SlideShare a Scribd company logo
1. แบบจำลอง OSI Model
ในปี ค.ศ.1977 องค์กร ISO (International Organization for
Standard) ได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อทาการศึกษาจัดรูปแบบ
จัดรูปแบบมาตรฐาน และพัฒนาสถาปัตยกรรมเครือข่าย และในปี ค.ศ.1983
ค.ศ.1983 องค์กร ISO ก็ได้ออกประกาศรูปแบบของสถาปัตยกรรมเครือข่าย
เครือข่ายมาตรฐานในชื่อของ "รูปแบบ OSI" (Open Systems
Interconnection Model) เพื่อใช้เป็นรูปแบบมาตรฐานในการเชื่อมต่อระบบ
ระบบคอมพิวเตอร์ อักษร "O" หรือ " Open" ก็หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์หรือ
หรือระบบคอมพิวเตอร์หนึ่ง สามารถ "เปิด" กว้างให้คอมพิวเตอร์หรือระบบ
คอมพิวเตอร์อื่นที่ใช้มาตรฐาน OSI เหมือนกันสามารถติดต่อไปมาหาสู่ระหว่าง
ระหว่างกันได้
จุดมุ่งหมายของ ISO Reference Model คือ การกาหนดโครงร่าง สาหรับ
สาหรับ การกาหนด มาตรฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับระบบ เพื่อให้มาตรฐานเดิม
ที่มีอยู่กับมาตรฐานอื่น ๆ ที่จะเข้ามาเกี่ยวข้อง ได้ดาเนินไปในทิศทาง
เดียวกัน หรืออีกนัยหนึ่งคือ การอนุญาตให้โปรแกรมใช้งานต่างๆ ใน
คอมพิวเตอร์ที่ ดาเนินการตามมาตรฐานที่ตั้งไว้ ได้ดาเนินการติดต่อกับ
โปรแกรมที่อยู่ในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ที่อยู่ภาย ใต้มาตรฐานเดียวกัน ได้
โดยอิสระโดยไม่ต้องคานึง ถึงว่าโปรแกรมนั้นจะมาจากบริษัทผู้ผิิตใด
ตัวอย่างโปรแกรมต่าง ๆ ที่ต้องมีการติดต่อสื่อสารโดยวิธีการของ
ระบบเปิด ได้แก่
1. โปรแกรมที่ต้องการเข้าถึงข้อมูิที่อยู่ในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น
แิ้วนาประมวิผิในเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่โปรแกรมนั้นอยู่
2. โปรแกรมที่ทาหน้าที่เสมือนเป็นตัวบริการฐานข้อมูิ (Server)
สาหรับโปรแกรมอื่น ๆ ใน ระบบ ประมวิผิแบบกระจาย (Distribued)
3. โปรแกรมที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเครือข่ายแิ้วต้องการ
ใช้บริการจดหมายอิเิคทรอนิกส์
4. โปรแกรมที่ทาหน้าที่เป็นศูนย์กิาง การให้บริการจดหมาย
อิเิ็กทรอนิกส์แก่โปรแกรมอื่น ๆ ในระบบการประมวิผิแบบกระจาย
(Distributed)
5. โปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุมโปรแกรมอื่น ในงานเกี่ยวกับการ
ควบคุมเครื่องจักรกิ หรือ อุปกรณ์ ที่ ใช้ในคอมพิวเตอร์
6. โปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุมเครื่องจักรกิหรืออุปกรณ์ที่ใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์ ขณะกาิัง รับ สั่ง จากโปรแกรมควบคุมอีกชั้นหนึ่ง
7. โปรแกรมที่อยู่ศูนย์กิางธนาคาร ขณะทาหน้าที่ปรุงยอดบัญชี
ของิูกค้า ที่อยู่ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ใน เครือข่ายระยะไกิความหมาย
ของ ISO จะอยู่ที่การแิกเปิี่ยนข้อมูิ ระหว่าง โปรแกรม ต่าง ๆ เหิ่านั้น
โดยจะอานวยความสะดวกให้แต่ิะโปรแกรมให้สามารถรับ - ส่งข้อมูิที่
ต้องการได้ โดยไม่ต้อง คานึงถึงว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ที่กาิังประมวิผิ
นั้นมีิักษณะทาง Hardware เช่นใด
1.1 โครงสร้ำงของสถำปัตยกรรมรูปแบบ OSI
สามารถการแบ่งออกเป็น 7 เิเยอร์ แิะในแต่ิะเิเยอร์ได้มีการกาหนด
หน้าที่การทางานไว้ดังต่อไปนี้
1.เิเยอร์ชั้น Physical เป็นชั้นิ่างสุดของการติดต่อสื่อสาร ทา
หน้าที่ส่ง-รับข้อมูิจริง ๆ จากช่องทางการสื่อสาร (สื่อกิาง) ระหว่าง
คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ มาตรฐานสาหรับเิ
เยอร์ชั้นนี้จะกาหนดว่า แต่ิะ คอนเนคเตอร์ (Connector) เช่น RS-232-C
มีกี่พิน (PIN) แต่ิะพินทาหน้าที่อะไรบ้าง ใช้สัญญาณไฟกี่โวิต์ เทคนิค
การมัิติเพิ็กซ์แบบต่าง ๆ ก็จะถูกกาหนดอยู่ในเิเยอร์ชั้นนี้
2. เิเยอร์ชั้น Data Link จะเป็นเสมือนผู้ตรวจสอบ หรือควบคุม
ความผิดพิาด ในข้อมูิโดยจะแบ่งข้อมูิที่จะส่งออก เป็นแพ็กเกจหรือ
เฟรม ถ้าผู้รับได้รับข้อมูิถูกต้องก็จะส่งสัญญาณยืนยันกิับว่าได้รับข้อมูิ
แิ้ว เรียกว่าสัญญาณ ACK (Acknowledge) ให้กับผู้ส่ง
แต่ถ้าผู้ส่งไม่ได้รับสัญญาณ ACK หรือได้รับสัญญาณ NAK (Negative
Acknowledge) กิับมา ผู้ส่งก็อาจจะทาการส่งข้อมูิไปให้ใหม่ อีกหน้าที่
หนึ่งของเิเยอร์ชั้นนี้คือ ป้ องกันไม่ให้เครื่องส่งทาการส่งข้อมูิเร็วจนเกิดขีด
ความสามารถ จนเเครื่องผู้รับจะรับข้อมูิได้
3. เิเยอร์ชั้น Network เป็นชั้นที่ออกแบบหรือกาหนดเส้นทางการ
เดินทางของข้อมูิที่ส่ง-รับในการส่งผ่าน ข้อมูิระหว่างต้นทางแิะ
ปิายทาง ซึ่งแน่นอนว่าในการสื่อสารข้อมูิผ่านเครือข่ายการสื่อสาร
จะต้องเส้นทางการรับ-ส่งข้อมูิมากกว่า 1 เส้นทาง ดังนั้นเิเยอร์ชั้น
Network นี้จะมีหน้าที่เิือกเส้นทางที่ใช้เวิาในการสื่อสารน้อยที่สุด แิะ
ระยะทางสั้นที่สุดด้วย ข่าวสารที่รับมาจากเิเยอร์ชั้นที่ 4 จะถูกแบ่ง
ออกเป็นแพ็กเกจ ๆ ในชั้นที่ 3 นี้
4. เิเยอร์ชั้น Transport บางครั้งเรียกว่า เิเยอร์ชั้น Host-to-Host
หรือเครื่องต่อเครื่อง แิะจากเิเยอร์ชั้นที่ 4 ถึงชั้นที่ 7 นี้รวมกันจะเรียกว่า
เิเยอร์ End-to-End ในเิเยอร์ชั้น Transport นี้เป็นการสื่อสารกันระหว่าง
ต้นทางแิะปิายทาง (คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์) กันจริง ๆ เิเยอร์ชั้น
Transport จะทาหน้าที่ตรวจสอบว่าข้อมูิที่ส่งมาจากเิเยอร์ชั้น Session
นั้นไปถึงปิายทางจริง ๆ หรือไม่ ดังนั้นการกาหนดตาแหน่งของข้อมูิ
(Address) จึงเป็นเรื่องสาคัญในชั้นนี้เนื่องจากจะต้องรับรู้ว่าใครคือผู้ส่ง
แิะใครคือผู้รับข้อมูินั้น
5. เิเยอร์ชั้น Session ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับ
คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ โดยผู้ใช้จะใช้คาสั่งหรือข้อความที่กาหนดไว้
ป้ อนเข้าไปในระบบ ในการสร้างการเชื่อมโยงนี้ผู้ใช้จะต้องกาหนดรหัส
ตาแหน่งของจุดหมายปิายทาง
ที่ต้องการติดต่อสื่อสารด้วย เิเยอร์ชั้น Session จะส่งข้อมูิทั้งหมด
ให้กับเิเยอร์ชั้น Transport เป็นผู้จัดการต่อไป ในบางเครือข่ายทั้งเิเยอร์
Session แิะเิเยอร์ Transport อาจจะเป็นเิเยอร์ชั้นเดียวกัน
6. เิเยอร์ชั้น Presentation ทาหน้าที่เหมือนบรรณารักษ์ กิ่าวคือ
คอยรวบรวมข้อความ (Text) แิะแปิงรหัส หรือแปิงรูปของข้อมูิให้เป็น
รูปแบบการสื่อสารเดียวกัน เพื่อช่วยิดปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับ
ผู้ใช้งานในระบบ
7. เิเยอร์ชั้น Application เป็นเิเยอร์ชั้นบนสุดของรูปแบบ OSI
ซึ่งเป็นชั้นที่ใช้ติดต่อกันระหว่างผู้ใช้โดยตรง ซึ่งได้แก่ โฮสต์คอมพิวเตอร์
เทอร์มินัิหรือคอมพิวเตอร์ PC เป็นต้น แอปพิิเคชันในเิเยอร์ชั้นนี้สาร
มารถนาเข้าหรือออกจากระบบเครือข่ายได้โดยไม่จาเป็นต้องสนใจว่าจะมี
ขั้นตอนการทางานอย่างไร
เพราะจะมีเิเยอร์ชั้น Presentation เป็นผู้รับผิดชอบแทนอยู่แิ้ว ใน
รูปแบบ OSI เิเยอร์นั้น Application จะทาการติดต่อกับเิเยอร์ชั้น
Presentation โดยตรงเท่านั้น โปรโตคอิของในแต่ิะชั้นจะแตกต่างกัน
ออกไป แต่อย่างไรก็ตามการที่เครื่องคอมพิวเตอร์ หิาย ๆ เครื่องจะ
ติดต่อสื่อสารกันได้ ในแต่ิะเิเยอร์ของแต่ิะเครื่องจะต้องใช้โปรโตคอิ
แบบเดียวกัน หรือถ้าใช้โปรโตคอิต่างกันก็ต้องมีอุปกรณ์ หรือซอฟร์แวร์ที่
สามารถแปิงโปรโตคอิที่ต่างกันนั้นให้มีรูปแบบเป็นอย่างเดียวกัน เพื่อ
เชื่อมโยงให้คอมพิวเตอร์ทั้ง 2 เครื่องสามารถติดต่อกันได้

More Related Content

Similar to 1. แบบจำลอง OSI Model

โครงงานคอม57
โครงงานคอม57โครงงานคอม57
โครงงานคอม57
ตัวละคร สมมติ
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
Khon Kaen University
 
OSI Reference Model 7 Layers
OSI Reference Model 7 LayersOSI Reference Model 7 Layers
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
Ta Khanittha
 
Ubuntu server book
Ubuntu server bookUbuntu server book
Ubuntu server bookRose Banioki
 
แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง OsiPituk Sense
 
แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง OsiPituk Sense
 
Number2
Number2Number2
Number2
Pungpond Ido
 

Similar to 1. แบบจำลอง OSI Model (12)

โครงงานคอม57
โครงงานคอม57โครงงานคอม57
โครงงานคอม57
 
Bweb
BwebBweb
Bweb
 
Mission1
Mission1Mission1
Mission1
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 
OSI Reference Model 7 Layers
OSI Reference Model 7 LayersOSI Reference Model 7 Layers
OSI Reference Model 7 Layers
 
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
 
Ubuntu server book
Ubuntu server bookUbuntu server book
Ubuntu server book
 
แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osi
 
แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osi
 
1
11
1
 
1
11
1
 
Number2
Number2Number2
Number2
 

More from Ta Khanittha

หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
Ta Khanittha
 
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่ายหน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
Ta Khanittha
 
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่ายหน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
Ta Khanittha
 
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XPหน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
Ta Khanittha
 
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายหน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
Ta Khanittha
 
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายหน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
Ta Khanittha
 
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Ta Khanittha
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Ta Khanittha
 
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
Ta Khanittha
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
Ta Khanittha
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
Ta Khanittha
 
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
Ta Khanittha
 
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
Ta Khanittha
 
2. ชนิดของเครือข่าย
2. ชนิดของเครือข่าย2. ชนิดของเครือข่าย
2. ชนิดของเครือข่าย
Ta Khanittha
 
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
Ta Khanittha
 

More from Ta Khanittha (15)

หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 9 ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่ายหน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 8 การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาของระบบเครือข่าย
 
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่ายหน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
หน่วยที่ 7 การแชร์ไฟล์และเครื่องพิมพ์บนเครือข่าย
 
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XPหน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
หน่วยที่ 6 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเวิร์กกรุ๊ป ด้วย Windows XP
 
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายหน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
หน่วยที่ 5 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
 
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายหน่วยที่ 4  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
หน่วยที่ 4 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
 
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
3. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
 
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางการทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
การทดสอบการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
 
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
2. การสร้างชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
 
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
 
2. ชนิดของเครือข่าย
2. ชนิดของเครือข่าย2. ชนิดของเครือข่าย
2. ชนิดของเครือข่าย
 
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
 

1. แบบจำลอง OSI Model

  • 1.
  • 2. 1. แบบจำลอง OSI Model ในปี ค.ศ.1977 องค์กร ISO (International Organization for Standard) ได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อทาการศึกษาจัดรูปแบบ จัดรูปแบบมาตรฐาน และพัฒนาสถาปัตยกรรมเครือข่าย และในปี ค.ศ.1983 ค.ศ.1983 องค์กร ISO ก็ได้ออกประกาศรูปแบบของสถาปัตยกรรมเครือข่าย เครือข่ายมาตรฐานในชื่อของ "รูปแบบ OSI" (Open Systems Interconnection Model) เพื่อใช้เป็นรูปแบบมาตรฐานในการเชื่อมต่อระบบ ระบบคอมพิวเตอร์ อักษร "O" หรือ " Open" ก็หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์หรือ หรือระบบคอมพิวเตอร์หนึ่ง สามารถ "เปิด" กว้างให้คอมพิวเตอร์หรือระบบ คอมพิวเตอร์อื่นที่ใช้มาตรฐาน OSI เหมือนกันสามารถติดต่อไปมาหาสู่ระหว่าง ระหว่างกันได้
  • 3. จุดมุ่งหมายของ ISO Reference Model คือ การกาหนดโครงร่าง สาหรับ สาหรับ การกาหนด มาตรฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับระบบ เพื่อให้มาตรฐานเดิม ที่มีอยู่กับมาตรฐานอื่น ๆ ที่จะเข้ามาเกี่ยวข้อง ได้ดาเนินไปในทิศทาง เดียวกัน หรืออีกนัยหนึ่งคือ การอนุญาตให้โปรแกรมใช้งานต่างๆ ใน คอมพิวเตอร์ที่ ดาเนินการตามมาตรฐานที่ตั้งไว้ ได้ดาเนินการติดต่อกับ โปรแกรมที่อยู่ในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ที่อยู่ภาย ใต้มาตรฐานเดียวกัน ได้ โดยอิสระโดยไม่ต้องคานึง ถึงว่าโปรแกรมนั้นจะมาจากบริษัทผู้ผิิตใด ตัวอย่างโปรแกรมต่าง ๆ ที่ต้องมีการติดต่อสื่อสารโดยวิธีการของ ระบบเปิด ได้แก่ 1. โปรแกรมที่ต้องการเข้าถึงข้อมูิที่อยู่ในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น แิ้วนาประมวิผิในเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่โปรแกรมนั้นอยู่
  • 4. 2. โปรแกรมที่ทาหน้าที่เสมือนเป็นตัวบริการฐานข้อมูิ (Server) สาหรับโปรแกรมอื่น ๆ ใน ระบบ ประมวิผิแบบกระจาย (Distribued) 3. โปรแกรมที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเครือข่ายแิ้วต้องการ ใช้บริการจดหมายอิเิคทรอนิกส์ 4. โปรแกรมที่ทาหน้าที่เป็นศูนย์กิาง การให้บริการจดหมาย อิเิ็กทรอนิกส์แก่โปรแกรมอื่น ๆ ในระบบการประมวิผิแบบกระจาย (Distributed) 5. โปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุมโปรแกรมอื่น ในงานเกี่ยวกับการ ควบคุมเครื่องจักรกิ หรือ อุปกรณ์ ที่ ใช้ในคอมพิวเตอร์
  • 5. 6. โปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุมเครื่องจักรกิหรืออุปกรณ์ที่ใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ ขณะกาิัง รับ สั่ง จากโปรแกรมควบคุมอีกชั้นหนึ่ง 7. โปรแกรมที่อยู่ศูนย์กิางธนาคาร ขณะทาหน้าที่ปรุงยอดบัญชี ของิูกค้า ที่อยู่ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ใน เครือข่ายระยะไกิความหมาย ของ ISO จะอยู่ที่การแิกเปิี่ยนข้อมูิ ระหว่าง โปรแกรม ต่าง ๆ เหิ่านั้น โดยจะอานวยความสะดวกให้แต่ิะโปรแกรมให้สามารถรับ - ส่งข้อมูิที่ ต้องการได้ โดยไม่ต้อง คานึงถึงว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ที่กาิังประมวิผิ นั้นมีิักษณะทาง Hardware เช่นใด
  • 7. สามารถการแบ่งออกเป็น 7 เิเยอร์ แิะในแต่ิะเิเยอร์ได้มีการกาหนด หน้าที่การทางานไว้ดังต่อไปนี้ 1.เิเยอร์ชั้น Physical เป็นชั้นิ่างสุดของการติดต่อสื่อสาร ทา หน้าที่ส่ง-รับข้อมูิจริง ๆ จากช่องทางการสื่อสาร (สื่อกิาง) ระหว่าง คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ มาตรฐานสาหรับเิ เยอร์ชั้นนี้จะกาหนดว่า แต่ิะ คอนเนคเตอร์ (Connector) เช่น RS-232-C มีกี่พิน (PIN) แต่ิะพินทาหน้าที่อะไรบ้าง ใช้สัญญาณไฟกี่โวิต์ เทคนิค การมัิติเพิ็กซ์แบบต่าง ๆ ก็จะถูกกาหนดอยู่ในเิเยอร์ชั้นนี้ 2. เิเยอร์ชั้น Data Link จะเป็นเสมือนผู้ตรวจสอบ หรือควบคุม ความผิดพิาด ในข้อมูิโดยจะแบ่งข้อมูิที่จะส่งออก เป็นแพ็กเกจหรือ เฟรม ถ้าผู้รับได้รับข้อมูิถูกต้องก็จะส่งสัญญาณยืนยันกิับว่าได้รับข้อมูิ แิ้ว เรียกว่าสัญญาณ ACK (Acknowledge) ให้กับผู้ส่ง
  • 8. แต่ถ้าผู้ส่งไม่ได้รับสัญญาณ ACK หรือได้รับสัญญาณ NAK (Negative Acknowledge) กิับมา ผู้ส่งก็อาจจะทาการส่งข้อมูิไปให้ใหม่ อีกหน้าที่ หนึ่งของเิเยอร์ชั้นนี้คือ ป้ องกันไม่ให้เครื่องส่งทาการส่งข้อมูิเร็วจนเกิดขีด ความสามารถ จนเเครื่องผู้รับจะรับข้อมูิได้ 3. เิเยอร์ชั้น Network เป็นชั้นที่ออกแบบหรือกาหนดเส้นทางการ เดินทางของข้อมูิที่ส่ง-รับในการส่งผ่าน ข้อมูิระหว่างต้นทางแิะ ปิายทาง ซึ่งแน่นอนว่าในการสื่อสารข้อมูิผ่านเครือข่ายการสื่อสาร จะต้องเส้นทางการรับ-ส่งข้อมูิมากกว่า 1 เส้นทาง ดังนั้นเิเยอร์ชั้น Network นี้จะมีหน้าที่เิือกเส้นทางที่ใช้เวิาในการสื่อสารน้อยที่สุด แิะ ระยะทางสั้นที่สุดด้วย ข่าวสารที่รับมาจากเิเยอร์ชั้นที่ 4 จะถูกแบ่ง ออกเป็นแพ็กเกจ ๆ ในชั้นที่ 3 นี้
  • 9. 4. เิเยอร์ชั้น Transport บางครั้งเรียกว่า เิเยอร์ชั้น Host-to-Host หรือเครื่องต่อเครื่อง แิะจากเิเยอร์ชั้นที่ 4 ถึงชั้นที่ 7 นี้รวมกันจะเรียกว่า เิเยอร์ End-to-End ในเิเยอร์ชั้น Transport นี้เป็นการสื่อสารกันระหว่าง ต้นทางแิะปิายทาง (คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์) กันจริง ๆ เิเยอร์ชั้น Transport จะทาหน้าที่ตรวจสอบว่าข้อมูิที่ส่งมาจากเิเยอร์ชั้น Session นั้นไปถึงปิายทางจริง ๆ หรือไม่ ดังนั้นการกาหนดตาแหน่งของข้อมูิ (Address) จึงเป็นเรื่องสาคัญในชั้นนี้เนื่องจากจะต้องรับรู้ว่าใครคือผู้ส่ง แิะใครคือผู้รับข้อมูินั้น 5. เิเยอร์ชั้น Session ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ โดยผู้ใช้จะใช้คาสั่งหรือข้อความที่กาหนดไว้ ป้ อนเข้าไปในระบบ ในการสร้างการเชื่อมโยงนี้ผู้ใช้จะต้องกาหนดรหัส ตาแหน่งของจุดหมายปิายทาง
  • 10. ที่ต้องการติดต่อสื่อสารด้วย เิเยอร์ชั้น Session จะส่งข้อมูิทั้งหมด ให้กับเิเยอร์ชั้น Transport เป็นผู้จัดการต่อไป ในบางเครือข่ายทั้งเิเยอร์ Session แิะเิเยอร์ Transport อาจจะเป็นเิเยอร์ชั้นเดียวกัน 6. เิเยอร์ชั้น Presentation ทาหน้าที่เหมือนบรรณารักษ์ กิ่าวคือ คอยรวบรวมข้อความ (Text) แิะแปิงรหัส หรือแปิงรูปของข้อมูิให้เป็น รูปแบบการสื่อสารเดียวกัน เพื่อช่วยิดปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับ ผู้ใช้งานในระบบ 7. เิเยอร์ชั้น Application เป็นเิเยอร์ชั้นบนสุดของรูปแบบ OSI ซึ่งเป็นชั้นที่ใช้ติดต่อกันระหว่างผู้ใช้โดยตรง ซึ่งได้แก่ โฮสต์คอมพิวเตอร์ เทอร์มินัิหรือคอมพิวเตอร์ PC เป็นต้น แอปพิิเคชันในเิเยอร์ชั้นนี้สาร มารถนาเข้าหรือออกจากระบบเครือข่ายได้โดยไม่จาเป็นต้องสนใจว่าจะมี ขั้นตอนการทางานอย่างไร
  • 11. เพราะจะมีเิเยอร์ชั้น Presentation เป็นผู้รับผิดชอบแทนอยู่แิ้ว ใน รูปแบบ OSI เิเยอร์นั้น Application จะทาการติดต่อกับเิเยอร์ชั้น Presentation โดยตรงเท่านั้น โปรโตคอิของในแต่ิะชั้นจะแตกต่างกัน ออกไป แต่อย่างไรก็ตามการที่เครื่องคอมพิวเตอร์ หิาย ๆ เครื่องจะ ติดต่อสื่อสารกันได้ ในแต่ิะเิเยอร์ของแต่ิะเครื่องจะต้องใช้โปรโตคอิ แบบเดียวกัน หรือถ้าใช้โปรโตคอิต่างกันก็ต้องมีอุปกรณ์ หรือซอฟร์แวร์ที่ สามารถแปิงโปรโตคอิที่ต่างกันนั้นให้มีรูปแบบเป็นอย่างเดียวกัน เพื่อ เชื่อมโยงให้คอมพิวเตอร์ทั้ง 2 เครื่องสามารถติดต่อกันได้