SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 63
ค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี
ที่ 12/2556
เรื่อง การจัดท�ำโครงการส่งเสริมพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอน
ค�ำถาม : การจัดท�ำโครงการส่งเสริมพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอนขัดกับ
เจตนารมณ์ของกฎหมายปกครองท้องถิ่นหรือไม่อย่างไรตามทัศนะอิสลาม ?
	 ค�ำวินิจฉัย
: ‫وبعد‬ ... ‫أمجعني‬ ‫وصحابته‬ ‫آله‬ ‫وعلى‬ ‫حممد‬ ‫سيدنا‬ ‫على‬ ‫والسالم‬ ‫والصالة‬ ‫العاملني‬ ‫رب‬ ‫هلل‬ ‫احلمد‬
	 ตามที่ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลรัษฎา จังหวัดภูเก็ต  มีหนังสือขอความเห็นจุฬาราชมนตรี ถึง
หลักปฏิบัติในพิธีละศีลอดเดือนรอมฎอน เพื่อแจ้งกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นให้ทบทวนความ
เห็นซึ่งตอบข้อหารือตามที่จังหวัดภูเก็ต มีหนังสือหารือ ที่ภก. 0037.4/13695 ลงวันที่ 16 กันยายน  
2553 กรณีเทศบาลต�ำบลรัษฎา จัดท�ำโครงการส่งเสริมพิธีละศีลอดเดือนรอมฎอน โดยกรมส่งเสริม
การปกครองท้องถิ่น พิจารณาแล้วเห็นว่า การด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าที่ของเทศบาลต�ำบลในการ
บ�ำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 50 (8) และพระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ�ำนาจ
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (11) ควรเป็นไปในลักษณะการส่งเสริม
และสนับสนุนที่ให้ประโยชน์ บ�ำรุง รักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม
อันดีของท้องถิ่น หรืออ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน อันเป็นการจัดบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์
ของประชาชนในท้องถิ่นของตนตามที่กฎหมายก�ำหนดไว้ เช่น การจัดกิจกรรมในเชิงการให้ความรู้
หรืออนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีของท้องถิ่น ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อ
ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ดังนั้น การที่เทศบาลต�ำบลรัษฎาจัดซื้ออาหารและเครื่องดื่มให้แก่ประชาชน
ในท้องถิ่น เพื่อประกอบพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอนอันเป็นการประกอบพิธีกรรมเฉพาะตัวส�ำหรับ
ผู้นับถือศาสนาอิสลาม จึงไม่อาจถือว่าเป็นการจัดท�ำบริการสาธารณะตามอ�ำนาจหน้าที่ของเทศบาล
และรับรองความเห็นของจังหวัดว่าถูกต้องแล้วนั้น  ส�ำนักจุฬาราชมนตรีมีความเห็นดังนี้
64 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬
	 1.	การประกอบพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอนส�ำหรับผู้นับถือศาสนาอิสลามนั้น ถึงแม้ว่าจะ
เป็นการประกอบพิธีกรรมเฉพาะตัวส�ำหรับบุคคล ที่เข้าเกณฑ์บังคับตามศาสนบัญญัติก็จริง แต่มีข้อ
บัญญัติทางศาสนาส่งเสริมให้ผู้นับถือศาสนาอิสลามร่วมชุมนุมในการประกอบพิธีกรรมดังกล่าว ณ
มัสยิดสถาน อันเป็นศูนย์รวมของชุมชน มีการร่วมแรงและสละเวลาเพื่อการประกอบอาหารส�ำหรับ
การท�ำพิธีละศีลอด ตลอดจนมีการบรรยายศาสนธรรมและให้ความรู้อันเป็นประโยชน์ซึ่งถือเป็นการ
จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่สาธารณชน อีกทั้งมีการร่วมปฏิบัติพิธีละหมาดอันเป็นศาสนกิจหลักของผู้
นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งได้แก่การละหมาดมัฆริบ อิชาอ์และการละหมาดตะรอวีห์ อันเป็นการปฏิบัติ
ศาสนกิจที่จ�ำต้องกระท�ำเป็นหมู่คณะและมีอานิสงส์มาก ดังที่ปรากฏตัวบทในพระวจนะของศาสดา
มูฮัมมัด  และค�ำวินิจฉัยของปวงปราชญ์ในศาสนาอิสลาม ตลอดจนเป็นประเพณีนิยมอันเกี่ยว
เนื่องด้วยศาสนาที่กลุ่มประเทศมุสลิมถือปฏิบัติสืบทอดกันมา ทั้งนี้ บรรยากาศที่ผู้นับถือศาสนา
อิสลามได้กระท�ำให้เป็นที่ประจักษ์จะเกิดขึ้นเฉพาะในเดือนรอมฎอนเป็นกรณีพิเศษซึ่งแตกต่างจาก
เดือนอื่นๆ ในรอบปี ดังนั้น การสนับสนุนงบประมาณเพื่อด�ำเนินการประกอบพิธีละศีลอดจึงเป็นการ
ส่งเสริมและสนับสนุนศาสนาหรือกิจการของศาสนาที่ให้ประโยชน์ต่อชุมชนโดยรวม อีกทั้งยังถือว่า
เป็นการอ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้นับถือศาสนาอิสลามเป็นการทั่วไป ทั้งนี้ ยังอนุโลมได้
ว่าการประกอบพิธีละศีลอดซึ่งนิยมกระท�ำกัน ณ มัสยิดสถานถือเป็นจารีตประเพณีอันเกี่ยวเนื่อง
ด้วยหลักค�ำสอนทางศาสนาและเป็นการสืบสานวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นที่มีผู้นับถือศาสนาอิสลาม
ตั้งชุมชนอาศัยอยู่ ซึ่งเป็นอ�ำนาจหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในการบ�ำรุงรักษา ส่งเสริมและท�ำนุบ�ำรุงอยู่
แล้ว และประชาชนได้รับประโยชน์โดยตรง
	 2.	ตามความเห็นข้อที่ 1 ย่อมเป็นที่ประจักษ์ว่า การประกอบพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอน
เป็นศาสนกิจที่ก่อให้เกิดความสามัคคีของหมู่คณะ เป็นข้อปฏิบัติตามหลักศาสนบัญญัติที่ผูกพัน
เกี่ยวข้องกับสมาชิกในสังคมโดยรวม มิใช่เป็นเพียงการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อของบุคคลใด
บุคคลหนึ่งเป็นการเฉพาะ และการจัดซื้ออาหารและเครื่องดื่ม ถือเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการด�ำเนิน
การเพื่อประกอบพิธีละศีลอดเท่านั้น เพราะโดยข้อเท็จจริง หากมีงบประมาณจ�ำนวนหนึ่งมาสนับสนุน
และส่งเสริมโครงการ ผู้ด�ำเนินโครงการอันได้แก่คณะกรรมการอิสลามประจ�ำมัสยิดย่อมได้รับความ
สะดวกในการบริหารงบประมาณและการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง ซึ่งมิได้มีเฉพาะการละศีลอดเท่านั้น
หากแต่ยังรวมถึงการกระจายเม็ดเงินที่ได้จากงบประมาณสู่ชุมชน มีการรับจ้างประกอบอาหาร มี
การสั่งซื้อผลิตภัณฑ์อาหารคาวและหวาน ทั้งในรูปขนมและผลไม้ซึ่งเป็นผลผลิตของชุมชน จึงถือ
เป็นการกระจายรายได้สู่ชุมชนโดยตรง การมีความเห็นว่าการจัดซื้ออาหารและเครื่องดื่มเป็นเพียง
การด�ำรงชีพปกติของแต่ละคนอยู่แล้ว จึงเป็นการด่วนสรุปที่ไม่อิงกับข้อเท็จจริง ทั้งนี้เพราะโครงการ
ดังกล่าวมีมิติทางสังคมโดยรวมเป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย คือ การลดรายจ่ายของครัวเรือน การ
กระจายรายได้ การจัดกิจกรรมให้ความรู้ทางศาสนา การสร้างความสามัคคี การบ�ำรุงรักษาศิลปะ
ทางโภชนาการและการสืบสานอาหารประจ�ำท้องถิ่น ซึ่งเป็นจารีตนิยมเฉพาะในบางเทศกาล และ
‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 65
ถือเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สั่งสมมายาวนาน การจัดโครงการพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอนจึงมิใช่
เป็นเพียงเรื่องของการกินการดื่มอันเป็นการด�ำรงชีพของแต่ละบุคคลเท่านั้น  แต่ยังถือเป็นการสืบสาน
วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นอันเกี่ยวเนื่องด้วยค�ำสอนของศาสนาทั้งสิ้น การสนับสนุนงบประมาณให้
แก่โครงการประกอบพิธีละศีลอดจึงเป็นการสมควรตามอ�ำนาจหน้าที่ของเทศบาลต�ำบล และองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่ปรากฏในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 50 (8) และ
พระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2542 มาตรา 16 (11) และสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ตามมาตรา 281,
282, 283 และ 289 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี พ.ศ.2550 จึงไม่เป็นการกระท�ำที่ขัด
ด้วยสาระส�ำคัญและเป็นการกระท�ำเกินอ�ำนาจหน้าที่ของผู้อนุมัติงบประมาณแต่อย่างใด
	 3.	ตัวแทนของคณะอนุกรรมการคณะผู้ทรงคุณวุฒิจุฬาราชมนตรี ได้ลงพื้นที่จังหวัดภูเก็ตเพื่อ
สอบถามข้อเท็จจริงจากอิหม่ามประจ�ำมัสยิด คณะกรรมการประจ�ำมัสยิดและสัปปุรุษประจ�ำมัสยิดได้
รับทราบข้อมูลเบื้องต้นว่า นับตั้งแต่มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อด�ำเนินโครงการประกอบพิธีละ
ศีลอดในช่วงที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลามในพื้นที่ไปใน
ทางที่ดีและมีความสัมฤทธิผลเกินคาด เนื่องจากมีผู้นับถือศาสนาอิสลามซึ่งเป็นสัปปุรุษของมัสยิดใน
แต่ละพื้นที่ของจังหวัดภูเก็ตเข้าร่วมพิธีละศีลอด ณ มัสยิดสถาน และประกอบศาสนกิจร่วมกันมาก
ขึ้นกว่าแต่ก่อนอย่างเห็นได้ชัด แต่ละครอบครัวได้พาสมาชิกทั้งชาย หญิง เด็กและผู้ใหญ่มาร่วมใน
โครงการดังกล่าวตลอดช่วงเดือนรอมฎอนของทุกปีที่เคยมีโครงการดังกล่าวด�ำเนินการ ทั้งนี้ แต่
เดิมนิยมท�ำพิธีละศีลอดเป็นการเฉพาะของแต่ละครอบครัว แต่เมื่อมีการด�ำเนินโครงการดังกล่าวได้
เกิดปฏิสัมพันธ์ในเชิงบวกหลายประการ ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นที่กล่าวมาข้างต้น จึงถือได้ว่าการ
ด�ำเนินโครงการดังกล่าวก่อให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมและมีประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรม สมควรที่
จะด�ำเนินโครงการดังกล่าวต่อไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนในพื้นที่ จึงเห็นสมควรให้กรมส่งเสริม
การปกครองท้องถิ่นทบทวนความเห็นใหม่
‫بالصواب‬ ‫اعلم‬ ‫واهلل‬
อาศิส พิทักษ์คุมพล
จุฬาราชมนตรี
* * *

More Related Content

Viewers also liked

الرد على الجهمية - الدارمي
الرد على الجهمية - الدارميالرد على الجهمية - الدارمي
الرد على الجهمية - الدارميOm Muktar
 
الإبانة عن أصول الديانة للإمام أبي الحسن الأشعري
الإبانة عن أصول الديانة للإمام أبي الحسن الأشعريالإبانة عن أصول الديانة للإمام أبي الحسن الأشعري
الإبانة عن أصول الديانة للإمام أبي الحسن الأشعريOm Muktar
 
The Creed of The Imaam of Hadeeth (al-Bukhari)
The Creed of The Imaam of Hadeeth (al-Bukhari)The Creed of The Imaam of Hadeeth (al-Bukhari)
The Creed of The Imaam of Hadeeth (al-Bukhari)Om Muktar
 
The Killing of Alan Henning – Refutation of Mizanur Rahman Abu Baraa
The Killing of Alan Henning – Refutation of Mizanur Rahman Abu BaraaThe Killing of Alan Henning – Refutation of Mizanur Rahman Abu Baraa
The Killing of Alan Henning – Refutation of Mizanur Rahman Abu BaraaOm Muktar
 
Who Owns the Universal Rights to the Terms “Moderation” or “Moderate Muslim”?
Who Owns the Universal Rights to the Terms “Moderation” or “Moderate Muslim”?Who Owns the Universal Rights to the Terms “Moderation” or “Moderate Muslim”?
Who Owns the Universal Rights to the Terms “Moderation” or “Moderate Muslim”?Om Muktar
 
Where is Allah?
Where is Allah?Where is Allah?
Where is Allah?Om Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การค้างแรม (มะบีต) ที่มินา อัล ญะดีดะฮ์และข...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การค้างแรม (มะบีต) ที่มินา อัล ญะดีดะฮ์และข...คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การค้างแรม (มะบีต) ที่มินา อัล ญะดีดะฮ์และข...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การค้างแรม (มะบีต) ที่มินา อัล ญะดีดะฮ์และข...Om Muktar
 
(تكحيل العين بجواز السؤال عن الله بـ (أين
(تكحيل العين بجواز السؤال عن الله بـ (أين (تكحيل العين بجواز السؤال عن الله بـ (أين
(تكحيل العين بجواز السؤال عن الله بـ (أين Om Muktar
 
ابن خلدون وآراؤه الاعتقادية عرض ونقد
ابن خلدون وآراؤه الاعتقادية عرض ونقدابن خلدون وآراؤه الاعتقادية عرض ونقد
ابن خلدون وآراؤه الاعتقادية عرض ونقدOm Muktar
 
الأجوبة المفيدة عن أسئلة المناهج الجديدة
الأجوبة المفيدة عن أسئلة المناهج الجديدةالأجوبة المفيدة عن أسئلة المناهج الجديدة
الأجوبة المفيدة عن أسئلة المناهج الجديدةOm Muktar
 
السيوف الباترة لإلحاد الشيوعية الكافرة
السيوف الباترة لإلحاد الشيوعية الكافرةالسيوف الباترة لإلحاد الشيوعية الكافرة
السيوف الباترة لإلحاد الشيوعية الكافرةOm Muktar
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةOm Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : กาแฟขี้ช้าง
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : กาแฟขี้ช้างคำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : กาแฟขี้ช้าง
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : กาแฟขี้ช้างOm Muktar
 
الرد على القرضاوي والجديع والثقفي والمرعشلي
الرد على القرضاوي والجديع والثقفي والمرعشليالرد على القرضاوي والجديع والثقفي والمرعشلي
الرد على القرضاوي والجديع والثقفي والمرعشليOm Muktar
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمةOm Muktar
 
วิเคราะห์ปัญหา บิดา-มารดาท่านนะบีย์เป็นชาวนรกหรือ? (ภาษาไทย)
วิเคราะห์ปัญหา บิดา-มารดาท่านนะบีย์เป็นชาวนรกหรือ? (ภาษาไทย)วิเคราะห์ปัญหา บิดา-มารดาท่านนะบีย์เป็นชาวนรกหรือ? (ภาษาไทย)
วิเคราะห์ปัญหา บิดา-มารดาท่านนะบีย์เป็นชาวนรกหรือ? (ภาษาไทย)Om Muktar
 
أشراط الساعة
أشراط الساعةأشراط الساعة
أشراط الساعةOm Muktar
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةOm Muktar
 
The relationship between the ulama and the government in the contemporary Sau...
The relationship between the ulama and the government in the contemporary Sau...The relationship between the ulama and the government in the contemporary Sau...
The relationship between the ulama and the government in the contemporary Sau...Om Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคโปลิโอและโรคอื่นๆ
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคโปลิโอและโรคอื่นๆคำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคโปลิโอและโรคอื่นๆ
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคโปลิโอและโรคอื่นๆOm Muktar
 

Viewers also liked (20)

الرد على الجهمية - الدارمي
الرد على الجهمية - الدارميالرد على الجهمية - الدارمي
الرد على الجهمية - الدارمي
 
الإبانة عن أصول الديانة للإمام أبي الحسن الأشعري
الإبانة عن أصول الديانة للإمام أبي الحسن الأشعريالإبانة عن أصول الديانة للإمام أبي الحسن الأشعري
الإبانة عن أصول الديانة للإمام أبي الحسن الأشعري
 
The Creed of The Imaam of Hadeeth (al-Bukhari)
The Creed of The Imaam of Hadeeth (al-Bukhari)The Creed of The Imaam of Hadeeth (al-Bukhari)
The Creed of The Imaam of Hadeeth (al-Bukhari)
 
The Killing of Alan Henning – Refutation of Mizanur Rahman Abu Baraa
The Killing of Alan Henning – Refutation of Mizanur Rahman Abu BaraaThe Killing of Alan Henning – Refutation of Mizanur Rahman Abu Baraa
The Killing of Alan Henning – Refutation of Mizanur Rahman Abu Baraa
 
Who Owns the Universal Rights to the Terms “Moderation” or “Moderate Muslim”?
Who Owns the Universal Rights to the Terms “Moderation” or “Moderate Muslim”?Who Owns the Universal Rights to the Terms “Moderation” or “Moderate Muslim”?
Who Owns the Universal Rights to the Terms “Moderation” or “Moderate Muslim”?
 
Where is Allah?
Where is Allah?Where is Allah?
Where is Allah?
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การค้างแรม (มะบีต) ที่มินา อัล ญะดีดะฮ์และข...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การค้างแรม (มะบีต) ที่มินา อัล ญะดีดะฮ์และข...คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การค้างแรม (มะบีต) ที่มินา อัล ญะดีดะฮ์และข...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การค้างแรม (มะบีต) ที่มินา อัล ญะดีดะฮ์และข...
 
(تكحيل العين بجواز السؤال عن الله بـ (أين
(تكحيل العين بجواز السؤال عن الله بـ (أين (تكحيل العين بجواز السؤال عن الله بـ (أين
(تكحيل العين بجواز السؤال عن الله بـ (أين
 
ابن خلدون وآراؤه الاعتقادية عرض ونقد
ابن خلدون وآراؤه الاعتقادية عرض ونقدابن خلدون وآراؤه الاعتقادية عرض ونقد
ابن خلدون وآراؤه الاعتقادية عرض ونقد
 
الأجوبة المفيدة عن أسئلة المناهج الجديدة
الأجوبة المفيدة عن أسئلة المناهج الجديدةالأجوبة المفيدة عن أسئلة المناهج الجديدة
الأجوبة المفيدة عن أسئلة المناهج الجديدة
 
السيوف الباترة لإلحاد الشيوعية الكافرة
السيوف الباترة لإلحاد الشيوعية الكافرةالسيوف الباترة لإلحاد الشيوعية الكافرة
السيوف الباترة لإلحاد الشيوعية الكافرة
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : กาแฟขี้ช้าง
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : กาแฟขี้ช้างคำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : กาแฟขี้ช้าง
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : กาแฟขี้ช้าง
 
الرد على القرضاوي والجديع والثقفي والمرعشلي
الرد على القرضاوي والجديع والثقفي والمرعشليالرد على القرضاوي والجديع والثقفي والمرعشلي
الرد على القرضاوي والجديع والثقفي والمرعشلي
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
วิเคราะห์ปัญหา บิดา-มารดาท่านนะบีย์เป็นชาวนรกหรือ? (ภาษาไทย)
วิเคราะห์ปัญหา บิดา-มารดาท่านนะบีย์เป็นชาวนรกหรือ? (ภาษาไทย)วิเคราะห์ปัญหา บิดา-มารดาท่านนะบีย์เป็นชาวนรกหรือ? (ภาษาไทย)
วิเคราะห์ปัญหา บิดา-มารดาท่านนะบีย์เป็นชาวนรกหรือ? (ภาษาไทย)
 
أشراط الساعة
أشراط الساعةأشراط الساعة
أشراط الساعة
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
The relationship between the ulama and the government in the contemporary Sau...
The relationship between the ulama and the government in the contemporary Sau...The relationship between the ulama and the government in the contemporary Sau...
The relationship between the ulama and the government in the contemporary Sau...
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคโปลิโอและโรคอื่นๆ
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคโปลิโอและโรคอื่นๆคำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคโปลิโอและโรคอื่นๆ
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคโปลิโอและโรคอื่นๆ
 

More from Om Muktar

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمOm Muktar
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىOm Muktar
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةOm Muktar
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانOm Muktar
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Om Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่Om Muktar
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Om Muktar
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Om Muktar
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةOm Muktar
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلاميةOm Muktar
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيOm Muktar
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيOm Muktar
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...Om Muktar
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدOm Muktar
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويمOm Muktar
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريOm Muktar
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةOm Muktar
 
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةموقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةOm Muktar
 
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدمنازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدOm Muktar
 

More from Om Muktar (20)

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
 
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةموقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
 
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدمنازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
 

คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การจัดทำโครงการส่งเสริมพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอน

  • 1. ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 63 ค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี ที่ 12/2556 เรื่อง การจัดท�ำโครงการส่งเสริมพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอน ค�ำถาม : การจัดท�ำโครงการส่งเสริมพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอนขัดกับ เจตนารมณ์ของกฎหมายปกครองท้องถิ่นหรือไม่อย่างไรตามทัศนะอิสลาม ? ค�ำวินิจฉัย : ‫وبعد‬ ... ‫أمجعني‬ ‫وصحابته‬ ‫آله‬ ‫وعلى‬ ‫حممد‬ ‫سيدنا‬ ‫على‬ ‫والسالم‬ ‫والصالة‬ ‫العاملني‬ ‫رب‬ ‫هلل‬ ‫احلمد‬ ตามที่ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลรัษฎา จังหวัดภูเก็ต มีหนังสือขอความเห็นจุฬาราชมนตรี ถึง หลักปฏิบัติในพิธีละศีลอดเดือนรอมฎอน เพื่อแจ้งกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นให้ทบทวนความ เห็นซึ่งตอบข้อหารือตามที่จังหวัดภูเก็ต มีหนังสือหารือ ที่ภก. 0037.4/13695 ลงวันที่ 16 กันยายน 2553 กรณีเทศบาลต�ำบลรัษฎา จัดท�ำโครงการส่งเสริมพิธีละศีลอดเดือนรอมฎอน โดยกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น พิจารณาแล้วเห็นว่า การด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าที่ของเทศบาลต�ำบลในการ บ�ำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 50 (8) และพระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ�ำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (11) ควรเป็นไปในลักษณะการส่งเสริม และสนับสนุนที่ให้ประโยชน์ บ�ำรุง รักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม อันดีของท้องถิ่น หรืออ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน อันเป็นการจัดบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ ของประชาชนในท้องถิ่นของตนตามที่กฎหมายก�ำหนดไว้ เช่น การจัดกิจกรรมในเชิงการให้ความรู้ หรืออนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีของท้องถิ่น ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อ ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ดังนั้น การที่เทศบาลต�ำบลรัษฎาจัดซื้ออาหารและเครื่องดื่มให้แก่ประชาชน ในท้องถิ่น เพื่อประกอบพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอนอันเป็นการประกอบพิธีกรรมเฉพาะตัวส�ำหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลาม จึงไม่อาจถือว่าเป็นการจัดท�ำบริการสาธารณะตามอ�ำนาจหน้าที่ของเทศบาล และรับรองความเห็นของจังหวัดว่าถูกต้องแล้วนั้น ส�ำนักจุฬาราชมนตรีมีความเห็นดังนี้
  • 2. 64 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ 1. การประกอบพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอนส�ำหรับผู้นับถือศาสนาอิสลามนั้น ถึงแม้ว่าจะ เป็นการประกอบพิธีกรรมเฉพาะตัวส�ำหรับบุคคล ที่เข้าเกณฑ์บังคับตามศาสนบัญญัติก็จริง แต่มีข้อ บัญญัติทางศาสนาส่งเสริมให้ผู้นับถือศาสนาอิสลามร่วมชุมนุมในการประกอบพิธีกรรมดังกล่าว ณ มัสยิดสถาน อันเป็นศูนย์รวมของชุมชน มีการร่วมแรงและสละเวลาเพื่อการประกอบอาหารส�ำหรับ การท�ำพิธีละศีลอด ตลอดจนมีการบรรยายศาสนธรรมและให้ความรู้อันเป็นประโยชน์ซึ่งถือเป็นการ จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่สาธารณชน อีกทั้งมีการร่วมปฏิบัติพิธีละหมาดอันเป็นศาสนกิจหลักของผู้ นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งได้แก่การละหมาดมัฆริบ อิชาอ์และการละหมาดตะรอวีห์ อันเป็นการปฏิบัติ ศาสนกิจที่จ�ำต้องกระท�ำเป็นหมู่คณะและมีอานิสงส์มาก ดังที่ปรากฏตัวบทในพระวจนะของศาสดา มูฮัมมัด  และค�ำวินิจฉัยของปวงปราชญ์ในศาสนาอิสลาม ตลอดจนเป็นประเพณีนิยมอันเกี่ยว เนื่องด้วยศาสนาที่กลุ่มประเทศมุสลิมถือปฏิบัติสืบทอดกันมา ทั้งนี้ บรรยากาศที่ผู้นับถือศาสนา อิสลามได้กระท�ำให้เป็นที่ประจักษ์จะเกิดขึ้นเฉพาะในเดือนรอมฎอนเป็นกรณีพิเศษซึ่งแตกต่างจาก เดือนอื่นๆ ในรอบปี ดังนั้น การสนับสนุนงบประมาณเพื่อด�ำเนินการประกอบพิธีละศีลอดจึงเป็นการ ส่งเสริมและสนับสนุนศาสนาหรือกิจการของศาสนาที่ให้ประโยชน์ต่อชุมชนโดยรวม อีกทั้งยังถือว่า เป็นการอ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้นับถือศาสนาอิสลามเป็นการทั่วไป ทั้งนี้ ยังอนุโลมได้ ว่าการประกอบพิธีละศีลอดซึ่งนิยมกระท�ำกัน ณ มัสยิดสถานถือเป็นจารีตประเพณีอันเกี่ยวเนื่อง ด้วยหลักค�ำสอนทางศาสนาและเป็นการสืบสานวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นที่มีผู้นับถือศาสนาอิสลาม ตั้งชุมชนอาศัยอยู่ ซึ่งเป็นอ�ำนาจหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในการบ�ำรุงรักษา ส่งเสริมและท�ำนุบ�ำรุงอยู่ แล้ว และประชาชนได้รับประโยชน์โดยตรง 2. ตามความเห็นข้อที่ 1 ย่อมเป็นที่ประจักษ์ว่า การประกอบพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอน เป็นศาสนกิจที่ก่อให้เกิดความสามัคคีของหมู่คณะ เป็นข้อปฏิบัติตามหลักศาสนบัญญัติที่ผูกพัน เกี่ยวข้องกับสมาชิกในสังคมโดยรวม มิใช่เป็นเพียงการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อของบุคคลใด บุคคลหนึ่งเป็นการเฉพาะ และการจัดซื้ออาหารและเครื่องดื่ม ถือเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการด�ำเนิน การเพื่อประกอบพิธีละศีลอดเท่านั้น เพราะโดยข้อเท็จจริง หากมีงบประมาณจ�ำนวนหนึ่งมาสนับสนุน และส่งเสริมโครงการ ผู้ด�ำเนินโครงการอันได้แก่คณะกรรมการอิสลามประจ�ำมัสยิดย่อมได้รับความ สะดวกในการบริหารงบประมาณและการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง ซึ่งมิได้มีเฉพาะการละศีลอดเท่านั้น หากแต่ยังรวมถึงการกระจายเม็ดเงินที่ได้จากงบประมาณสู่ชุมชน มีการรับจ้างประกอบอาหาร มี การสั่งซื้อผลิตภัณฑ์อาหารคาวและหวาน ทั้งในรูปขนมและผลไม้ซึ่งเป็นผลผลิตของชุมชน จึงถือ เป็นการกระจายรายได้สู่ชุมชนโดยตรง การมีความเห็นว่าการจัดซื้ออาหารและเครื่องดื่มเป็นเพียง การด�ำรงชีพปกติของแต่ละคนอยู่แล้ว จึงเป็นการด่วนสรุปที่ไม่อิงกับข้อเท็จจริง ทั้งนี้เพราะโครงการ ดังกล่าวมีมิติทางสังคมโดยรวมเป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย คือ การลดรายจ่ายของครัวเรือน การ กระจายรายได้ การจัดกิจกรรมให้ความรู้ทางศาสนา การสร้างความสามัคคี การบ�ำรุงรักษาศิลปะ ทางโภชนาการและการสืบสานอาหารประจ�ำท้องถิ่น ซึ่งเป็นจารีตนิยมเฉพาะในบางเทศกาล และ
  • 3. ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 65 ถือเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สั่งสมมายาวนาน การจัดโครงการพิธีละศีลอดในเดือนรอมฎอนจึงมิใช่ เป็นเพียงเรื่องของการกินการดื่มอันเป็นการด�ำรงชีพของแต่ละบุคคลเท่านั้น แต่ยังถือเป็นการสืบสาน วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นอันเกี่ยวเนื่องด้วยค�ำสอนของศาสนาทั้งสิ้น การสนับสนุนงบประมาณให้ แก่โครงการประกอบพิธีละศีลอดจึงเป็นการสมควรตามอ�ำนาจหน้าที่ของเทศบาลต�ำบล และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่ปรากฏในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 50 (8) และ พระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (11) และสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ตามมาตรา 281, 282, 283 และ 289 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี พ.ศ.2550 จึงไม่เป็นการกระท�ำที่ขัด ด้วยสาระส�ำคัญและเป็นการกระท�ำเกินอ�ำนาจหน้าที่ของผู้อนุมัติงบประมาณแต่อย่างใด 3. ตัวแทนของคณะอนุกรรมการคณะผู้ทรงคุณวุฒิจุฬาราชมนตรี ได้ลงพื้นที่จังหวัดภูเก็ตเพื่อ สอบถามข้อเท็จจริงจากอิหม่ามประจ�ำมัสยิด คณะกรรมการประจ�ำมัสยิดและสัปปุรุษประจ�ำมัสยิดได้ รับทราบข้อมูลเบื้องต้นว่า นับตั้งแต่มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อด�ำเนินโครงการประกอบพิธีละ ศีลอดในช่วงที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลามในพื้นที่ไปใน ทางที่ดีและมีความสัมฤทธิผลเกินคาด เนื่องจากมีผู้นับถือศาสนาอิสลามซึ่งเป็นสัปปุรุษของมัสยิดใน แต่ละพื้นที่ของจังหวัดภูเก็ตเข้าร่วมพิธีละศีลอด ณ มัสยิดสถาน และประกอบศาสนกิจร่วมกันมาก ขึ้นกว่าแต่ก่อนอย่างเห็นได้ชัด แต่ละครอบครัวได้พาสมาชิกทั้งชาย หญิง เด็กและผู้ใหญ่มาร่วมใน โครงการดังกล่าวตลอดช่วงเดือนรอมฎอนของทุกปีที่เคยมีโครงการดังกล่าวด�ำเนินการ ทั้งนี้ แต่ เดิมนิยมท�ำพิธีละศีลอดเป็นการเฉพาะของแต่ละครอบครัว แต่เมื่อมีการด�ำเนินโครงการดังกล่าวได้ เกิดปฏิสัมพันธ์ในเชิงบวกหลายประการ ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นที่กล่าวมาข้างต้น จึงถือได้ว่าการ ด�ำเนินโครงการดังกล่าวก่อให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมและมีประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรม สมควรที่ จะด�ำเนินโครงการดังกล่าวต่อไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนในพื้นที่ จึงเห็นสมควรให้กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่นทบทวนความเห็นใหม่ ‫بالصواب‬ ‫اعلم‬ ‫واهلل‬ อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี * * *