SlideShare a Scribd company logo
ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรม (Software) ที่ทาหน้าที่ ควบคุมการ
ทางานของ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ต่อพ่วงกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อ
กับฮาร์ดแวร์ของเครื่องโดยตรงและโปรแกรมการใช้งานต่าง ๆ
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า OS (Operating
System) เป็นโปรแกรม ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทา
หน้าที่ควบคุมการทางานต่าง ๆ เช่น การแสดงผล ข้อมูลการติดต่อกับ
ผู้ใช้ โดยทาหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระหว่างผู้ใช้กับเครื่องให้สามารถ
สื่อสารกันได้
ระบบ DOS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท IBM เพื่อให้
เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องพีซี ซึ่งตัวโปรแกรม DOS จะถูก Load หรือ
อ่านจากแผ่นดิสก์เข้าไปเก็บไว้ในหน่วย ความจาก่อน จากนั้น DOS จะไปทา
หน้าที่เป็น ผู้ประสานงานต่าง ๆ ระหว่างผู้ใช้กับอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ทั้งหลาย
โดยอัตโนมัติ โดยที่ DOS จะรับคาสั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้ว นาไป ปฏิบัติ
ตาม โดยการทางานจะเป็นแบบ Text mode สั่งงานโดยการกดคาสั่งเข้าไปที่
ซีพร็อม (C:>) ดังนั้น ผู้ใช้ระบบนี้จึงต้องจาคาสั่งต่างๆ ในการใช้งานจึงจะ
สามารถใช้งานได้ระบบปฏิบัติการ DOS ถือได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการที่
เก่าแก่. และปัจจุบันนี้มีการใช้งานน้อยมาก
Windows เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft ซึ่งจะมีส่วน
ติดต่อกับ ผู้ใช้(User interface) เป็นแบบกราฟิก หรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทน
คาสั่ง เรียกว่า GUI (Graphic User Interface) โดยสามารถสั่งให้เครื่องทางานได้
โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คาสั่งที่ต้องการ ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้
สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกว่า 1 โปรแกรมในขณะเดียวกันซึ่งถ้าเป็นระบบ
DOS หากต้องการเปลี่ยนไปทางานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก โปรแกรมเดิม
ก่อนจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ในลักษณะการทางานของ
Windows จะมีส่วนที่เรียกว่า “หน้าต่าง” โดยแต่ละโปรแกรมจะถือเป็นหน้าต่าง
หนึ่งหน้าต่าง ผู้ใช้สามารถ สลับไปมาระหว่างแต่ละหน้าต่างได้ นอกจากนี้ระบบ
Windows ยังให้โปรแกรมต่าง ๆ สามารถ แชร์ ข้อมูลระหว่างกันได้ผ่านทางคลิป
บอ์ด (Clipboard) ระบบ Windows ทาให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถทาความเข้าใจ
เ รี ย น รู้ แ ล ะ ใ ช้ ง า น เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ไ ด้ ง่ า ย ขึ้ น
Unix เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้บนเครื่อง SUN ของบริษัท SUN
Microsystems แต่ไม่ได้เป็นคู่แข่งกับบริษัท Microsoft ในเรื่องของ
ระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PC แต่อย่างใด แต่Unix เป็น
ระบบปฏิบัติการที่ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open system) ซึ่งเป็น
แนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง ผูกติดกับ ระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อ
เดียวกัน นอกจากนี้ Unix ยังถูกออกแบบมาเพื่อ ตอบสนองการใช้งาน
ในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน เรียกว่า ระบบหลาย
ผู้ใช้ (Multiuser system) และสามารถทางานได้หลาย ๆ งานในเวลา
เดียวกัน ในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลายภารกิจ (Multitasking
system)
Linux เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ DOS, Windows หรือ Unix โดย
Linuxนั้นจัด ว่าเป็นระบบปฏิบัติการ Unix ประเภทหนึ่ง การที่Linuxเป็นที่กล่าว
ขานกันมากในช่วงปี 1999 – 2000 เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติ
การและโปรแกรมประยุกต์ที่ ทางานบนระบบ Linux โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
โปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU’s Not UNIX) และสิ่งที่สาคัญที่สุดก็ คือ
ระบบ Linux เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free ware) คือไม่เสียค่าใช้จ่าย
ในการซื้อ โปรแกรม Linux นั้นมี นักพัฒนาโปรแกรมจากทั่วโลกช่วยกันแก้ไข
ทาให้การขยายตัวของ Linux เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยในส่วนของใจกลาง
ระบบปฏิบัติการ หรือ Kernel นั้นจะมีการพัฒนาเป็น รุ่นที่ 2.2 (Linux Kernel 2.2)
ซึ่งได้เพิ่มขีดความสามารถและสนับสนุนการทางานแบบหลายซีพียู
ระบบคอมพิวเตอร์ยุคใหม่จะมีซีพียู ดีไวช์คอนโทรลเลอร์ (Device
controller) ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านคอมมอนบัส (Common bus) ซึ่งแชร์เมโมรีกัน
หน้าที่โดยทั่วไปของสัญญาณขัดจังหวะ
• สัญญาณขัดจังหวะจะส่งการควบคุมไปยัง Interrupt service routine ผ่าน
ทางตารางสัญญาณขัดจังหวะ
• สถาปัตยกรรมของสัญญาณขัดจังหวะ จะต้องบันทึกตาแหน่งของชุคาสั่งที่
ถูกขัดจังหวะไว้
• สัญญาณขัดจังหวะที่เข้าสู่ระบบจะถูก Disable ถ้ามีการทางานของสัญญาณ
ขัดจังหวะตัวอื่นอยู่ก่อนแล้ว เพื่อป้องกันการสูญหายของสัญญาณขัดจังหวะ
• ใช้สาหรับอุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่มีความเร็วสูง เช่น เทป จาน
แม่เหล็ก หรือข่ายงานสื่อสาร อาจมีความเร็วในการส่งข้อมูลได้
ใกล้เคียงกับความเร็วของหน่วยความจา
• มีการใช้Direct Memory Access มา แก้ไขปัญหา สาหรับอุปกรณ์
ที่มีความเร็วสูงเหล่านี้ ตัวควบคุมอุปกรณ์จะส่งข้อมูลจากบัฟเฟอร์ของ
ตนมายังหน่วยความจาหลักโดยตรงที ละชุด โดยไม่ได้อาศัยหน่วย
ประมวลผลกลางเลย
• การทางานก็เหมือนเดิม คือ เมื่อโปรแกรมของผู้ใช้ต้องการรับส่ง
ข้อมูลไปยังอุปกรณ์เหล่านี้ ระบบก็จะจัดบัฟเฟอร์
หน่วยความจาหลักหรือเมนโมรีอย่างถาวร แต่ทาไม่ได้ด้วยเหตุผล 2
ประการ
1. หน่วยความจาหลักเล็กเกินไปที่จะเก็บโปรแกรมและข้อมูลที่
จาเป็นทั้งหมดอย่างถาวร
2. หน่วยความจาหลักเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลแบบชั่วคราว
เพราะเมื่อเครื่องปิดข้อมูลก็หาย
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1

More Related Content

What's hot

งานใหม่3
งานใหม่3งานใหม่3
งานใหม่3
kukkik1234
 
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์
Nalatporn
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
Wirot Chantharoek
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
sapol tamgsongcharoen
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
sapol tamgsongcharoen
 
ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01
tonglots
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
runjaun
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
Siriwan Udomtragulwong
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
Siriwan Udomtragulwong
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
onthicha1993
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
okbeer
 
Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01
nantakit
 

What's hot (19)

งานใหม่3
งานใหม่3งานใหม่3
งานใหม่3
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01
 
2p
2p2p
2p
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
1 operating system999
1 operating system9991 operating system999
1 operating system999
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01Random 110909052835-phpapp01
Random 110909052835-phpapp01
 

Viewers also liked

Get Rich or Die Trying: DEV Edition by Enzo Tañedo | DevCon Summit 2015 #GoOp...
Get Rich or Die Trying: DEV Edition by Enzo Tañedo | DevCon Summit 2015 #GoOp...Get Rich or Die Trying: DEV Edition by Enzo Tañedo | DevCon Summit 2015 #GoOp...
Get Rich or Die Trying: DEV Edition by Enzo Tañedo | DevCon Summit 2015 #GoOp...
DEVCON
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
Rosanna13
 
Artefinal arte medieval comentario de imágenes
Artefinal arte medieval comentario de imágenesArtefinal arte medieval comentario de imágenes
Artefinal arte medieval comentario de imágenes
ANA GALVAN ROMARATE-ZABALA
 
Alerta enf foliares en trigo - Entre Rios
Alerta enf foliares en trigo - Entre RiosAlerta enf foliares en trigo - Entre Rios
Alerta enf foliares en trigo - Entre Rios
Campo Global
 
El castillo de javier (navarra)
El castillo de javier  (navarra)El castillo de javier  (navarra)
El castillo de javier (navarra)
maritedebolea
 

Viewers also liked (20)

SFLOH Second Student Exchange Mythology Workshop
SFLOH Second Student Exchange Mythology Workshop SFLOH Second Student Exchange Mythology Workshop
SFLOH Second Student Exchange Mythology Workshop
 
Kop surat
Kop suratKop surat
Kop surat
 
ADERAREA LA CERINTELE NORMEI 6/2015 ASF | Op.team Associates
ADERAREA LA CERINTELE NORMEI 6/2015 ASF | Op.team AssociatesADERAREA LA CERINTELE NORMEI 6/2015 ASF | Op.team Associates
ADERAREA LA CERINTELE NORMEI 6/2015 ASF | Op.team Associates
 
Achievement Award
Achievement AwardAchievement Award
Achievement Award
 
Let’s think about our town with wheelchair
Let’s think about our town with wheelchairLet’s think about our town with wheelchair
Let’s think about our town with wheelchair
 
ONLINE ASSIGNMENT
ONLINE ASSIGNMENTONLINE ASSIGNMENT
ONLINE ASSIGNMENT
 
Aequitas ppt
Aequitas pptAequitas ppt
Aequitas ppt
 
Ikaya
Ikaya Ikaya
Ikaya
 
Get Rich or Die Trying: DEV Edition by Enzo Tañedo | DevCon Summit 2015 #GoOp...
Get Rich or Die Trying: DEV Edition by Enzo Tañedo | DevCon Summit 2015 #GoOp...Get Rich or Die Trying: DEV Edition by Enzo Tañedo | DevCon Summit 2015 #GoOp...
Get Rich or Die Trying: DEV Edition by Enzo Tañedo | DevCon Summit 2015 #GoOp...
 
Infooo
InfoooInfooo
Infooo
 
Presentación2
Presentación2Presentación2
Presentación2
 
Electricitat domestica
Electricitat domesticaElectricitat domestica
Electricitat domestica
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Duo hijken
Duo   hijkenDuo   hijken
Duo hijken
 
Camila manjarres 8a
Camila manjarres 8aCamila manjarres 8a
Camila manjarres 8a
 
El Buen Trato
El Buen TratoEl Buen Trato
El Buen Trato
 
Artefinal arte medieval comentario de imágenes
Artefinal arte medieval comentario de imágenesArtefinal arte medieval comentario de imágenes
Artefinal arte medieval comentario de imágenes
 
Alerta enf foliares en trigo - Entre Rios
Alerta enf foliares en trigo - Entre RiosAlerta enf foliares en trigo - Entre Rios
Alerta enf foliares en trigo - Entre Rios
 
El castillo de javier (navarra)
El castillo de javier  (navarra)El castillo de javier  (navarra)
El castillo de javier (navarra)
 
Web 3
Web 3Web 3
Web 3
 

Similar to งานนำเสนอ1

ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
อยู่ไหน เหงา
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
SittichaiSppd
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
SittichaiSppd
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
jiratchayalert
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
ment1823
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Tonkaw Napassorn
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Tonkaw Napassorn
 

Similar to งานนำเสนอ1 (20)

Work3 07
Work3 07Work3 07
Work3 07
 
Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
5805104050 si221
5805104050 si2215805104050 si221
5805104050 si221
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
iam
iamiam
iam
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
 
work3-57
work3-57work3-57
work3-57
 
บทที่3-49
บทที่3-49บทที่3-49
บทที่3-49
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 

งานนำเสนอ1

  • 1.
  • 2. ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรม (Software) ที่ทาหน้าที่ ควบคุมการ ทางานของ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ต่อพ่วงกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อ กับฮาร์ดแวร์ของเครื่องโดยตรงและโปรแกรมการใช้งานต่าง ๆ
  • 3. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า OS (Operating System) เป็นโปรแกรม ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทา หน้าที่ควบคุมการทางานต่าง ๆ เช่น การแสดงผล ข้อมูลการติดต่อกับ ผู้ใช้ โดยทาหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระหว่างผู้ใช้กับเครื่องให้สามารถ สื่อสารกันได้
  • 4. ระบบ DOS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท IBM เพื่อให้ เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องพีซี ซึ่งตัวโปรแกรม DOS จะถูก Load หรือ อ่านจากแผ่นดิสก์เข้าไปเก็บไว้ในหน่วย ความจาก่อน จากนั้น DOS จะไปทา หน้าที่เป็น ผู้ประสานงานต่าง ๆ ระหว่างผู้ใช้กับอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ทั้งหลาย โดยอัตโนมัติ โดยที่ DOS จะรับคาสั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้ว นาไป ปฏิบัติ ตาม โดยการทางานจะเป็นแบบ Text mode สั่งงานโดยการกดคาสั่งเข้าไปที่ ซีพร็อม (C:>) ดังนั้น ผู้ใช้ระบบนี้จึงต้องจาคาสั่งต่างๆ ในการใช้งานจึงจะ สามารถใช้งานได้ระบบปฏิบัติการ DOS ถือได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการที่ เก่าแก่. และปัจจุบันนี้มีการใช้งานน้อยมาก
  • 5. Windows เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft ซึ่งจะมีส่วน ติดต่อกับ ผู้ใช้(User interface) เป็นแบบกราฟิก หรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทน คาสั่ง เรียกว่า GUI (Graphic User Interface) โดยสามารถสั่งให้เครื่องทางานได้ โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คาสั่งที่ต้องการ ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้ สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกว่า 1 โปรแกรมในขณะเดียวกันซึ่งถ้าเป็นระบบ DOS หากต้องการเปลี่ยนไปทางานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก โปรแกรมเดิม ก่อนจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ในลักษณะการทางานของ Windows จะมีส่วนที่เรียกว่า “หน้าต่าง” โดยแต่ละโปรแกรมจะถือเป็นหน้าต่าง หนึ่งหน้าต่าง ผู้ใช้สามารถ สลับไปมาระหว่างแต่ละหน้าต่างได้ นอกจากนี้ระบบ Windows ยังให้โปรแกรมต่าง ๆ สามารถ แชร์ ข้อมูลระหว่างกันได้ผ่านทางคลิป บอ์ด (Clipboard) ระบบ Windows ทาให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถทาความเข้าใจ เ รี ย น รู้ แ ล ะ ใ ช้ ง า น เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ไ ด้ ง่ า ย ขึ้ น
  • 6. Unix เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้บนเครื่อง SUN ของบริษัท SUN Microsystems แต่ไม่ได้เป็นคู่แข่งกับบริษัท Microsoft ในเรื่องของ ระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PC แต่อย่างใด แต่Unix เป็น ระบบปฏิบัติการที่ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open system) ซึ่งเป็น แนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง ผูกติดกับ ระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อ เดียวกัน นอกจากนี้ Unix ยังถูกออกแบบมาเพื่อ ตอบสนองการใช้งาน ในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน เรียกว่า ระบบหลาย ผู้ใช้ (Multiuser system) และสามารถทางานได้หลาย ๆ งานในเวลา เดียวกัน ในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลายภารกิจ (Multitasking system)
  • 7. Linux เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ DOS, Windows หรือ Unix โดย Linuxนั้นจัด ว่าเป็นระบบปฏิบัติการ Unix ประเภทหนึ่ง การที่Linuxเป็นที่กล่าว ขานกันมากในช่วงปี 1999 – 2000 เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติ การและโปรแกรมประยุกต์ที่ ทางานบนระบบ Linux โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU’s Not UNIX) และสิ่งที่สาคัญที่สุดก็ คือ ระบบ Linux เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free ware) คือไม่เสียค่าใช้จ่าย ในการซื้อ โปรแกรม Linux นั้นมี นักพัฒนาโปรแกรมจากทั่วโลกช่วยกันแก้ไข ทาให้การขยายตัวของ Linux เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยในส่วนของใจกลาง ระบบปฏิบัติการ หรือ Kernel นั้นจะมีการพัฒนาเป็น รุ่นที่ 2.2 (Linux Kernel 2.2) ซึ่งได้เพิ่มขีดความสามารถและสนับสนุนการทางานแบบหลายซีพียู
  • 8. ระบบคอมพิวเตอร์ยุคใหม่จะมีซีพียู ดีไวช์คอนโทรลเลอร์ (Device controller) ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านคอมมอนบัส (Common bus) ซึ่งแชร์เมโมรีกัน หน้าที่โดยทั่วไปของสัญญาณขัดจังหวะ • สัญญาณขัดจังหวะจะส่งการควบคุมไปยัง Interrupt service routine ผ่าน ทางตารางสัญญาณขัดจังหวะ • สถาปัตยกรรมของสัญญาณขัดจังหวะ จะต้องบันทึกตาแหน่งของชุคาสั่งที่ ถูกขัดจังหวะไว้ • สัญญาณขัดจังหวะที่เข้าสู่ระบบจะถูก Disable ถ้ามีการทางานของสัญญาณ ขัดจังหวะตัวอื่นอยู่ก่อนแล้ว เพื่อป้องกันการสูญหายของสัญญาณขัดจังหวะ
  • 9. • ใช้สาหรับอุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่มีความเร็วสูง เช่น เทป จาน แม่เหล็ก หรือข่ายงานสื่อสาร อาจมีความเร็วในการส่งข้อมูลได้ ใกล้เคียงกับความเร็วของหน่วยความจา • มีการใช้Direct Memory Access มา แก้ไขปัญหา สาหรับอุปกรณ์ ที่มีความเร็วสูงเหล่านี้ ตัวควบคุมอุปกรณ์จะส่งข้อมูลจากบัฟเฟอร์ของ ตนมายังหน่วยความจาหลักโดยตรงที ละชุด โดยไม่ได้อาศัยหน่วย ประมวลผลกลางเลย • การทางานก็เหมือนเดิม คือ เมื่อโปรแกรมของผู้ใช้ต้องการรับส่ง ข้อมูลไปยังอุปกรณ์เหล่านี้ ระบบก็จะจัดบัฟเฟอร์
  • 10. หน่วยความจาหลักหรือเมนโมรีอย่างถาวร แต่ทาไม่ได้ด้วยเหตุผล 2 ประการ 1. หน่วยความจาหลักเล็กเกินไปที่จะเก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ จาเป็นทั้งหมดอย่างถาวร 2. หน่วยความจาหลักเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลแบบชั่วคราว เพราะเมื่อเครื่องปิดข้อมูลก็หาย