SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
สาระย่อ 
รายงานเรื่อง ตา ลึง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ลักษณะทาง 
พฤกษศาสตร์ของต้นตา ลึง และเพื่อวเิคราะห์สรรพคุณทางยาของตา ลึง 
ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าดา เนินการโดย กา หนดหัวเรื่องที่ต้องการจะ 
ศึกษา แล้วนา มาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วนา มาทา 
เป็นโปรแกรมนาเสนองาน นาเสนอเป็นความเรียง 
ผลการศึกษาพบว่า ใบตา ลึงมีสารเคมีที่ตรวจพบคือ กรด อะมิโน 
หลายชนิด Bsitosterol มีรายงานว่ามีฤทธ์ิลดน้า ตาลในเลือดได้ในเวลาอัน 
สั้น โดยทดลองใช้หนูตะเภา ไม่มีรายงานการศึกษาฤทธ์ิแก้แพ้
ความหมายของตา ลงึ 
ในหนังสืออักขราภิธานศรับท์ของหมอบรัดเลย์ อธิบาย 
ความหมายของคา ว่า ตา ลึง ไว้ว่าเป็นชื่อผักอย่างหนึ่ง เป็นเถาลูกมันสีแดง 
ยอดอ่อนๆ ต้มกินก็ได้ แกงเลียงก็ดี อนึ่งเป็นชื่อเดิมสีบาท
ลกัษณะทางพฤกษศาสตร์ของตา ลงึ 
ตา ลึงเป็นไม้เถามีอายุอยู่ได้หลายปี เมื่ออายุมากเถาจะใหญ่ 
และแข็งแรงมากขึ้น เถามีสีเขียวใบไม้ ตามข้อจะมีมือเกาะ ใบออก 
สลับกันเป็นรูปสามเหลี่ยม ดอกสีขาวข้างในมีสีเหลืองอ่อน มีผลคล้ายกับ 
ผลแตงกวาแต่มีขนาดเล็กกว่ามาก ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่ทั่วไปตามธรรมชาติ 
โดยเฉพาะในชนบทหรือคามที่รก ป่าละเมาะ ริมทาง
การปลูกตา ลงึ 
ปลูกโดยใช้เมล็ดก็ได้ เก็บเมล็ดพันธุ์จากผลตา ลึงแก่สุกแดงมา 
ตากแห้ง (แกะเอาเพียงเมล็ด) เก็บเอาไว้ ทา พันธุ์ได้ดี หรือจะเพาะเลยก็ได้ 
ไม่ต้องตากแห้งยอดเมล็ดในที่เตรียมเอาไว้แล้ว เป็นพืชขึ้นได้ง่าย ทนแล้ง 
ได้ดี
สรรพคุณ 
ใบ : ใช้ในการแก้ไข้ตัวร้อน ตาแดง ตาเจ็บ ช่วยบา รุงเลือด ช่วย 
บา รุงน้า นมแม่ช่วยป้องกันและรักษาโรคหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน และ 
แตกได้ 
เถา :นา น้า ต้มจากเถาตา ลึงมาหยอดตาแก้ตาแดง ตาฟาง 
ดอก :ตา ลึงช่วยทา ให้หายจากอาการคันได้ 
ราก :ใช้แก้อาการอาเจียน ตาฝ้า ช่วยลดไข้ 
น้ายางจากต้นและใบ :ช่วยลดน้า ตาลในเลือด
คุณค่าทางอาหาร 
ยอดของตา ลึงใช้ปรุงอาหาร ตา ลึง 100 กรัม ประกอบไปด้วย 
แคลเซียม 
126 มิลลกิรมั 
โปรตีน 3.3 กรมั 
วิตามินบี1 0.17 มิลลกิรมั 
ฟอสฟอรสั 30 มิลลกิรมั 
ธาตุเหลก็ 4.6 มิลลกิรมั 
วิตามินซี 13 มิลลกิรมั 
ไนอาซีน1.2 มิลลกิรมั 
ใยอาหาร 2.2 กรมั 
บต้าแคโรทีนสูงถึง 699.88
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ 
ใบตา ลึงมีสารเคมีที่ตรวจพบคือ กรด อะมิโน หลายชนิด Bsitosterol 
มีรายงานว่ามีฤทธ์ิลดน้า ตาลในเลือดได้ในเวลาอันสั้น โดยทดลองใช้หนู 
ตะเภา ไม่มีรายงานการศึกษาฤทธ์ิแก้แพ้
สรุป 
ตา ลึง ไว้ว่าเป็นชื่อผักอย่างหนึ่ง เป็นเถาลูกมันสีแดง ยอด 
อ่อนๆ ต้มกินก็ได้ แกงเลียงก็ดี อนึ่งเป็นชื่อเดิมสีบาท ตา ลึงเป็นไม้เถามี 
อายุอยู่ได้หลายปี เมื่ออายุมากเถาจะใหญ่และแข็งแรงมากขึ้น 
ชาวชนบททั่วไปใช้ตา ลึงรักษาอาการโรคต่างๆกันเป็น 
ประจา เช่น เมื่อถูกขนของพืชหรือสัตว์(เช่น บุ้ง) เกิดอาการคันหรือผนื่ 
แดงขึ้น ก็ใช้ใบตา ลึงขยี้เอาน้า มาทาให้ทั่วบริเวณที่มีอาการ ก็จะทุเลาหรือ 
หายไปในไม่ช้า เป็นต้น
ข้อเสนอแนะ 
ควรมีการนาข้อมูลที่เราศึกษานั้นมาทา เป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปโดยผลิตภัณฑ์ที่ได้จา 
การศึกษานั้นคือ การทา ซอสลูกตา ลึง โดยมีวิธีทา ที่แสนง่าย และเป็นการพัฒนาสิ่งที่ทุก 
คนมองข้ามอย่างตา ลึงซึ่งพืชผักท้องถิ่นที่เป็นผักสวนครัวของคนไทย 
โดยมีขั้นตอนการทา ดังนี้ 
1. นา น้า ใส่หม้อยกขึ้นตั้งไฟ ใส่กระเทียม ลูกตา ลึงสุก พริกชี้ฟ้า ต้มจนเปื่อย 
2. นาส่วนผสมในข้อที่ 1 มายีบนตะแกรง หรือปั่นให้ละเอียด (เอาเมล็ดออก) 
3. นา น้า ส้มสายชู น้า ตาลทราย เกลือ ใส่หม้อตั้งไฟให้ละลายเข้ากัน 
4. นา ส่วนผสมที่ปั่นละเอียดแล้ว ใส่ลงหม้อ ตั้งไฟเคี่ยวจนข้น (ไฟแรงปานกลาง เคียว 
ประมาณ 20 นาที) สังเกตสีจะเปลี่ยนเป็นสีแดงเข้ม จากนั่นชิมรสชาติตามที่ชอบ 
5. นา ซอสลูกตา ลึงกรอกใส่ขวด ที่ล้างสะอาด แล้วปิดฝาให้สนิท นา ไปนึ่งฆ่าเชื้อโรค 
ประมาณ 30 นาที เก็บไว้รับประทาน

More Related Content

Similar to งานนำเสนอ1 5555

1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80Rose Banioki
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 

Similar to งานนำเสนอ1 5555 (7)

1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 

งานนำเสนอ1 5555

  • 1.
  • 2. สาระย่อ รายงานเรื่อง ตา ลึง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ของต้นตา ลึง และเพื่อวเิคราะห์สรรพคุณทางยาของตา ลึง ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าดา เนินการโดย กา หนดหัวเรื่องที่ต้องการจะ ศึกษา แล้วนา มาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วนา มาทา เป็นโปรแกรมนาเสนองาน นาเสนอเป็นความเรียง ผลการศึกษาพบว่า ใบตา ลึงมีสารเคมีที่ตรวจพบคือ กรด อะมิโน หลายชนิด Bsitosterol มีรายงานว่ามีฤทธ์ิลดน้า ตาลในเลือดได้ในเวลาอัน สั้น โดยทดลองใช้หนูตะเภา ไม่มีรายงานการศึกษาฤทธ์ิแก้แพ้
  • 3. ความหมายของตา ลงึ ในหนังสืออักขราภิธานศรับท์ของหมอบรัดเลย์ อธิบาย ความหมายของคา ว่า ตา ลึง ไว้ว่าเป็นชื่อผักอย่างหนึ่ง เป็นเถาลูกมันสีแดง ยอดอ่อนๆ ต้มกินก็ได้ แกงเลียงก็ดี อนึ่งเป็นชื่อเดิมสีบาท
  • 4. ลกัษณะทางพฤกษศาสตร์ของตา ลงึ ตา ลึงเป็นไม้เถามีอายุอยู่ได้หลายปี เมื่ออายุมากเถาจะใหญ่ และแข็งแรงมากขึ้น เถามีสีเขียวใบไม้ ตามข้อจะมีมือเกาะ ใบออก สลับกันเป็นรูปสามเหลี่ยม ดอกสีขาวข้างในมีสีเหลืองอ่อน มีผลคล้ายกับ ผลแตงกวาแต่มีขนาดเล็กกว่ามาก ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่ทั่วไปตามธรรมชาติ โดยเฉพาะในชนบทหรือคามที่รก ป่าละเมาะ ริมทาง
  • 5. การปลูกตา ลงึ ปลูกโดยใช้เมล็ดก็ได้ เก็บเมล็ดพันธุ์จากผลตา ลึงแก่สุกแดงมา ตากแห้ง (แกะเอาเพียงเมล็ด) เก็บเอาไว้ ทา พันธุ์ได้ดี หรือจะเพาะเลยก็ได้ ไม่ต้องตากแห้งยอดเมล็ดในที่เตรียมเอาไว้แล้ว เป็นพืชขึ้นได้ง่าย ทนแล้ง ได้ดี
  • 6. สรรพคุณ ใบ : ใช้ในการแก้ไข้ตัวร้อน ตาแดง ตาเจ็บ ช่วยบา รุงเลือด ช่วย บา รุงน้า นมแม่ช่วยป้องกันและรักษาโรคหลอดเลือดแข็ง ตีบตัน และ แตกได้ เถา :นา น้า ต้มจากเถาตา ลึงมาหยอดตาแก้ตาแดง ตาฟาง ดอก :ตา ลึงช่วยทา ให้หายจากอาการคันได้ ราก :ใช้แก้อาการอาเจียน ตาฝ้า ช่วยลดไข้ น้ายางจากต้นและใบ :ช่วยลดน้า ตาลในเลือด
  • 7. คุณค่าทางอาหาร ยอดของตา ลึงใช้ปรุงอาหาร ตา ลึง 100 กรัม ประกอบไปด้วย แคลเซียม 126 มิลลกิรมั โปรตีน 3.3 กรมั วิตามินบี1 0.17 มิลลกิรมั ฟอสฟอรสั 30 มิลลกิรมั ธาตุเหลก็ 4.6 มิลลกิรมั วิตามินซี 13 มิลลกิรมั ไนอาซีน1.2 มิลลกิรมั ใยอาหาร 2.2 กรมั บต้าแคโรทีนสูงถึง 699.88
  • 8. ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ใบตา ลึงมีสารเคมีที่ตรวจพบคือ กรด อะมิโน หลายชนิด Bsitosterol มีรายงานว่ามีฤทธ์ิลดน้า ตาลในเลือดได้ในเวลาอันสั้น โดยทดลองใช้หนู ตะเภา ไม่มีรายงานการศึกษาฤทธ์ิแก้แพ้
  • 9. สรุป ตา ลึง ไว้ว่าเป็นชื่อผักอย่างหนึ่ง เป็นเถาลูกมันสีแดง ยอด อ่อนๆ ต้มกินก็ได้ แกงเลียงก็ดี อนึ่งเป็นชื่อเดิมสีบาท ตา ลึงเป็นไม้เถามี อายุอยู่ได้หลายปี เมื่ออายุมากเถาจะใหญ่และแข็งแรงมากขึ้น ชาวชนบททั่วไปใช้ตา ลึงรักษาอาการโรคต่างๆกันเป็น ประจา เช่น เมื่อถูกขนของพืชหรือสัตว์(เช่น บุ้ง) เกิดอาการคันหรือผนื่ แดงขึ้น ก็ใช้ใบตา ลึงขยี้เอาน้า มาทาให้ทั่วบริเวณที่มีอาการ ก็จะทุเลาหรือ หายไปในไม่ช้า เป็นต้น
  • 10. ข้อเสนอแนะ ควรมีการนาข้อมูลที่เราศึกษานั้นมาทา เป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปโดยผลิตภัณฑ์ที่ได้จา การศึกษานั้นคือ การทา ซอสลูกตา ลึง โดยมีวิธีทา ที่แสนง่าย และเป็นการพัฒนาสิ่งที่ทุก คนมองข้ามอย่างตา ลึงซึ่งพืชผักท้องถิ่นที่เป็นผักสวนครัวของคนไทย โดยมีขั้นตอนการทา ดังนี้ 1. นา น้า ใส่หม้อยกขึ้นตั้งไฟ ใส่กระเทียม ลูกตา ลึงสุก พริกชี้ฟ้า ต้มจนเปื่อย 2. นาส่วนผสมในข้อที่ 1 มายีบนตะแกรง หรือปั่นให้ละเอียด (เอาเมล็ดออก) 3. นา น้า ส้มสายชู น้า ตาลทราย เกลือ ใส่หม้อตั้งไฟให้ละลายเข้ากัน 4. นา ส่วนผสมที่ปั่นละเอียดแล้ว ใส่ลงหม้อ ตั้งไฟเคี่ยวจนข้น (ไฟแรงปานกลาง เคียว ประมาณ 20 นาที) สังเกตสีจะเปลี่ยนเป็นสีแดงเข้ม จากนั่นชิมรสชาติตามที่ชอบ 5. นา ซอสลูกตา ลึงกรอกใส่ขวด ที่ล้างสะอาด แล้วปิดฝาให้สนิท นา ไปนึ่งฆ่าเชื้อโรค ประมาณ 30 นาที เก็บไว้รับประทาน