 อันดับแรกประจำาปีนี้ ซึ่ง อันดับหนึ่งตกเป็นของคำาว่า “บล็อก” (blog) ซึ่งเป็นคำาย่อ ของ “เว็บ บล็อก” (web log)โดยนายอาเธอร์ บิคเนล โฆษก สำานักพิมพ์พจนานุกรมฉบับ เมอร์เรียม-เว็บสเตอร์ กล่าวว่า สำานักพิมพ์ได้เตรียมที่จะนำาคำาว่า “บล็อก” บรรจุลงใน พจนานุกรมฉบับล่าสุดทั้งที่เป็นเล่มและ ฉบับออนไลน์แล้วแต่ จากความต้องการของผู้ใช้ที่หลั่งไหลเข้ามา ทำาให้เมอร์ เรียม-เว็บสเตอร์ตัดสินใจบรรจุคำาว่า “บล็อก” ลงในเว็บไซต์ ในสังกัดบางแห่งไปก่อน โดยให้คำาจำากัดความไว้ว่า “ เว็บไซต์ที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกส่วนตัวประจำาวัน ซึ่ง สะท้อนถึงมุมมอง ความคิดเห็นของบุคคล โดยอาจรวมลิงค์ เชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์อื่นๆ ตามความประสงค์ของเจ้าของ เว็บบล็อกเองด้วย” โดยทั่วไป คำาศัพท์ที่ถูกบรรจุลงใน พจนานุกรมนั้นจะต้องผ่านการใช้งาน อย่างแพร่หลาย มาไม่ น้อยกว่า 20 ปี ซึ่งหมายความว่าคำาคำานั้นจะต้องถูกนำามาใช้
  • 13. โดยทั่วไปในระยะเวลาหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันคำาศัพท์ ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรคภัยไข้เจ็บใหม่ๆ อย่างเช่น โรค เอดส์ โรคไข้หวัดซาร์ส ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมภายใน ระยะเวลาอันสั้นคำาว่า “บล็อก” เริ่มใช้เป็นครั้งแรกๆผ่านทาง หน้าหนังสือพิมพ์และนิตยสารเมื่อปี 2542 แต่ผู้รวบรวม พจนานุกรมตั้งข้อสังเกตว่าการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ประธานาธิบดีสหรัฐฯ และการประชุมใหญ่ของ พรรคเดโม แครตและพรรครีพับลิกันเพื่อรับรองชื่อ ผู้สมัครเข้าชิง ตำาแหน่งประธานาธิบดีที่ผ่านมา ทำาให้ประชาชนชาวสหรัฐฯ ผู้ติดตามข่าวสารส่วนใหญ่สนใจ และต้องการทราบความ หมายที่แท้จริงของคำาดังกล่าว โดยเฉพาะเมื่อคำาศัพท์เหล่า นั้นปรากฏเป็นข่าวพาดหัวตามหน้าหนังสือพิมพ์ทั่วไปนอก เหนือจากคำาว่า “บล็อก” แล้ว คำาศัพท์ที่ติดอันดับถูกเข้าไป ค้นหาความหมายสูงสุด 10 อันดับแรกประจำาปีนี้ได้แก่ “อิน คัมเบนท์” (incumbent) ซึ่งหมายถึงผู้อยู่ในตำาแหน่ง, “อิ เล็กทอรัล” (electoral) หรือคณะผู้เลือกตั้งขณะที่บางคำาเป็น คำาศัพท์ที่เกี่ยวเนื่องกับสงครามในอิรัก เช่น “สตอร์มส” (stroms) ซึ่งมีความหมายว่ าการโจมตีอย่างรุนแรง, “อิน- เซอร์เจ้นท์” (insurgent) หรือกองกำาลังฝ่ายต่อต้านการ ปกครอง อิรัก, “เฮอร์ริเคน” (hurri- cane) ซึ่งหมาย ถึงผลก ระทบอย่างรุนแรง, “เพโลตัน” (peloton) ที่แปลว่ากองทหาร ขนาดเล็ก และซิคาด้า (cicada) ซึ่งความหมายตามรูปศัพท์ แปลว่าจักจั่น