SlideShare a Scribd company logo
บทที่1
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการตัดต่อวีดิโอ”
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนิติ ประดิษฐศิลป์ รหัสนิสิต 55540146 คณะศึกษาศาสตร์
สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา
ที่ปรึกษาโครงการ
อาจารย์ ดร. ภูเบศ เลื่อมใส
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันงานวิดีโอได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของเรามากขึ้น
ด้วยความสามารถของงานทางด้านมัลติมีเดียที่ทาให้การนาเสนองานของเราน่าสนใจแล้ว
ราคากล้องวิดีโอก็ราคาถูกลงมามากและหาซื้อได้ไม่ยากพร้อมกับโปรแกรมที่ใช้ในการตัดต่อ
วิดีโอก็มีให้เลือกใช้มากมายและก็ไม่ยากจนเกินไปที่จะเรียนรู้
สาหรับสื่อนี้จะขอนาเสนอการตัดต่อด้วยโปรแกรม CorelVideo Studio
เพื่อเป็นพื้นฐานในการตัดต่อเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ โปรแกรม Corel VideoStudio Pro X2
เป็นโปรแกรมตัดต่อวีดิโอที่ใช้งานง่ายและมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง
เหมาะสาหรับผู้เริ่มต้นงานตัดต่อวีดิโอ
ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอยู่ในระดับที่ดูเป็นมืออาชีพเลยที่เดียว
ทางผู้จัดทาได้จัดทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(สร้าง/ตัดต่อวีดิโอด้วยCorelVideoStudio Pro X2)
เพื่อให้ผู้อ่านสามารถสร้างงานวีดิโอได้อย่างครบวงจร
ผู้จัดทาได้เขียนอธิบายเนื้อหาอย่างละเอียดเป็นขั้นตอน
ตั้งแต่การนาเข้าไฟล์วีดิโอและแปลงไฟล์งานเพื่อนาเสนอในรูปแบบต่างๆพร้อม Workshop
งานวีดิโออย่างจุใจภายในเล่ม
ข้าพเจ้าในฐานะนิสิตสาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา
จึงมีความสนใจที่จะจัดทาโครงงานการประยุกต์ใช้โปรแกรม FlipAlbum Pro 6.0
ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เรื่องการตัดต่อวีดิโอผ่านโปรแกรมCorelVideo
Studio Pro X2 เพื่อนนาเสนอ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ในการสร้างงานวีดิโอเพื่อแนะนาสถานที่ต่างๆหรือในการนาเสนอข้อมูล
ภายในหน่วยงานและองค์กรถูกนาเข้ามาใช้เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับผู้ฟัง
และก่อให้เกิดความเข้าใจในตัวงานได้ง่ายขึ้น
ขอบข่ายโครงงาน
- โครงงานการประยุกต์ใช้โปรแกรมFlip Album ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
การตัดต่อวีดิโอเพื่อนาเสนอ
- วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ ได้แก่
- หนังสือ CorelVideoStudio Pro X2
-โปรแกรม Flip Album Pro 6.0
-โปรแกรม CorelVideo Studio ProX2
-โปรแกรม Power Point 2007
-เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com, www.youtube.com
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้และสนุกไปกับการเรียนผ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E-book
- เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนาเสนอได้อย่างมีคุณภาพ
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ Corel Video Studio ProX2 เพื่อการตัดต่อวีดิโอ
นิสิตได้ศึกษาจากอินเตอร์เน็ตและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
1. E-book ความสาคัญ
2. คุณสมบัติต่างๆ ที่ควรทราบเกี่ยวกับงานวีดิโอ
3. ข้อมูลโปรแกรม Corel Video Studio ProX2 ( www.google.com)
1. Electronic Book (e-Book)
หมายถึงหนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทั้งในระบบออฟไลน์
และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ
เว็บไซต์ต่าง ๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้
นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ
และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีกประการหนึ่งที่สาคัญก็คือ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา
ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่วไป
1.1ข้อดีของ e-Book
1. อ่านที่ไหน เมื่อไหร่ ได้ตลอดเวลา เนื่องจากพกไปได้ตลอดและได้จานวนมาก
2. ประหยัดการตัดไม้ทาลายป่า เพราะไม่ต้องตัดไม้มาทากระดาษ
3. เก็บรักษาได้ง่าย ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ ประหยัดค่าเก็บรักษา
4. ค้นหาข้อความได้ ยกเว้นว่าอยู่ในลักษณะของภาพ
5. ใช้พื้นที่น้อยในการจัดเก็บ (cd1 แผ่นสามารถเก็บ e-Book ได้ประมาณ 500เล่ม)
6. อ่านได้ในที่มืด หรือแสงน้อย
7. ทาสาเนาได้ง่าย
8. จาหน่ายได้ในราคาถูกกว่าในรูปแบบหนังสือ
9. อ่านได้ไม่จากัดจานวนครั้ง เพราะไม่ยับหรือเสียหายเหมือนกระดาษ
10. สะดวกสบาย ไม่ต้องเดินทาง แค่คลิกเดียวก็สามารถเลือกอ่านหนังสือที่ต้องการได้ทันที
11. เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาธรรมชาติ โดยลดการใช้กระดาษกับ True e-Book
1.2 ข้อเสียของ e-Book
1. ต้องอาศัยพลังงานในการอ่านตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าหรือแบตตารี่
2. เสียสุขภาพสายตา จากการได้รับแสงจากอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์
3. ขาดความรู้สึก หรืออรรถรส หรือความคลาสสิค
4. อาจเกิดปัญหากับการ ลง hardware หรือ software ใหม่หรือแทนที่อันเก่า
5. ต้องมีการดูแลไฟล์ให้ดี ไม่ให้เสียหรือสูญหาย
6. การอ่านอาจเกิดอันตรายต่อสายตา
7. เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ได้ง่าย
8. ไม่เหมาะกับบาง format เช่นรูปวาด รูปถ่าย แผนที่ใหญ่เป็นต้น
1.3 ประโยชน์ของ e-Book
1.3.1สาหรับผู้อ่าน
1. ขั้นตอนง่ายในการอ่าน และค้นหาหนังสือ
2. ไม่เปลืองเนื้อที่ในการเก็บหนังสือ
3. อ่านหนังสือได้จากทุกที่ที่มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
1.3.2 สาหรับห้องสมุด
1. สะดวกในการให้บริการหนังสือ
2. ไม่ต้องใช้สถานที่มากในการจัดเก็บหนังสือ และไม่เสียค่าใช้จ่ายในส่วนนี้
3. ลดงานที่เกิดจากการซ่อม จัดเก็บ และการจัดเรียงหนังสือ
4. ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการจ้างพนักงานมาดูแลและซ่อมแซมหนังสือ
5. มีรายงานแสดงการเข้ามาอ่านหนังสือ
1.3.3สาหรับสานักพิมพ์และผู้เขียน
1. ลดขั้นตอนในการจัดทาหนังสือ
2. ลดค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการจัดพิมพ์หนังสือ
3. ลดค่าใช้จ่ายในการจัดจาหน่ายผ่านช่องทางอื่นๆ
4. เพิ่มช่องทางในการจาหน่ายหนังสือ
5. เพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ตรงถึงผู้อ่าน
1.4 ข้อจากัดของ E-book
เนื่องจากอาจเกิดปัญหากับการ ลง Hardware หรือ Software ใหม่หรือแทนที่อันเก่า
ดังนั้นจึงต้องมีโปรแกรมและเครื่องมือในการอื่น คือ Hardware ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์
หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆ พร้อมทั้งระบบติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือ Software
ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ ตัวอย่างเช่น Organizer แบบพกพา Pocket PC หรือ PDA เป็นต้น การดึงข้อมูล E-
Book ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่าน ก็จะใช้วิธีการ Download
ผ่านทางอินเตอร์เน็ตเสียเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามมิใช่ว่า
Hardwareทุกชนิดจะอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้ เนื่องจากมีข้อจากัดของชนิดไฟล์บางประเภทนั่นเอง
ซึ่งต้องมีการแก้ปัญหาด้วยการนา Softwareบางตัวมาช่วยสาหรับ Software ที่ใช้งานกับ E-Book
ในปัจจุบันมีสองประเภทคือ Softwareที่ใช้อ่านข้อมูลจาก E-Book และ Software
ที่ใช้เขียนข้อมูลออกมาเป็น E-Book นอกจากนี้ผู้ใช้ต้องมีการดูแลไฟล์ให้ดี ไม่ให้เสียหรือสูญหาย
คานึงเสมอว่าการอ่านอาจเกิดอันตรายต่อสายตา E-Bookนี้ ไม่เหมาะกับบาง format เช่น รูปวาด รูปถ่าย
แผนที่ใหญ่เป็นต้น
อ้างอิง
http://06550128-01.blogspot.com/
2. เริ่มต้นกับงานวีดิโอ
งานวีดิโอเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับเรามากขึ้น
ไม่ว่าจะเป็นการนาเสนองานจากภาพนิ่งมาสู่งานวีดิโอที่ช่วยเพิ่มความน่าสนใจมากขึ้น
หรือการบันทึกเหตุการณ์สาคัญต่างๆเป็นงานวีดิโอ ด้วยราคากล้องวีดิโอที่ลดลงมามาก
ทาให้หลายคนหาซื้อมาเป็นเจ้าของได้ไม่ยาก ในบทนี้เราจะมาทาความรู้จักงานวีดิโอ
และประโยชน์อันหลากหลายของงานวีดิโอ พร้อมโปรแกรมสาหรับงานตัดต่อวีดิโอยอดฮิตอย่าง Video
Studio ซึ่งปัจจุบันได้ย้ายมาอยู่ค่าย Corel อย่างเต็มตัว และเวอร์ชั่นล่าสุดคือ Corel VideoStudio X2
หรือเวอร์ชั่น 12นั่นเอง
ประโยชน์ของงานวีดิโอ
ปัจจุบันงานวีดิโอได้เข้ามามีบทบาทสาคัญมากขึ้นในแทบทุกวงการ
นั่นเป็นเพราะต้นทุนการผลิตที่ถูกลงและเทคนิคการตัดต่อโปรแกรมต่างๆ ที่ใช้งานง่าย
ส่งผลให้หน่วยงานทั่วไปหันมาใช้วีดิโอเป็นสื่อทดแทนการนาเสนอในรูปแบบเดิมๆ
ในที่นี้จะขอแนะนาประโยชน์ของงานวีดิโอเบื้องต้น ดังต่อไปนี้
นาเสนองานในองค์กรและหน่วยงาน
การสร้างงานวีดิโอเพื่อแนะนาสถานที่ต่างๆหรือในการนาเสนอข้อมูลภายในหน่วยงานและองค์กร
ถูกนามาใช้เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับผู้ฟัง และก่อให้เกิดความเข้าใจในตัวงานได้ง่ายขึ้น
ทาสื่อการสอนเพื่อการศึกษา
คุณครูสามารถสร้างสื่อการสอนในรูปแบบของวีดิโอได้ เช่น ในสื่อการสอนสนทนาภาษาอังกฤษ
คุณครูอาจสัมภาษณ์ชาวต่างชาติที่มาอยู่ในเมืองไทย
หรือการจัดทาเป็นวีดิโอสอนวิธีใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เป็นต้น
นาเสนอรายงาน วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยต่างๆ
เปลี่ยนวิธีนาเสนอรายงานจากการใช้เพียงภาพประกอบ แผ่นชาร์ท
หรือแผ่นใสมานาเสนอในรูปแบบของวีดิโอก็จะทาให้ผู้ฟังบรรยายได้เห็นภาพชัดเจนขึ้น
และเกิดความเข้าใจได้ง่าย น่าสนใจกว่าการนาเสนอที่มีแต่ข้อมูลและภาพนิ่งเพียงอย่างเดียว
วีดิโอสาหรับบุคคลพิเศษ
บุคคลพิเศษในที่นี้อาจหมายถึงวิทยากรที่เราเชิญมาบรรยาย ผู้จัดการที่กาลังจะเกษียณ อายุ เจ้าของวันเกิด
คู่บ่าวสาว เพื่อเป็นการให้เกียรติและสร้างความประทับใจให้กับเจ้าของงาน
และยังช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีได้ไม่น้อย
แนวทางในการสร้างงานวีดิโอ
แท้จริงแล้วการตัดต่อวีดิโอเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการทางานวีดิโอเท่านั้น
เพราะกว่าที่เราจะได้ผลงานวีดิโอคุณภาพดีๆ ออกมาสักเรื่องหนึ่ง
จาเป็นต้องผ่านขั้นตอนอื่นๆที่สาคัญมาก่อน ในส่วนนี้ขอแนะนาขั้นตอนต่างๆ ที่ควรมีในการทางานวีดิโอ
เพื่อให้เราสามารถได้งานที่ตรงตามความต้องการและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
โดยมีลาดับแนวคิดในการสร้างงานวีดิโอ ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1:การวางแผนและการเตรียมงาน
ขั้นตอนที่ 2: การถ่ายทาและเตรียมข้อมูลอื่นๆที่ต้องใช้ประกอบ
ขั้นตอนที่ 3:การตัดต่อวีดิโอ
ขั้นตอนที่ 4:การนางานวีดิโอที่ได้ออกไปเผยแพร่
การวางแผนและเตรียมงาน
อันดับแรกของการทางานวีดิโอทุกงาน ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายงานพิเศษต่างๆ ทาสารคดี หนังสั้น
หรือทาสื่อการสอน สิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือการวางแผน
การวางแผนทาให้รู้ว่าควรจะถ่ายอะไรมาบ้าง อะไรที่จาเป็นต้องเก็บภาพ หรืออะไรที่ไม่จาเป็นต้องเก็บ
เพราะบางครั้งโอกาสก็ไม่สามารถหวนกลับมาอีก เช่น ถ้าเราจะถ่ายงานแต่งงานเพื่อน
แต่ไม่ได้ศึกษามาก่อนว่าควรจะถ่ายภาพในช่วงใดบ้าง หรือควรจะถ่ายใครที่เป็นแขกพิเศษหรือไม่
เมื่อถึงเวลาก็อาจจะพลาดช่วงเวลาสาคัญไปได้ หรือบางครั้งต้องเดินทางไปถ่ายทาในที่ไกลๆ
หากวางแผนไม่ดีก็อาจจะพลาดไม่ได้ถ่ายบางส่วนมา จะกลับไปถ่ายใหม่ก็ไม่ได้แล้ว เป็นต้น
สิ่งที่เราสามารถทาในการวางแผนมีดังนี้
จัดทาสคริปต์การถ่ายทา หรือสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
สคริปต์การถ่ายทาหรือสตอรี่บอร์ด
จะช่วยทาให้เรารู้ว่าจะต้องถ่ายทาอะไรบ้างและถ่ายทาในเวลาใดเรียงลาดับกันไป
บางครั้งการถ่ายทาอาจจะข้ามไปข้ามมาไม่ได้เรียงตามเนื้อหาจริงๆ
เพราะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของเวลาในการถ่ายทา สคริปต์และสตอรี่บอร์ดก็จะช่วยเราได้มากในตอนนี้
การทาสคริปต์การถ่ายทา หรือสตอรี่บอร์ด ช่วยทาให้สามารถถ่ายทาได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น
3. ข้อมูลโปรแกรม Corel Video Studio Pro X2
การตัดต่อและลาดับภาพ
เมื่อได้ไฟล์วีดิโอทั้งหมดแล้วขั้นตอนต่อไปก็คือการนาข้อมูลทั้งหมดมาเรียงลาดับและตัดต่อส่วนที่ไม่จาเป็
นออกไป ซึ่งเราเรียกว่า “การลาดับภาพ” ซึ่งหากเรามีสคริปต์การถ่ายทาและถ่ายทามาอย่างดี
การลาดับภาพก็ง่ายขึ้น
การใส่เทคนิคด้านภาพ
การใส่เทคนิคพิเศษด้านภาพ เช่นใส่เทคนิคการเปลี่ยนฉาก แทรกข้อความ ทาให้ภาพมีสีสันแปลกตา
สิ่งเหล่านี้ช่วยทาให้งานวีดิโอของเรามีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งในโปรแกรม Corel VideoStudio
ก็มีให้เราเลือกใช้และดัดแปลงได้อย่างไม่จากัด
การใส่ดนตรีประกอบ
ดนตรีช่วยทาให้เราสามารถแสดงความรู้สึก อารมณ์ที่ต้องการสื่อสารในงานวีดิโอออกมาได้ง่ายขึ้น
การเลือกดนตรีประกอบให้เหมาะสมจึงเป็นสิ่งที่สาคัญ ซึ่งเราไม่ควรมองข้ามไป
การนางานวีดิโอที่ได้ออกไปเผยแพร่
นี่คือขั้นตอนสุดท้าย
ก็คือการแปลงไฟล์งานของเราให้เหมาะสมกับการเผยแพร่เพราะปัจจุบันมีสื่อให้เลือกเผยแพร่งานวีดิโอมาก
มาย เช่นทาเป็นแผ่นวีซีดีหรือดีวีดีทาเป็นไฟล์ MP4 เพื่อใช้ในการเล่นหรือนาไปเผยแพร่ในอินเทอร์เน็ตก็ได้
บทที่3
วิธีดาเนินงาน
ในการจัดทาโครงงานการประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album Pro6.0 ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
การตัดต่อวีดิโอผ่านโปรแกรม CorelVideo Studio ProX2 เพื่อนาเสนอ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร
ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 20 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 20
คนได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling)
โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว
แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้
2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว
จานวน 3 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบกลุ่ม จานวน 15 คน
2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบภาคสนาม จานวน 20คน
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ ได้แก่
- เครื่องคอมพิวเตอร์
- โปรแกรม Flip Album Pro6.0 ใช้นาเสนอสื่อการสอน
- โปรแกรม CorelVideo Studio ProX2 เนื้อหาการสอน
- โปรแกรม Power Point 2007 ใช้นาเสนอเรียบเรียง
- เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com , www.youtube.com
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัดทาโครงการ
2. นาเสนอชื่อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาขออนุมัติ
3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือ การประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album Pro 6.0
ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอกนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดิโอ ผ่านโปรแกรม CorelVideo Studio
ว่ามีเนื้อหามากน้อยแค่ไหน
และต้องศึกษาเพิ่มเติมจากเว็บไซต์ต่างๆเพื่อเรียบเรียงข้อมูลในการทาเนื้อหาต่อไป
4. จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสารเพื่อนาเสนอ อาจารย์ที่ปรึกษา
5. สร้างชิ้นงาน โดยโปรแกรม Flip Album Pro6.0
6. ประเมินคุณภาพชิ้นงานวีดิทัศน์ โดยผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3 คน
7. ปรับปรุงต้นแบบชิ้นงาน
8. ทดลองชิ้นงานวีดิโอกับกลุ่มตัวอย่าง
9. เขียนรายงาน จัดทารูปเล่มโครงงานแบบฉบับสมบูรณ์
10.บันทึกลง CD-ROM
11.นาผลงานขึ้น Google Site
ตารางการปฏิบัติงานโครงงาน
เรื่อง สื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์:โปรแกรม CorelVideo Studio
ลาดับ รายการปฏิบัติ กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน หมายเห
ตุ1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
1
ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัดโครงงา
น
2 เสนอเรื่องโครงงานเพื่อขออนุมัติ
3 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
4 รวบรวมข้อมูล
5 สร้างชิ้นงานสื่ออิเล็กทรอกนิกส์
6
ประเมินคุณภาพชิ้นงานสื่ออิเล็กท
รอกนิกส์
7
ปรันปรุงชิ้นงานสื่ออิเล็กทรอกนิก
ส์
8 ทดลองชิ้นงานกับกลุ่มตัวอย่าง
9 วิเคราะห์ข้อมูล
10 เขียนรายงานจัดทารูปเล่ม
11 นาผลงานขึ้น google site
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย
1. การสร้างแบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
กราฟิกเบื้องต้นผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างแบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1.1 ศึกษาเอกสารการประเมินสื่อการสอน
1.2 เลือกแบบประเมินคุณภาพมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาของกรมวิชาการ (กรมวิชาการ,2542)
1.3 ปรับปรุงแบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ให้สอดคล้องกับคุณสมบัติของ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
1.4 กาหนดระดับการประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไว้5 ระดับ คือ
ดีมาก = 5
ดี = 4
ปานกลาง = 3
พอใช้ = 2
ควรปรับปรุง = 1
ซึ่งเกณฑ์การยอมรับคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
จะพิจารณาตามคาถามแต่ละข้อข้อที่ผ่านเกณฑ์จะต้องได้คะแนนเฉลี่ยดีถึงดีมาก
และคะแนนเฉลี่ยรวมต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ดี จึงจะสามารถนาไปทดลองได้ โดยกาหนดระดับการประเมิน 5
ระดับดังนี้
คะแนน 1.00 –1.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุงอย่างยิ่ง
คะแนน 1.50 –2.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุง
คะแนน 2.50 –3.49 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง
คะแนน 3.50 –4.49 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับดี
คะแนน 4.50 –5.00 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยดาเนินการทดลองตามขั้นตอนต่อไปนี้
1.ขั้นตอนการก่อนการทดลอง
1.1ขั้นเตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ซึ่งประกอบด้วย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เรื่องการตัดต่อวีดิโอ แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อวีดิโอ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และตารางเวลานัดหมายผู้เรียน
1.2 กาหนดระยะเวลาในการทดลอง
1.3 ติดต่อขออนุญาตใช้ห้องคอมพิวเตอร์
1.4 ติดต่อขออนุญาตอาจารย์รายวิชานากลุ่มตัวอย่างมาทดลองตามวันที่ได้กาหนด
1.5 ทดสอบความพร้อมของห้องคอมพิวเตอร์ก่อนทดลองจริง
2. ขั้นดาเนินการทดลอง
ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดลองตามขั้นตอนต่อไปนี้
2.1 ให้กลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการทดลองมาทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์โดยใช้เวลา ประมาณ 20นาที
2.2 ผู้วิจัยอธิบายกลุ่มตัวอย่างให้ทราบถึงจุกประสงค์ของการทดลอง
2.3ให้กลุ่มตัวอย่างทดลองฝึกการทาเครื่องหมายบนใจความสาคัญ ใช้เวลาประมาณ 10 นาที
2.4 จากนั้นกลุ่มตัวอย่างศึกษาเนื้อหาจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อเป็นรายบุคคล
ผู้วิจัยจะคอยสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนตลอดการเรียน ในขั้นตอนนี้จะใช้เวลาประมาณ 1ชั่วโมง 30 นาที
2.5เมื่อหมดเวลา ผู้วิจัยสอบถามถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
2.6ให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยใช้เวลาประมาณ 30 นาที
2.7ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการตรวจให้คะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่าง มีเกณฑ์การให้คะแนน 1 คะแนนสาหรับคาตอบ
ที่ถูกต้อง และให้ 0คะแนนสาหรับคาตอบที่ผิดหรือไม่ตอบ และนาคะแนนที่ได้มาหาค่า E1/ E2
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
1. การหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากสูตร E1/ E2
โดยนาคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2. ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรม
3. หาค่าระดับความยากง่ายและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี้
1. สถิติที่เกี่ยวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากสูตรE1/ E2 ซึ่งดัดแปลงจาก ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2533:
139) ซึ่งใช้สูตรดังนี้คือ
เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการที่จัดไว้ในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เมื่อ E2 คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียน
บทที่ 4
ผลการศึกษาค้นคว้า
ในบทนี้จะเป็นการนาเสนอเฉพาะผลที่ได้จากการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ผลการประเมินชิ้นงานจากผู้เชี่ยวชาญ
การประเมินต้นแบบชิ้นงาน คือ การตรวจสอบสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยผ่านผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3คน คือ
ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา
ทั้งนี้เพื่อได้รับการแนะนาที่ถูกต้องและช่วยให้สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้นให้ออกมาใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภ
าพ จากผลการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างสื่ออิเล็กทรอนิกส์กับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (OIC)
ผลปรากฏว่าได้ 0.7 คะแนน หมายถึง สามารถนาสื่อการสอนไปใช้ได้จริง
ผลการนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริง
ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นั้นจาเป็นต้องผ่านการตรวจสอบหลากหลายขั้นตอน
จึงจะได้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่เต็มประสิทธิภาพ หลังจากผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ
ผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญเรียนร้อยแล้วหลังจากนั้นผู้จัดทาโคร
งงานได้นาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงโดยแบ่งการทดลองเป็น 3
แบบ ดังนี้
ในการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงโดยใช้เครื่องมือดังนี้เพื่อหาค่าประสิทธิภาพสื่อการสอน
 แบบทดสอบก่อนเรียน
 แบบประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
 แบบทดสอบหลังเรียน
และผู้จัดทาโครงงานได้กาหนดเกณฑ์ของค่าประสิทธิภาพสื่อการสอนไว้คือ 80/80
1.
การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายบุคค
ล
จากการทดลองนาอิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายบุคคล
ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 3 คน
ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 ดังนี้
คนที่ ก่อนเรียน
(15)
ระหว่างเรียน(15) หลังเรียน
(15)
E1 E2
1 8 9 10 66 60
2 9 11 12 80 73
3 7 10 12 66 80
โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = หลังเรียน/คะแนนเต็ม*100
คะแนนเต็มรวมทั้งหมด
E2 = ระหว่างเรียน/คะแนนเต็ม*100
คะแนนเต็มรวมทั้งหมด
ผลปรากฏว่า
คนที่ 1 ได้66/60 คนที่ 2 ได้80/73 คนที่ 3 ได้66/80
ดังนั้นการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายบุคคล "ไม่ผ่านเกณฑ์ "
และผู้ทาการทดสอบได้ให้ข้อเสนอแนะและบอกถึงปัญหาที่พบ
คือ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ไร้อารมณ์ไม่มีเสียงเพลงคอยกระตุ้น
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ช้าไปทาให้น่าเบื่อ
ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
เพื่อในการนาไปทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่มต่อไป
2. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่ม
จากการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่ม
ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน
ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 ดังนี้
กลุ่มที่ 1
คนที่ ก่อนเรียน
(15)
ระหว่างเรียน(15) หลังเรียน
(15)
E1 E2
1 8 12 12 80 80
2 8 12 12 80 80
3 7 10 11 73 66
4 9 9 12 80 60
5 6 10 13 86 66
รวม 38 53 60 80 70
กลุ่มที่ 2
คนที่ ก่อนเรียน
(15)
ระหว่างเรียน(15) หลังเรียน
(15)
E1 E2
1 7 12 13 86 80
2 5 12 13 86 80
3 6 12 12 80 80
4 8 12 13 86 80
5 8 12 12 80 80
รวม 34 60 63 84 80
กลุ่มที่ 3
คนที่ ก่อนเรียน
(15)
ระหว่างเรียน(15) หลังเรียน
(15)
E1 E2
1 7 12 13 86 80
2 8 12 13 86 80
3 9 12 12 80 80
4 8 12 13 86 80
โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = คะแนนทั้งหมดหลังเรียน
คะแนนเต็มรวมทั้งหมด
E2 = คะแนนทั้งหมดระหว่างเรียน
คะแนนเต็มรวมทั้งหมด
ผลปรากฏว่า
กลุ่มที่ 1 80/70 กลุ่มที่ 2 84/80 กลุ่มที่ 3 84/80
ดังนั้นการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่ม " ผ่านเกณฑ์ 2 กลุ่ม และ
ไม่ผ่านเกณฑ์ 1กลุ่ม " และผู้ทาการทดสอบได้ให้ข้อเสนอแนะและบอกถึงปัญหาที่พบ คือ -
สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น เข้าใจยากไปควรกระชับเนื้อหาให้เข้าใจง่ายไม่สับซ้อน
-สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ควรแยกเป็นตอนๆเพื่อให้สามารถกลับไปศึกษาย้อนหลังเป็นตอนๆได้
ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียนร้อยแล้ว
เพื่อในการนาไปทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพจริงต่อไป
5 8 12 12 80 80
รวม 40 60 63 84 80
* 100
* 100
3. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพจริง
จากการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพจริง
ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพาจานวน 20 คน
ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 ดังนี้
คนที่ ก่อนเรียน
(15)
ระหว่างเรียน(15) หลังเรียน
(15)
E1 E2
1 7 12 13 86 80
2 8 12 14 93 80
3 9 12 12 80 80
4 7 11 12 80 73
5 8 12 12 80 80
6 8 11 13 86 73
7 9 12 13 86 80
8 8 13 13 86 86
9 7 11 12 80 73
10 9 12 13 86 80
11 9 11 13 86 73
12 9 12 13 86 80
13 8 13 13 86 86
14 9 12 12 80 80
15 7 12 13 86 80
16 9 13 13 86 86
17 8 12 13 86 80
18 9 12 14 93 80
19 8 13 13 86 86
20 9 12 13 86 80
รวม 165 240 244 81 80
โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = คะแนนทั้งหมดหลังเรียน
คะแนนเต็มรวมทั้งหมด
E2 = คะแนนทั้งหมดระหว่างเรียน
คะแนนเต็มรวมทั้งหมด
ผลปรากฏว่า
ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบรวม 81/80 ดังนั้น การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสถานการณ์จริง" ผ่านเกณฑ์ "
และผู้ทาการทดสอบได้ให้ข้อเสนอแนะและบอกถึงปัญหาที่พบ
คือ -สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อาจจะเร็วน้อยไปในบางหัวข้อ
ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียนร้อยแล้ว
เพื่อในการนาไปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในอนาคตต่อไป
* 100
* 100
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า อภิปรายและเสนอแนะ
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้กาหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษา สมมุติฐานของการศึกษา
วิธีการดาเนินการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล
สรุปผลและการอภิปรายผลการศึกษาและข้อเสนอแนะดังนี้
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. วัตถุประสงค์ทั่วไป
เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Corel Video Studio
2. วัตถุประสงค์เฉพาะ
2.1 เพื่อสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Corel Video Studio
2.2 เพื่อหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นให้ได้ประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ที่กาหนด
(80/80)
สมมุติฐานของการศึกษา
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด (80/80)
ขอบเขตของการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ มุ่งพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และเพื่อให้การศึกษาเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตการวิจัย ดังนี้
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร
ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 20 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 30คนได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย
(Simple Random Sampling)
โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว
แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้
2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว
จานวน 3 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบกลุ่ม จานวน 15 คน
2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบภาคสนาม จานวน 20คน
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
- เครื่องคอมพิวเตอร์
- โปรแกรม Flip Album Pro6.0 ใช้นาเสนอสื่อการสอน
- โปรแกรม CorelVideo Studio ProX2 เนื้อหาการสอน
- โปรแกรม Power Point 2007 ใช้นาเสนอเรียบเรียง
- เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com , www.youtube.com
ตัวแปรที่ศึกษา
การวิจัยครั้งนี้มีตัวแปรที่ศึกษา 2 ตัวคือ
4.1 ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
การตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม CorelVideo Studio
4.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ได้เรียนเนื้อหาจาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
สรุปผลการค้นคว้า
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องกราฟิกเบื้องต้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81/80 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
การอภิปรายผล
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะพัฒนาและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง การตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Corel Video Studio ให้ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลสามารถอภิปรายได้ดังนี้
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม
Corel Video Studio มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81/80 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานของการวิจัยที่ได้ตั้งไว้
สอดคล้องกับวิจัยของ คลีเมนท์ (Clement,1993, quoted in Coutts and Hart,2009 : 19)
ที่ได้พัฒนาซีดีรอมมัลติมีเดียวิชาศิลปะขึ้น และได้รับผลสาเร็จมากในการทดลอง
ซึ่งข้อค้นพบนี้สอดคล้องกับการวิจัยของเกษมศรี พรหมภิบาล (2543 :บทคัดย่อ)
ที่ได้ศึกษาผลของการสอนวิชาการออกแบบ 1ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก พบว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้
และสอดคล้องกับกาการวิจัยของบาร์กเกอร์และกิลเลอร์
ที่ได้ศึกษาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์เพื่อการสอนภาษาฝรั่งเศสเปรียบเทียบกับก
ารสอนวิธีอื่นๆซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจ นอกจากนั้น ศิริยงค์ ฉัตรโท (2539 :บทคัดย่อ)
ได้สรุปในงานวิจัยของเขาว่า การสร้างสื่อนาเสนอแบบอินเตอร์แอคทีฟ
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
หากจะมาวิเคราะห์กันว่าอะไรคือสิ่งที่ทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
การตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม CorelVideo Studio มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 จะได้ว่า
ประการที่ 1
ได้มีการออกแบบบทเรียนในลักษณะที่มีการเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ทาให้บทเรียนไม่น่าเบื่อ
ผู้เรียนจะต้องมีการปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนอย่าสม่าเสมอ ทาให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียน
(ถนอมพร เลาหจรัสแสง,2541 :62)
ประการที่ 2ในการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องกราฟิกเบื้องต้น
ผู้วิจัยได้ออกแบบอยู่บนพื้นฐานจิตวิทยาแรงจูงใจ
โดยใช้ไฮเปอร์เท็กซ์และแบบทดสอบเป็นแรงจูงใจในการเรียน จาดพื้นฐานการอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์
ก่อให้เกิดการกระตุ้นให้เกิดการอยากรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีสิ่งที่แนะ (cue)
ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ ขึ้น (ธีรพงษ์วิริยานนท์,2543 : 46; มาลินี จุฑะรพ,2539 :138;
ไพบูลย์ เทวรักษ์,2537 : 113-115;โสภา ชูพิกุลชัย,2521 : 56-62)
จากหลักการดังกล่าวข้างต้น ประกอบกับขั้นตอนการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อย่างมีระบบ
ทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Corel Video Studio
ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
สามารถนาไปประกอบการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
1.1 การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีจานวนหน้ามากๆด้วยโปรแกรม Flip Album Pro
จะมีจานวนการเชื่อมโยง (Link) มากตามไปด้วย ทาให้เสียเวลาค่อนข้างมาก และเกิดการผิดพลาดได้
ง่ายจึงควรสร้างเป็นเทมเพลท ที่เชื่อมโยงกันไว้เรียบร้อยแล้ว
2. ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการวิจัยเปรียบเทียบรูปแบบการบันทึกใจความสาคัญในรูปแบบต่างๆได้แก่ การ
ทาเครื่องหมายลงบนใจความสาคัญโดยตรง, การให้ผู้เรียนคัดลอกหรือพิมพ์ใจความสาคัญลงใน
โปรแกรม (NOTEPAD) และการคัดลอกลงกระดาษ เป็นต้น ว่าจะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
หรือไม่
2.2 ควรมีการเปลี่ยนสื่อที่ใช้ในการวิจัยหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์จากซีดีรอมไปเป็น อินเตอร์เน็ตบ้าง
ภาคผนวก
1.โครงงานพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ CorelVideo Studio เพื่อการตัดต่อ
2. เครื่องมือที่ใช้ในโครงงาน
2.1 แบบทดสอบก่อนเรียน
2.2 แบบประเมินชิ้นงาน
2.3 แผนการจัดการเรียนรู้
3. ข้อมูลผู้จัดทาโครงงาน
อ้างอิง
http://06550128-01.blogspot.com/
http://www.krukittinankwc.org/home/index.php/into-to-corel
http://www.tharua.ac.th/elearning/caivideostudio/webpage/chap
ter1.html
https://www.google.co.th/?gws_rd=cr&ei=x6lYVYbsIY29ugS9k
4C4Cw#q=corel+videostudio+pro+x2
https://www.youtube.com/watch?v=SB8aj_dhaG4
แบบทดสอบก่อนเรียน
1. "สื่อประสม"มีคาศัพท์ภาษาอังกฤษตามข้อใด
1. Media 2. Multimedia
3. Multi 4. Compute
2. ระบบNTSC จะแสดงผลกี่เฟรมต่อวินาที
1. 25 2. 30
3. 35 4. ถูกทุกข้อ
3. ระบบPAL จะแสดงผลกี่เฟรมต่อวินาที
(ใช้ตัวเลือกในข้อ2)
4. ไฟล์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นไฟล์รูปภาพ
1. v1.MPEG 2. Dd.doc
3. tt.JPG 4. Doc.html
5. ไฟล์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นไฟล์วีดิโอ
(ใช้ตัวเลือกในข้อ4)
6. ข้อใดเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ตัดต่อเสียง
1. Microsoft Word
2. Sound Forge
3. InternetExplorer
4. Dreamweaver
7. ข้อใดจัดเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการตกแต่งภาพกราฟิก
1. Mozilla Firefox
2. Microsoft Excel
3. Photoshop
4. Windows
8. ข้อใดจัดเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการตัดต่อวีดิโอ
1. Corel Video Studio
2. Windows Movies Maker
3. Adobe Premiere
4. ถูกทุกข้อ
9. ไฟล์ในข้อใดเป็นไฟล์ที่อยู่ในรูปเสียง
1. Fire.doc 2. Micro.html
3. Photo.bmp 4. m2.mp3
10. ในการตัดต่อวีดิโอนักเรียนแก้ไขข้อมูลด้วยมุมมองในข้อใด
1. Capture 2. Edit
3. Share 4. Image
แผนจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วิชาคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่อง การพัฒนา E-book เรื่อง การสร้างโปรแกรม CorelVideoStudio
เพื่อการตัดต่อวีดิทัศน์เพื่อสร้างชิ้นงาน
สาระสาคัญ
ในปัจจุบันงานวิดีโอได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของเรามากขึ้น
ด้วยความสามารถของงานทางด้านมัลติมีเดีย ที่ทาให้การนา เสนองานของเราน่าสนใจแล้ว
ราคากล้องวิดีโอก็ราคาถูกลงมามากและหาซื้อได้ไม่ยาก พร้อมกับโปรแกรมที่ใช้ในการตัดต่อ
วิดีโอก็มีให้เลือกใช้มากมายและก็ไม่ยากจนเกินไปที่จะเรียนรู้
สาหรับสื่อนี้จะขอนาเสนอการตัดต่อด้วยโปรแกรม Corel Video Studio เพื่อเป็นพี้นฐานในการตัดต่อ
เพื่อนาไปใช้ประโยชน์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ผู้เรียนสามารถใช้โปรแกรมตัดต่อ Corel ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ
2. ผู้เรียนสามารถใช้เครื่องมือในโปรแกรม Corel ในการตัดต่อวีดิทัศน์เพื่อสร้างชิ้นงาน
3. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องการตัดต่อด้วยโปรแกรม Corel
เพื่อได้ความรู้และสามารถสร้างชิ้นงานได้
4. ผู้เรียนสามารถสร้างวีดีทัศน์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์และสร้างสรรค์ผลงานได้
ขอบเขต/เนื้อหา
- แนะนาการใช้โปรแกรม Corel Video Studio
วิธีติดตั้งโปรแกรม
วิธีการเข้าสู่โปรแกรม
ส่วนประกอบประโยชน์และหน้าที่ของโปรแกรม
- สอนการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิทัศน์ Corel Video Studio เพื่อสร้างชิ้นงาน
รู้จักกับเครื่องมือโปรแกรม Corel เบื้องต้น
รู้จักขั้นตอนการสร้างวีดิทัศน์เบื้องต้น
รู้จักวิธีการสร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยเครื่องมือต่างๆ(toolbar)
รู้จักวิธีการแทรกภาพ เสียง วีดิโอ
รู้จักวิธีการ Save งานและเผยแพร่งานได้
รู้จักวิธีการแทรก Front ตัวหนังสือ
รู้จักวิธีการแทรกแอนิเมชั่นของฉากหลักได้
รู้จักวิธีการแทรก Transition ได้อย่างถูกหลัก
กระบวนการจัดการเรียนรู้
- ผู้สอนบรรยายโปรแกรม Corel ที่ต้องเรียน
- ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
- แนะนาเครื่องมือโปรแกรม Corel
- ให้ความรู้คาแนะนาเทคนิคในการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิทัศน์ได้
- สอนการใช้โปรแกรมตัดต่อ Corel และสร้างสรรค์ชิ้นงานได้
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
- หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดีทัศน์ด้วย Corel Video Studio
- แบบทดสอบ
- แบบสังเกตพฤติกรรม
การวัดผลและประเมินผล
1. วิธีการวัด
- สังเกตความสนใจ และการทาตาม
- คะแนนแบบทดสอบ
- คะแนนชิ้นงาน
2. เครื่องการวัดผลประเมินผล
- ถาม-ตอบ
- แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80ขึ้นไป
ข้อมูลผู้จัดทาโครงงาน
ชื่อ นายนิติ ประดิษฐศิลป์
รหัสนิสิต 55540146
คณะศึกษาศาสตร์
เทคโนโลยีการศึกษา (พิเศษ)
โทร 0859789898
คานา
ระบบสารสนเทศมีความสาคัญและความจาเป็นอย่างยิ่งในการศึกษาค้นหาข้อมูลต่าง ๆ
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้จาเป็นต้องเรียนรู้เพื่อให้ก้าวทันกับความเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้ น สามารถนาเทคโนโลยีนั้ นมาประยุกต์ใช้ให้เป็ นประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
โดยเฉพาะด้านการศึกษา ที่ส่งผลให้นาเทคโนโลยีมาใช้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ห นั งสื ออิ เล็ ก ท ร อนิ ก ส์ (e-Book) เกิ ด จาก ค วาม ก้ าวห น้ าข อง เท ค โน โล ยี
พัฒนาเอกสารให้อยู่ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการให้ความรู้แก่คนที่สนใจอีกช่องทางหนึ่ง
ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ข้ า ถึ ง ก า ร เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง ส ะ ด ว ก ร ว ด เ ร็ ว
ตามความต้องการและศักยภาพของแต่ละบุคคลมีคุณลักษณะสาคัญที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดความใฝ่
รู้ใฝ่เรียน สนุกสนาน จากภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารคู่มือการสร้าง e-Book ด้วยโปรแกรม Flip Album 6 Pro
เ ล่ ม นี้ จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ค น ที่ ส น ใ จ
ในการพัฒนาสื่อเอกสารเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องต
ลอดชีวิต
ผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
บทที่ ๑ ๑-๒
บทที่ ๒ ๓-๙
บทที่ ๓ ๑๐-๑๕
บทที่ ๔ ๑๖-๒๑
บทที่ ๕ ๒๒-๒๕

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์bscreech
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4Nuchy Geez
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bamm Thanwarat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Kanjanaporn Thompat
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
firstyuppedu
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
Yok Sarinee
 
โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435Praw Vanitt
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์Wirachat Inkhamhaeng
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
Prachyanun Nilsook
 
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์Kitti Thepsuwan
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมsorfreedom
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
Chu Ching
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
กันต์ ตีห้า
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
supatra2011
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSomsak Kaeosijan
 
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
Earnzy Clash
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Peeravit Tipneht
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Σπουδές στη Φυσική
Σπουδές στη ΦυσικήΣπουδές στη Φυσική
Σπουδές στη Φυσική
Athanasios Psaltis
 
Investment Climate- Germany
Investment Climate- GermanyInvestment Climate- Germany
Investment Climate- Germany
Dr Dev Kambhampati
 
Bluetooth marketing device bt pusher pro+ with gprs-1
Bluetooth marketing device   bt pusher pro+ with gprs-1Bluetooth marketing device   bt pusher pro+ with gprs-1
Bluetooth marketing device bt pusher pro+ with gprs-1
Devicegate Technology Co., Ltd.
 
Foro de debate y argumentación gr
Foro de debate y argumentación grForo de debate y argumentación gr
Foro de debate y argumentación gr
Veronica cari calcina
 
Affordable e waste recycling for the marketing agencies of sydney
Affordable e waste recycling for the marketing agencies of sydneyAffordable e waste recycling for the marketing agencies of sydney
Affordable e waste recycling for the marketing agencies of sydney
smtwastebrokers
 
Promozione app prima-durante-dopo
Promozione app prima-durante-dopoPromozione app prima-durante-dopo
Promozione app prima-durante-dopo
Simone Minzi
 
Ch07s
Ch07sCh07s
ME
MEME
ME
emske
 
CleverAdvice Company Profile it
CleverAdvice Company Profile it CleverAdvice Company Profile it
CleverAdvice Company Profile it Silvia Aronadio
 
물뽕 3방울이면 박근혜도 미친년으로 된다.【카톡:SKP999 & DDF11.KR】물뽕 50mg정품파는곳,물뽕 50mg구입,물뽕 50mg팝니...
물뽕 3방울이면 박근혜도 미친년으로 된다.【카톡:SKP999 & DDF11.KR】물뽕 50mg정품파는곳,물뽕 50mg구입,물뽕 50mg팝니...물뽕 3방울이면 박근혜도 미친년으로 된다.【카톡:SKP999 & DDF11.KR】물뽕 50mg정품파는곳,물뽕 50mg구입,물뽕 50mg팝니...
물뽕 3방울이면 박근혜도 미친년으로 된다.【카톡:SKP999 & DDF11.KR】물뽕 50mg정품파는곳,물뽕 50mg구입,물뽕 50mg팝니...
tnauswprndl ghb
 
Pedestriantv media-kit-2013
Pedestriantv media-kit-2013Pedestriantv media-kit-2013
Pedestriantv media-kit-2013
Samantha Anderson
 
A Model for Activity Recognition in Pervasive Enviornment Inspired by Global ...
A Model for Activity Recognition in Pervasive Enviornment Inspired by Global ...A Model for Activity Recognition in Pervasive Enviornment Inspired by Global ...
A Model for Activity Recognition in Pervasive Enviornment Inspired by Global ...
Mahdi Nasseri
 
Hong Kong Trade Development Council Presentation Final Version
Hong Kong Trade Development Council Presentation   Final VersionHong Kong Trade Development Council Presentation   Final Version
Hong Kong Trade Development Council Presentation Final Version
Benjamin Shobert
 
近病図131研修 kojima ss
近病図131研修 kojima ss近病図131研修 kojima ss
近病図131研修 kojima ssSatomi Kojima
 
Website 14 15
Website 14 15Website 14 15
Website 14 15
BHARAT K GALA
 
Przentacja o kwiatach
Przentacja o kwiatachPrzentacja o kwiatach
Przentacja o kwiatachnela007
 
082310 gov team first day 50m
082310 gov team first day 50m082310 gov team first day 50m
082310 gov team first day 50m
Monta Vista High School
 
Degrees.PDF
Degrees.PDFDegrees.PDF
Degrees.PDF
Chelsea Jack
 

Viewers also liked (19)

Σπουδές στη Φυσική
Σπουδές στη ΦυσικήΣπουδές στη Φυσική
Σπουδές στη Φυσική
 
Investment Climate- Germany
Investment Climate- GermanyInvestment Climate- Germany
Investment Climate- Germany
 
Bluetooth marketing device bt pusher pro+ with gprs-1
Bluetooth marketing device   bt pusher pro+ with gprs-1Bluetooth marketing device   bt pusher pro+ with gprs-1
Bluetooth marketing device bt pusher pro+ with gprs-1
 
Foro de debate y argumentación gr
Foro de debate y argumentación grForo de debate y argumentación gr
Foro de debate y argumentación gr
 
Affordable e waste recycling for the marketing agencies of sydney
Affordable e waste recycling for the marketing agencies of sydneyAffordable e waste recycling for the marketing agencies of sydney
Affordable e waste recycling for the marketing agencies of sydney
 
Promozione app prima-durante-dopo
Promozione app prima-durante-dopoPromozione app prima-durante-dopo
Promozione app prima-durante-dopo
 
Ch07s
Ch07sCh07s
Ch07s
 
ME
MEME
ME
 
CleverAdvice Company Profile it
CleverAdvice Company Profile it CleverAdvice Company Profile it
CleverAdvice Company Profile it
 
물뽕 3방울이면 박근혜도 미친년으로 된다.【카톡:SKP999 & DDF11.KR】물뽕 50mg정품파는곳,물뽕 50mg구입,물뽕 50mg팝니...
물뽕 3방울이면 박근혜도 미친년으로 된다.【카톡:SKP999 & DDF11.KR】물뽕 50mg정품파는곳,물뽕 50mg구입,물뽕 50mg팝니...물뽕 3방울이면 박근혜도 미친년으로 된다.【카톡:SKP999 & DDF11.KR】물뽕 50mg정품파는곳,물뽕 50mg구입,물뽕 50mg팝니...
물뽕 3방울이면 박근혜도 미친년으로 된다.【카톡:SKP999 & DDF11.KR】물뽕 50mg정품파는곳,물뽕 50mg구입,물뽕 50mg팝니...
 
Pedestriantv media-kit-2013
Pedestriantv media-kit-2013Pedestriantv media-kit-2013
Pedestriantv media-kit-2013
 
A Model for Activity Recognition in Pervasive Enviornment Inspired by Global ...
A Model for Activity Recognition in Pervasive Enviornment Inspired by Global ...A Model for Activity Recognition in Pervasive Enviornment Inspired by Global ...
A Model for Activity Recognition in Pervasive Enviornment Inspired by Global ...
 
Hong Kong Trade Development Council Presentation Final Version
Hong Kong Trade Development Council Presentation   Final VersionHong Kong Trade Development Council Presentation   Final Version
Hong Kong Trade Development Council Presentation Final Version
 
近病図131研修 kojima ss
近病図131研修 kojima ss近病図131研修 kojima ss
近病図131研修 kojima ss
 
Website 14 15
Website 14 15Website 14 15
Website 14 15
 
Przentacja o kwiatach
Przentacja o kwiatachPrzentacja o kwiatach
Przentacja o kwiatach
 
082310 gov team first day 50m
082310 gov team first day 50m082310 gov team first day 50m
082310 gov team first day 50m
 
Treball ed.visual
Treball ed.visualTreball ed.visual
Treball ed.visual
 
Degrees.PDF
Degrees.PDFDegrees.PDF
Degrees.PDF
 

Similar to บทที่ 1 5อ.ภูเบศ

ใบงานท 2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท 2-8 (1)
Ratchasin Poomchor
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
JorJames Satawat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
JorJames Satawat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1JorJames Satawat
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8Pornthip Nabnain
 
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียน
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนโครงร่างสกุลเงินในอาเซียน
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนNuttawat Sawangrat
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานWarunee Somnual
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิมYIMMIE89
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanjanaporn Thompat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมruth12874
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานWarunee Somnual
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานWarunee Somnual
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานWarunee Somnual
 

Similar to บทที่ 1 5อ.ภูเบศ (20)

E book muanal-for_ntc
E book muanal-for_ntcE book muanal-for_ntc
E book muanal-for_ntc
 
ใบงานท 2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท 2-8 (1)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียน
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนโครงร่างสกุลเงินในอาเซียน
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียน
 
K2
K2K2
K2
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Kk2
Kk2Kk2
Kk2
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 

บทที่ 1 5อ.ภูเบศ

  • 1. บทที่1 โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการตัดต่อวีดิโอ” ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนิติ ประดิษฐศิลป์ รหัสนิสิต 55540146 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ ดร. ภูเบศ เลื่อมใส ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันงานวิดีโอได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของเรามากขึ้น ด้วยความสามารถของงานทางด้านมัลติมีเดียที่ทาให้การนาเสนองานของเราน่าสนใจแล้ว ราคากล้องวิดีโอก็ราคาถูกลงมามากและหาซื้อได้ไม่ยากพร้อมกับโปรแกรมที่ใช้ในการตัดต่อ วิดีโอก็มีให้เลือกใช้มากมายและก็ไม่ยากจนเกินไปที่จะเรียนรู้ สาหรับสื่อนี้จะขอนาเสนอการตัดต่อด้วยโปรแกรม CorelVideo Studio เพื่อเป็นพื้นฐานในการตัดต่อเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ โปรแกรม Corel VideoStudio Pro X2 เป็นโปรแกรมตัดต่อวีดิโอที่ใช้งานง่ายและมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง เหมาะสาหรับผู้เริ่มต้นงานตัดต่อวีดิโอ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอยู่ในระดับที่ดูเป็นมืออาชีพเลยที่เดียว ทางผู้จัดทาได้จัดทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(สร้าง/ตัดต่อวีดิโอด้วยCorelVideoStudio Pro X2) เพื่อให้ผู้อ่านสามารถสร้างงานวีดิโอได้อย่างครบวงจร ผู้จัดทาได้เขียนอธิบายเนื้อหาอย่างละเอียดเป็นขั้นตอน ตั้งแต่การนาเข้าไฟล์วีดิโอและแปลงไฟล์งานเพื่อนาเสนอในรูปแบบต่างๆพร้อม Workshop งานวีดิโออย่างจุใจภายในเล่ม
  • 2. ข้าพเจ้าในฐานะนิสิตสาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา จึงมีความสนใจที่จะจัดทาโครงงานการประยุกต์ใช้โปรแกรม FlipAlbum Pro 6.0 ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เรื่องการตัดต่อวีดิโอผ่านโปรแกรมCorelVideo Studio Pro X2 เพื่อนนาเสนอ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ในการสร้างงานวีดิโอเพื่อแนะนาสถานที่ต่างๆหรือในการนาเสนอข้อมูล ภายในหน่วยงานและองค์กรถูกนาเข้ามาใช้เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับผู้ฟัง และก่อให้เกิดความเข้าใจในตัวงานได้ง่ายขึ้น ขอบข่ายโครงงาน - โครงงานการประยุกต์ใช้โปรแกรมFlip Album ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดิโอเพื่อนาเสนอ - วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ ได้แก่ - หนังสือ CorelVideoStudio Pro X2 -โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 -โปรแกรม CorelVideo Studio ProX2 -โปรแกรม Power Point 2007 -เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com, www.youtube.com ผลที่คาดว่าจะได้รับ - เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้และสนุกไปกับการเรียนผ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E-book - เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนาเสนอได้อย่างมีคุณภาพ
  • 3. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ Corel Video Studio ProX2 เพื่อการตัดต่อวีดิโอ นิสิตได้ศึกษาจากอินเตอร์เน็ตและเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 1. E-book ความสาคัญ 2. คุณสมบัติต่างๆ ที่ควรทราบเกี่ยวกับงานวีดิโอ 3. ข้อมูลโปรแกรม Corel Video Studio ProX2 ( www.google.com) 1. Electronic Book (e-Book) หมายถึงหนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทั้งในระบบออฟไลน์ และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่าง ๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้ นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีกประการหนึ่งที่สาคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่วไป 1.1ข้อดีของ e-Book 1. อ่านที่ไหน เมื่อไหร่ ได้ตลอดเวลา เนื่องจากพกไปได้ตลอดและได้จานวนมาก
  • 4. 2. ประหยัดการตัดไม้ทาลายป่า เพราะไม่ต้องตัดไม้มาทากระดาษ 3. เก็บรักษาได้ง่าย ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ ประหยัดค่าเก็บรักษา 4. ค้นหาข้อความได้ ยกเว้นว่าอยู่ในลักษณะของภาพ 5. ใช้พื้นที่น้อยในการจัดเก็บ (cd1 แผ่นสามารถเก็บ e-Book ได้ประมาณ 500เล่ม) 6. อ่านได้ในที่มืด หรือแสงน้อย 7. ทาสาเนาได้ง่าย 8. จาหน่ายได้ในราคาถูกกว่าในรูปแบบหนังสือ 9. อ่านได้ไม่จากัดจานวนครั้ง เพราะไม่ยับหรือเสียหายเหมือนกระดาษ 10. สะดวกสบาย ไม่ต้องเดินทาง แค่คลิกเดียวก็สามารถเลือกอ่านหนังสือที่ต้องการได้ทันที 11. เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาธรรมชาติ โดยลดการใช้กระดาษกับ True e-Book 1.2 ข้อเสียของ e-Book 1. ต้องอาศัยพลังงานในการอ่านตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าหรือแบตตารี่ 2. เสียสุขภาพสายตา จากการได้รับแสงจากอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ 3. ขาดความรู้สึก หรืออรรถรส หรือความคลาสสิค 4. อาจเกิดปัญหากับการ ลง hardware หรือ software ใหม่หรือแทนที่อันเก่า 5. ต้องมีการดูแลไฟล์ให้ดี ไม่ให้เสียหรือสูญหาย 6. การอ่านอาจเกิดอันตรายต่อสายตา 7. เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ได้ง่าย 8. ไม่เหมาะกับบาง format เช่นรูปวาด รูปถ่าย แผนที่ใหญ่เป็นต้น 1.3 ประโยชน์ของ e-Book
  • 5. 1.3.1สาหรับผู้อ่าน 1. ขั้นตอนง่ายในการอ่าน และค้นหาหนังสือ 2. ไม่เปลืองเนื้อที่ในการเก็บหนังสือ 3. อ่านหนังสือได้จากทุกที่ที่มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต 1.3.2 สาหรับห้องสมุด 1. สะดวกในการให้บริการหนังสือ 2. ไม่ต้องใช้สถานที่มากในการจัดเก็บหนังสือ และไม่เสียค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ 3. ลดงานที่เกิดจากการซ่อม จัดเก็บ และการจัดเรียงหนังสือ 4. ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการจ้างพนักงานมาดูแลและซ่อมแซมหนังสือ 5. มีรายงานแสดงการเข้ามาอ่านหนังสือ 1.3.3สาหรับสานักพิมพ์และผู้เขียน 1. ลดขั้นตอนในการจัดทาหนังสือ 2. ลดค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการจัดพิมพ์หนังสือ 3. ลดค่าใช้จ่ายในการจัดจาหน่ายผ่านช่องทางอื่นๆ 4. เพิ่มช่องทางในการจาหน่ายหนังสือ 5. เพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ตรงถึงผู้อ่าน 1.4 ข้อจากัดของ E-book เนื่องจากอาจเกิดปัญหากับการ ลง Hardware หรือ Software ใหม่หรือแทนที่อันเก่า ดังนั้นจึงต้องมีโปรแกรมและเครื่องมือในการอื่น คือ Hardware ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆ พร้อมทั้งระบบติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือ Software ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ ตัวอย่างเช่น Organizer แบบพกพา Pocket PC หรือ PDA เป็นต้น การดึงข้อมูล E-
  • 6. Book ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่าน ก็จะใช้วิธีการ Download ผ่านทางอินเตอร์เน็ตเสียเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามมิใช่ว่า Hardwareทุกชนิดจะอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้ เนื่องจากมีข้อจากัดของชนิดไฟล์บางประเภทนั่นเอง ซึ่งต้องมีการแก้ปัญหาด้วยการนา Softwareบางตัวมาช่วยสาหรับ Software ที่ใช้งานกับ E-Book ในปัจจุบันมีสองประเภทคือ Softwareที่ใช้อ่านข้อมูลจาก E-Book และ Software ที่ใช้เขียนข้อมูลออกมาเป็น E-Book นอกจากนี้ผู้ใช้ต้องมีการดูแลไฟล์ให้ดี ไม่ให้เสียหรือสูญหาย คานึงเสมอว่าการอ่านอาจเกิดอันตรายต่อสายตา E-Bookนี้ ไม่เหมาะกับบาง format เช่น รูปวาด รูปถ่าย แผนที่ใหญ่เป็นต้น อ้างอิง http://06550128-01.blogspot.com/ 2. เริ่มต้นกับงานวีดิโอ งานวีดิโอเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับเรามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการนาเสนองานจากภาพนิ่งมาสู่งานวีดิโอที่ช่วยเพิ่มความน่าสนใจมากขึ้น หรือการบันทึกเหตุการณ์สาคัญต่างๆเป็นงานวีดิโอ ด้วยราคากล้องวีดิโอที่ลดลงมามาก ทาให้หลายคนหาซื้อมาเป็นเจ้าของได้ไม่ยาก ในบทนี้เราจะมาทาความรู้จักงานวีดิโอ และประโยชน์อันหลากหลายของงานวีดิโอ พร้อมโปรแกรมสาหรับงานตัดต่อวีดิโอยอดฮิตอย่าง Video Studio ซึ่งปัจจุบันได้ย้ายมาอยู่ค่าย Corel อย่างเต็มตัว และเวอร์ชั่นล่าสุดคือ Corel VideoStudio X2 หรือเวอร์ชั่น 12นั่นเอง ประโยชน์ของงานวีดิโอ ปัจจุบันงานวีดิโอได้เข้ามามีบทบาทสาคัญมากขึ้นในแทบทุกวงการ นั่นเป็นเพราะต้นทุนการผลิตที่ถูกลงและเทคนิคการตัดต่อโปรแกรมต่างๆ ที่ใช้งานง่าย ส่งผลให้หน่วยงานทั่วไปหันมาใช้วีดิโอเป็นสื่อทดแทนการนาเสนอในรูปแบบเดิมๆ ในที่นี้จะขอแนะนาประโยชน์ของงานวีดิโอเบื้องต้น ดังต่อไปนี้ นาเสนองานในองค์กรและหน่วยงาน
  • 7. การสร้างงานวีดิโอเพื่อแนะนาสถานที่ต่างๆหรือในการนาเสนอข้อมูลภายในหน่วยงานและองค์กร ถูกนามาใช้เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับผู้ฟัง และก่อให้เกิดความเข้าใจในตัวงานได้ง่ายขึ้น ทาสื่อการสอนเพื่อการศึกษา คุณครูสามารถสร้างสื่อการสอนในรูปแบบของวีดิโอได้ เช่น ในสื่อการสอนสนทนาภาษาอังกฤษ คุณครูอาจสัมภาษณ์ชาวต่างชาติที่มาอยู่ในเมืองไทย หรือการจัดทาเป็นวีดิโอสอนวิธีใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เป็นต้น นาเสนอรายงาน วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยต่างๆ เปลี่ยนวิธีนาเสนอรายงานจากการใช้เพียงภาพประกอบ แผ่นชาร์ท หรือแผ่นใสมานาเสนอในรูปแบบของวีดิโอก็จะทาให้ผู้ฟังบรรยายได้เห็นภาพชัดเจนขึ้น และเกิดความเข้าใจได้ง่าย น่าสนใจกว่าการนาเสนอที่มีแต่ข้อมูลและภาพนิ่งเพียงอย่างเดียว วีดิโอสาหรับบุคคลพิเศษ บุคคลพิเศษในที่นี้อาจหมายถึงวิทยากรที่เราเชิญมาบรรยาย ผู้จัดการที่กาลังจะเกษียณ อายุ เจ้าของวันเกิด คู่บ่าวสาว เพื่อเป็นการให้เกียรติและสร้างความประทับใจให้กับเจ้าของงาน และยังช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีได้ไม่น้อย แนวทางในการสร้างงานวีดิโอ แท้จริงแล้วการตัดต่อวีดิโอเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการทางานวีดิโอเท่านั้น เพราะกว่าที่เราจะได้ผลงานวีดิโอคุณภาพดีๆ ออกมาสักเรื่องหนึ่ง จาเป็นต้องผ่านขั้นตอนอื่นๆที่สาคัญมาก่อน ในส่วนนี้ขอแนะนาขั้นตอนต่างๆ ที่ควรมีในการทางานวีดิโอ เพื่อให้เราสามารถได้งานที่ตรงตามความต้องการและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีลาดับแนวคิดในการสร้างงานวีดิโอ ดังนี้
  • 8. ขั้นตอนที่ 1:การวางแผนและการเตรียมงาน ขั้นตอนที่ 2: การถ่ายทาและเตรียมข้อมูลอื่นๆที่ต้องใช้ประกอบ ขั้นตอนที่ 3:การตัดต่อวีดิโอ ขั้นตอนที่ 4:การนางานวีดิโอที่ได้ออกไปเผยแพร่ การวางแผนและเตรียมงาน อันดับแรกของการทางานวีดิโอทุกงาน ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายงานพิเศษต่างๆ ทาสารคดี หนังสั้น หรือทาสื่อการสอน สิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือการวางแผน การวางแผนทาให้รู้ว่าควรจะถ่ายอะไรมาบ้าง อะไรที่จาเป็นต้องเก็บภาพ หรืออะไรที่ไม่จาเป็นต้องเก็บ เพราะบางครั้งโอกาสก็ไม่สามารถหวนกลับมาอีก เช่น ถ้าเราจะถ่ายงานแต่งงานเพื่อน แต่ไม่ได้ศึกษามาก่อนว่าควรจะถ่ายภาพในช่วงใดบ้าง หรือควรจะถ่ายใครที่เป็นแขกพิเศษหรือไม่ เมื่อถึงเวลาก็อาจจะพลาดช่วงเวลาสาคัญไปได้ หรือบางครั้งต้องเดินทางไปถ่ายทาในที่ไกลๆ หากวางแผนไม่ดีก็อาจจะพลาดไม่ได้ถ่ายบางส่วนมา จะกลับไปถ่ายใหม่ก็ไม่ได้แล้ว เป็นต้น สิ่งที่เราสามารถทาในการวางแผนมีดังนี้ จัดทาสคริปต์การถ่ายทา หรือสตอรี่บอร์ด (Storyboard) สคริปต์การถ่ายทาหรือสตอรี่บอร์ด จะช่วยทาให้เรารู้ว่าจะต้องถ่ายทาอะไรบ้างและถ่ายทาในเวลาใดเรียงลาดับกันไป
  • 9. บางครั้งการถ่ายทาอาจจะข้ามไปข้ามมาไม่ได้เรียงตามเนื้อหาจริงๆ เพราะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของเวลาในการถ่ายทา สคริปต์และสตอรี่บอร์ดก็จะช่วยเราได้มากในตอนนี้ การทาสคริปต์การถ่ายทา หรือสตอรี่บอร์ด ช่วยทาให้สามารถถ่ายทาได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น 3. ข้อมูลโปรแกรม Corel Video Studio Pro X2 การตัดต่อและลาดับภาพ เมื่อได้ไฟล์วีดิโอทั้งหมดแล้วขั้นตอนต่อไปก็คือการนาข้อมูลทั้งหมดมาเรียงลาดับและตัดต่อส่วนที่ไม่จาเป็ นออกไป ซึ่งเราเรียกว่า “การลาดับภาพ” ซึ่งหากเรามีสคริปต์การถ่ายทาและถ่ายทามาอย่างดี การลาดับภาพก็ง่ายขึ้น การใส่เทคนิคด้านภาพ การใส่เทคนิคพิเศษด้านภาพ เช่นใส่เทคนิคการเปลี่ยนฉาก แทรกข้อความ ทาให้ภาพมีสีสันแปลกตา สิ่งเหล่านี้ช่วยทาให้งานวีดิโอของเรามีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งในโปรแกรม Corel VideoStudio ก็มีให้เราเลือกใช้และดัดแปลงได้อย่างไม่จากัด
  • 10. การใส่ดนตรีประกอบ ดนตรีช่วยทาให้เราสามารถแสดงความรู้สึก อารมณ์ที่ต้องการสื่อสารในงานวีดิโอออกมาได้ง่ายขึ้น การเลือกดนตรีประกอบให้เหมาะสมจึงเป็นสิ่งที่สาคัญ ซึ่งเราไม่ควรมองข้ามไป การนางานวีดิโอที่ได้ออกไปเผยแพร่ นี่คือขั้นตอนสุดท้าย ก็คือการแปลงไฟล์งานของเราให้เหมาะสมกับการเผยแพร่เพราะปัจจุบันมีสื่อให้เลือกเผยแพร่งานวีดิโอมาก มาย เช่นทาเป็นแผ่นวีซีดีหรือดีวีดีทาเป็นไฟล์ MP4 เพื่อใช้ในการเล่นหรือนาไปเผยแพร่ในอินเทอร์เน็ตก็ได้ บทที่3 วิธีดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานการประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album Pro6.0 ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดิโอผ่านโปรแกรม CorelVideo Studio ProX2 เพื่อนาเสนอ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 20 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง
  • 11. กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 20 คนได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้ 2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว จานวน 3 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบกลุ่ม จานวน 15 คน 2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบภาคสนาม จานวน 20คน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ ได้แก่ - เครื่องคอมพิวเตอร์ - โปรแกรม Flip Album Pro6.0 ใช้นาเสนอสื่อการสอน - โปรแกรม CorelVideo Studio ProX2 เนื้อหาการสอน - โปรแกรม Power Point 2007 ใช้นาเสนอเรียบเรียง - เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com , www.youtube.com ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัดทาโครงการ 2. นาเสนอชื่อโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาขออนุมัติ
  • 12. 3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือ การประยุกต์ใช้โปรแกรม Flip Album Pro 6.0 ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอกนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดิโอ ผ่านโปรแกรม CorelVideo Studio ว่ามีเนื้อหามากน้อยแค่ไหน และต้องศึกษาเพิ่มเติมจากเว็บไซต์ต่างๆเพื่อเรียบเรียงข้อมูลในการทาเนื้อหาต่อไป 4. จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสารเพื่อนาเสนอ อาจารย์ที่ปรึกษา 5. สร้างชิ้นงาน โดยโปรแกรม Flip Album Pro6.0 6. ประเมินคุณภาพชิ้นงานวีดิทัศน์ โดยผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3 คน 7. ปรับปรุงต้นแบบชิ้นงาน 8. ทดลองชิ้นงานวีดิโอกับกลุ่มตัวอย่าง 9. เขียนรายงาน จัดทารูปเล่มโครงงานแบบฉบับสมบูรณ์ 10.บันทึกลง CD-ROM 11.นาผลงานขึ้น Google Site ตารางการปฏิบัติงานโครงงาน เรื่อง สื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์:โปรแกรม CorelVideo Studio ลาดับ รายการปฏิบัติ กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน หมายเห ตุ1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 ศึกษา/สารวจข้อมูลเพื่อจัดโครงงา น 2 เสนอเรื่องโครงงานเพื่อขออนุมัติ 3 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 4 รวบรวมข้อมูล
  • 13. 5 สร้างชิ้นงานสื่ออิเล็กทรอกนิกส์ 6 ประเมินคุณภาพชิ้นงานสื่ออิเล็กท รอกนิกส์ 7 ปรันปรุงชิ้นงานสื่ออิเล็กทรอกนิก ส์ 8 ทดลองชิ้นงานกับกลุ่มตัวอย่าง 9 วิเคราะห์ข้อมูล 10 เขียนรายงานจัดทารูปเล่ม 11 นาผลงานขึ้น google site การสร้างเครื่องมือในการวิจัย 1. การสร้างแบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง กราฟิกเบื้องต้นผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างแบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.1 ศึกษาเอกสารการประเมินสื่อการสอน 1.2 เลือกแบบประเมินคุณภาพมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาของกรมวิชาการ (กรมวิชาการ,2542) 1.3 ปรับปรุงแบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ให้สอดคล้องกับคุณสมบัติของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
  • 14. 1.4 กาหนดระดับการประเมินคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ไว้5 ระดับ คือ ดีมาก = 5 ดี = 4 ปานกลาง = 3 พอใช้ = 2 ควรปรับปรุง = 1 ซึ่งเกณฑ์การยอมรับคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จะพิจารณาตามคาถามแต่ละข้อข้อที่ผ่านเกณฑ์จะต้องได้คะแนนเฉลี่ยดีถึงดีมาก และคะแนนเฉลี่ยรวมต้องไม่ต่ากว่าเกณฑ์ดี จึงจะสามารถนาไปทดลองได้ โดยกาหนดระดับการประเมิน 5 ระดับดังนี้ คะแนน 1.00 –1.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุงอย่างยิ่ง คะแนน 1.50 –2.49 หมายถึง คุณภาพควรปรับปรุง คะแนน 2.50 –3.49 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง คะแนน 3.50 –4.49 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับดี คะแนน 4.50 –5.00 หมายถึง คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการทดลองตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.ขั้นตอนการก่อนการทดลอง 1.1ขั้นเตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ซึ่งประกอบด้วย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อวีดิโอ แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อวีดิโอ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และตารางเวลานัดหมายผู้เรียน
  • 15. 1.2 กาหนดระยะเวลาในการทดลอง 1.3 ติดต่อขออนุญาตใช้ห้องคอมพิวเตอร์ 1.4 ติดต่อขออนุญาตอาจารย์รายวิชานากลุ่มตัวอย่างมาทดลองตามวันที่ได้กาหนด 1.5 ทดสอบความพร้อมของห้องคอมพิวเตอร์ก่อนทดลองจริง 2. ขั้นดาเนินการทดลอง ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดลองตามขั้นตอนต่อไปนี้ 2.1 ให้กลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการทดลองมาทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์โดยใช้เวลา ประมาณ 20นาที 2.2 ผู้วิจัยอธิบายกลุ่มตัวอย่างให้ทราบถึงจุกประสงค์ของการทดลอง 2.3ให้กลุ่มตัวอย่างทดลองฝึกการทาเครื่องหมายบนใจความสาคัญ ใช้เวลาประมาณ 10 นาที 2.4 จากนั้นกลุ่มตัวอย่างศึกษาเนื้อหาจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อเป็นรายบุคคล ผู้วิจัยจะคอยสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนตลอดการเรียน ในขั้นตอนนี้จะใช้เวลาประมาณ 1ชั่วโมง 30 นาที 2.5เมื่อหมดเวลา ผู้วิจัยสอบถามถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน 2.6ให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยใช้เวลาประมาณ 30 นาที 2.7ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการตรวจให้คะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียน แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่าง มีเกณฑ์การให้คะแนน 1 คะแนนสาหรับคาตอบ ที่ถูกต้อง และให้ 0คะแนนสาหรับคาตอบที่ผิดหรือไม่ตอบ และนาคะแนนที่ได้มาหาค่า E1/ E2 การวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. การหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากสูตร E1/ E2 โดยนาคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  • 16. 2. ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรม 3. หาค่าระดับความยากง่ายและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี้ 1. สถิติที่เกี่ยวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากสูตรE1/ E2 ซึ่งดัดแปลงจาก ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2533: 139) ซึ่งใช้สูตรดังนี้คือ เมื่อ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการที่จัดไว้ในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เมื่อ E2 คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียน บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า ในบทนี้จะเป็นการนาเสนอเฉพาะผลที่ได้จากการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ผลการประเมินชิ้นงานจากผู้เชี่ยวชาญ การประเมินต้นแบบชิ้นงาน คือ การตรวจสอบสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยผ่านผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3คน คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา
  • 17. ทั้งนี้เพื่อได้รับการแนะนาที่ถูกต้องและช่วยให้สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้นให้ออกมาใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภ าพ จากผลการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างสื่ออิเล็กทรอนิกส์กับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (OIC) ผลปรากฏว่าได้ 0.7 คะแนน หมายถึง สามารถนาสื่อการสอนไปใช้ได้จริง ผลการนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริง ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นั้นจาเป็นต้องผ่านการตรวจสอบหลากหลายขั้นตอน จึงจะได้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่เต็มประสิทธิภาพ หลังจากผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ ผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญเรียนร้อยแล้วหลังจากนั้นผู้จัดทาโคร งงานได้นาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงโดยแบ่งการทดลองเป็น 3 แบบ ดังนี้ ในการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงโดยใช้เครื่องมือดังนี้เพื่อหาค่าประสิทธิภาพสื่อการสอน  แบบทดสอบก่อนเรียน  แบบประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน  แบบทดสอบหลังเรียน และผู้จัดทาโครงงานได้กาหนดเกณฑ์ของค่าประสิทธิภาพสื่อการสอนไว้คือ 80/80 1. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายบุคค ล จากการทดลองนาอิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายบุคคล ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 3 คน ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 ดังนี้
  • 18. คนที่ ก่อนเรียน (15) ระหว่างเรียน(15) หลังเรียน (15) E1 E2 1 8 9 10 66 60 2 9 11 12 80 73 3 7 10 12 66 80 โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = หลังเรียน/คะแนนเต็ม*100 คะแนนเต็มรวมทั้งหมด E2 = ระหว่างเรียน/คะแนนเต็ม*100 คะแนนเต็มรวมทั้งหมด ผลปรากฏว่า คนที่ 1 ได้66/60 คนที่ 2 ได้80/73 คนที่ 3 ได้66/80 ดังนั้นการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายบุคคล "ไม่ผ่านเกณฑ์ " และผู้ทาการทดสอบได้ให้ข้อเสนอแนะและบอกถึงปัญหาที่พบ คือ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ไร้อารมณ์ไม่มีเสียงเพลงคอยกระตุ้น - สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ช้าไปทาให้น่าเบื่อ ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อในการนาไปทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่มต่อไป 2. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่ม
  • 19. จากการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่ม ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 ดังนี้ กลุ่มที่ 1 คนที่ ก่อนเรียน (15) ระหว่างเรียน(15) หลังเรียน (15) E1 E2 1 8 12 12 80 80 2 8 12 12 80 80 3 7 10 11 73 66 4 9 9 12 80 60 5 6 10 13 86 66 รวม 38 53 60 80 70 กลุ่มที่ 2 คนที่ ก่อนเรียน (15) ระหว่างเรียน(15) หลังเรียน (15) E1 E2 1 7 12 13 86 80 2 5 12 13 86 80 3 6 12 12 80 80 4 8 12 13 86 80 5 8 12 12 80 80 รวม 34 60 63 84 80 กลุ่มที่ 3 คนที่ ก่อนเรียน (15) ระหว่างเรียน(15) หลังเรียน (15) E1 E2 1 7 12 13 86 80 2 8 12 13 86 80 3 9 12 12 80 80 4 8 12 13 86 80
  • 20. โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = คะแนนทั้งหมดหลังเรียน คะแนนเต็มรวมทั้งหมด E2 = คะแนนทั้งหมดระหว่างเรียน คะแนนเต็มรวมทั้งหมด ผลปรากฏว่า กลุ่มที่ 1 80/70 กลุ่มที่ 2 84/80 กลุ่มที่ 3 84/80 ดังนั้นการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบรายกลุ่ม " ผ่านเกณฑ์ 2 กลุ่ม และ ไม่ผ่านเกณฑ์ 1กลุ่ม " และผู้ทาการทดสอบได้ให้ข้อเสนอแนะและบอกถึงปัญหาที่พบ คือ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น เข้าใจยากไปควรกระชับเนื้อหาให้เข้าใจง่ายไม่สับซ้อน -สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ควรแยกเป็นตอนๆเพื่อให้สามารถกลับไปศึกษาย้อนหลังเป็นตอนๆได้ ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียนร้อยแล้ว เพื่อในการนาไปทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพจริงต่อไป 5 8 12 12 80 80 รวม 40 60 63 84 80 * 100 * 100
  • 21. 3. การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพจริง จากการทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสภาพจริง ผู้ที่ทาการทดลองคือ นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพาจานวน 20 คน ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์จากเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 ดังนี้ คนที่ ก่อนเรียน (15) ระหว่างเรียน(15) หลังเรียน (15) E1 E2 1 7 12 13 86 80 2 8 12 14 93 80 3 9 12 12 80 80 4 7 11 12 80 73 5 8 12 12 80 80 6 8 11 13 86 73 7 9 12 13 86 80 8 8 13 13 86 86 9 7 11 12 80 73 10 9 12 13 86 80 11 9 11 13 86 73 12 9 12 13 86 80 13 8 13 13 86 86 14 9 12 12 80 80 15 7 12 13 86 80 16 9 13 13 86 86 17 8 12 13 86 80 18 9 12 14 93 80 19 8 13 13 86 86 20 9 12 13 86 80 รวม 165 240 244 81 80
  • 22. โดยมีวิธีการคิดดังนี้ E1 = คะแนนทั้งหมดหลังเรียน คะแนนเต็มรวมทั้งหมด E2 = คะแนนทั้งหมดระหว่างเรียน คะแนนเต็มรวมทั้งหมด ผลปรากฏว่า ค่าประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบรวม 81/80 ดังนั้น การทดลองนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในการทดลองโดยการจาลองสถานการณ์จริงแบบสถานการณ์จริง" ผ่านเกณฑ์ " และผู้ทาการทดสอบได้ให้ข้อเสนอแนะและบอกถึงปัญหาที่พบ คือ -สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อาจจะเร็วน้อยไปในบางหัวข้อ ทางผู้จัดทาโครงงานได้ทาการแก้ไขปรับปรุงเป็นที่เรียนร้อยแล้ว เพื่อในการนาไปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ในอนาคตต่อไป * 100 * 100
  • 23. บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า อภิปรายและเสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้กาหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษา สมมุติฐานของการศึกษา วิธีการดาเนินการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลและการอภิปรายผลการศึกษาและข้อเสนอแนะดังนี้ วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Corel Video Studio 2. วัตถุประสงค์เฉพาะ 2.1 เพื่อสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Corel Video Studio 2.2 เพื่อหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นให้ได้ประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ที่กาหนด (80/80) สมมุติฐานของการศึกษา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด (80/80) ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ มุ่งพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และเพื่อให้การศึกษาเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตการวิจัย ดังนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 20 คน
  • 24. 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 30คนได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้ 2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว จานวน 3 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบกลุ่ม จานวน 15 คน 2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบภาคสนาม จานวน 20คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา - เครื่องคอมพิวเตอร์ - โปรแกรม Flip Album Pro6.0 ใช้นาเสนอสื่อการสอน - โปรแกรม CorelVideo Studio ProX2 เนื้อหาการสอน - โปรแกรม Power Point 2007 ใช้นาเสนอเรียบเรียง - เว็บไซต์ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า www.google.com , www.youtube.com ตัวแปรที่ศึกษา การวิจัยครั้งนี้มีตัวแปรที่ศึกษา 2 ตัวคือ 4.1 ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม CorelVideo Studio 4.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ได้เรียนเนื้อหาจาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
  • 25. สรุปผลการค้นคว้า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องกราฟิกเบื้องต้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81/80 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 การอภิปรายผล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะพัฒนาและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Corel Video Studio ให้ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลสามารถอภิปรายได้ดังนี้ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Corel Video Studio มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81/80 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานของการวิจัยที่ได้ตั้งไว้ สอดคล้องกับวิจัยของ คลีเมนท์ (Clement,1993, quoted in Coutts and Hart,2009 : 19) ที่ได้พัฒนาซีดีรอมมัลติมีเดียวิชาศิลปะขึ้น และได้รับผลสาเร็จมากในการทดลอง ซึ่งข้อค้นพบนี้สอดคล้องกับการวิจัยของเกษมศรี พรหมภิบาล (2543 :บทคัดย่อ) ที่ได้ศึกษาผลของการสอนวิชาการออกแบบ 1ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก พบว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ และสอดคล้องกับกาการวิจัยของบาร์กเกอร์และกิลเลอร์ ที่ได้ศึกษาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์เพื่อการสอนภาษาฝรั่งเศสเปรียบเทียบกับก ารสอนวิธีอื่นๆซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจ นอกจากนั้น ศิริยงค์ ฉัตรโท (2539 :บทคัดย่อ) ได้สรุปในงานวิจัยของเขาว่า การสร้างสื่อนาเสนอแบบอินเตอร์แอคทีฟ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หากจะมาวิเคราะห์กันว่าอะไรคือสิ่งที่ทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม CorelVideo Studio มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 จะได้ว่า ประการที่ 1 ได้มีการออกแบบบทเรียนในลักษณะที่มีการเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ทาให้บทเรียนไม่น่าเบื่อ ผู้เรียนจะต้องมีการปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนอย่าสม่าเสมอ ทาให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียน (ถนอมพร เลาหจรัสแสง,2541 :62)
  • 26. ประการที่ 2ในการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องกราฟิกเบื้องต้น ผู้วิจัยได้ออกแบบอยู่บนพื้นฐานจิตวิทยาแรงจูงใจ โดยใช้ไฮเปอร์เท็กซ์และแบบทดสอบเป็นแรงจูงใจในการเรียน จาดพื้นฐานการอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์ ก่อให้เกิดการกระตุ้นให้เกิดการอยากรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีสิ่งที่แนะ (cue) ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ ขึ้น (ธีรพงษ์วิริยานนท์,2543 : 46; มาลินี จุฑะรพ,2539 :138; ไพบูลย์ เทวรักษ์,2537 : 113-115;โสภา ชูพิกุลชัย,2521 : 56-62) จากหลักการดังกล่าวข้างต้น ประกอบกับขั้นตอนการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อย่างมีระบบ ทาให้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Corel Video Studio ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 สามารถนาไปประกอบการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1.1 การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีจานวนหน้ามากๆด้วยโปรแกรม Flip Album Pro จะมีจานวนการเชื่อมโยง (Link) มากตามไปด้วย ทาให้เสียเวลาค่อนข้างมาก และเกิดการผิดพลาดได้ ง่ายจึงควรสร้างเป็นเทมเพลท ที่เชื่อมโยงกันไว้เรียบร้อยแล้ว 2. ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการวิจัยเปรียบเทียบรูปแบบการบันทึกใจความสาคัญในรูปแบบต่างๆได้แก่ การ ทาเครื่องหมายลงบนใจความสาคัญโดยตรง, การให้ผู้เรียนคัดลอกหรือพิมพ์ใจความสาคัญลงใน โปรแกรม (NOTEPAD) และการคัดลอกลงกระดาษ เป็นต้น ว่าจะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน หรือไม่ 2.2 ควรมีการเปลี่ยนสื่อที่ใช้ในการวิจัยหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์จากซีดีรอมไปเป็น อินเตอร์เน็ตบ้าง
  • 27. ภาคผนวก 1.โครงงานพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ CorelVideo Studio เพื่อการตัดต่อ 2. เครื่องมือที่ใช้ในโครงงาน 2.1 แบบทดสอบก่อนเรียน 2.2 แบบประเมินชิ้นงาน 2.3 แผนการจัดการเรียนรู้ 3. ข้อมูลผู้จัดทาโครงงาน อ้างอิง http://06550128-01.blogspot.com/ http://www.krukittinankwc.org/home/index.php/into-to-corel http://www.tharua.ac.th/elearning/caivideostudio/webpage/chap ter1.html https://www.google.co.th/?gws_rd=cr&ei=x6lYVYbsIY29ugS9k 4C4Cw#q=corel+videostudio+pro+x2 https://www.youtube.com/watch?v=SB8aj_dhaG4
  • 28. แบบทดสอบก่อนเรียน 1. "สื่อประสม"มีคาศัพท์ภาษาอังกฤษตามข้อใด 1. Media 2. Multimedia 3. Multi 4. Compute 2. ระบบNTSC จะแสดงผลกี่เฟรมต่อวินาที 1. 25 2. 30 3. 35 4. ถูกทุกข้อ 3. ระบบPAL จะแสดงผลกี่เฟรมต่อวินาที (ใช้ตัวเลือกในข้อ2) 4. ไฟล์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นไฟล์รูปภาพ 1. v1.MPEG 2. Dd.doc 3. tt.JPG 4. Doc.html 5. ไฟล์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นไฟล์วีดิโอ (ใช้ตัวเลือกในข้อ4)
  • 29. 6. ข้อใดเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ตัดต่อเสียง 1. Microsoft Word 2. Sound Forge 3. InternetExplorer 4. Dreamweaver 7. ข้อใดจัดเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการตกแต่งภาพกราฟิก 1. Mozilla Firefox 2. Microsoft Excel 3. Photoshop 4. Windows 8. ข้อใดจัดเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการตัดต่อวีดิโอ 1. Corel Video Studio 2. Windows Movies Maker 3. Adobe Premiere 4. ถูกทุกข้อ 9. ไฟล์ในข้อใดเป็นไฟล์ที่อยู่ในรูปเสียง 1. Fire.doc 2. Micro.html 3. Photo.bmp 4. m2.mp3 10. ในการตัดต่อวีดิโอนักเรียนแก้ไขข้อมูลด้วยมุมมองในข้อใด
  • 30. 1. Capture 2. Edit 3. Share 4. Image แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วิชาคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การพัฒนา E-book เรื่อง การสร้างโปรแกรม CorelVideoStudio เพื่อการตัดต่อวีดิทัศน์เพื่อสร้างชิ้นงาน สาระสาคัญ ในปัจจุบันงานวิดีโอได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของเรามากขึ้น ด้วยความสามารถของงานทางด้านมัลติมีเดีย ที่ทาให้การนา เสนองานของเราน่าสนใจแล้ว ราคากล้องวิดีโอก็ราคาถูกลงมามากและหาซื้อได้ไม่ยาก พร้อมกับโปรแกรมที่ใช้ในการตัดต่อ วิดีโอก็มีให้เลือกใช้มากมายและก็ไม่ยากจนเกินไปที่จะเรียนรู้ สาหรับสื่อนี้จะขอนาเสนอการตัดต่อด้วยโปรแกรม Corel Video Studio เพื่อเป็นพี้นฐานในการตัดต่อ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ผู้เรียนสามารถใช้โปรแกรมตัดต่อ Corel ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ 2. ผู้เรียนสามารถใช้เครื่องมือในโปรแกรม Corel ในการตัดต่อวีดิทัศน์เพื่อสร้างชิ้นงาน 3. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องการตัดต่อด้วยโปรแกรม Corel เพื่อได้ความรู้และสามารถสร้างชิ้นงานได้ 4. ผู้เรียนสามารถสร้างวีดีทัศน์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์และสร้างสรรค์ผลงานได้ ขอบเขต/เนื้อหา
  • 31. - แนะนาการใช้โปรแกรม Corel Video Studio วิธีติดตั้งโปรแกรม วิธีการเข้าสู่โปรแกรม ส่วนประกอบประโยชน์และหน้าที่ของโปรแกรม - สอนการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิทัศน์ Corel Video Studio เพื่อสร้างชิ้นงาน รู้จักกับเครื่องมือโปรแกรม Corel เบื้องต้น รู้จักขั้นตอนการสร้างวีดิทัศน์เบื้องต้น รู้จักวิธีการสร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยเครื่องมือต่างๆ(toolbar) รู้จักวิธีการแทรกภาพ เสียง วีดิโอ รู้จักวิธีการ Save งานและเผยแพร่งานได้ รู้จักวิธีการแทรก Front ตัวหนังสือ รู้จักวิธีการแทรกแอนิเมชั่นของฉากหลักได้ รู้จักวิธีการแทรก Transition ได้อย่างถูกหลัก กระบวนการจัดการเรียนรู้ - ผู้สอนบรรยายโปรแกรม Corel ที่ต้องเรียน - ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน - แนะนาเครื่องมือโปรแกรม Corel - ให้ความรู้คาแนะนาเทคนิคในการใช้โปรแกรมตัดต่อวีดิทัศน์ได้ - สอนการใช้โปรแกรมตัดต่อ Corel และสร้างสรรค์ชิ้นงานได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ - หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การตัดต่อวีดีทัศน์ด้วย Corel Video Studio - แบบทดสอบ - แบบสังเกตพฤติกรรม การวัดผลและประเมินผล
  • 32. 1. วิธีการวัด - สังเกตความสนใจ และการทาตาม - คะแนนแบบทดสอบ - คะแนนชิ้นงาน 2. เครื่องการวัดผลประเมินผล - ถาม-ตอบ - แบบทดสอบ 3. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล ใช้การผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80ขึ้นไป
  • 33. ข้อมูลผู้จัดทาโครงงาน ชื่อ นายนิติ ประดิษฐศิลป์ รหัสนิสิต 55540146 คณะศึกษาศาสตร์ เทคโนโลยีการศึกษา (พิเศษ) โทร 0859789898
  • 34. คานา ระบบสารสนเทศมีความสาคัญและความจาเป็นอย่างยิ่งในการศึกษาค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้จาเป็นต้องเรียนรู้เพื่อให้ก้าวทันกับความเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้ น สามารถนาเทคโนโลยีนั้ นมาประยุกต์ใช้ให้เป็ นประโยชน์ในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะด้านการศึกษา ที่ส่งผลให้นาเทคโนโลยีมาใช้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ห นั งสื ออิ เล็ ก ท ร อนิ ก ส์ (e-Book) เกิ ด จาก ค วาม ก้ าวห น้ าข อง เท ค โน โล ยี พัฒนาเอกสารให้อยู่ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการให้ความรู้แก่คนที่สนใจอีกช่องทางหนึ่ง ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ข้ า ถึ ง ก า ร เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง ส ะ ด ว ก ร ว ด เ ร็ ว ตามความต้องการและศักยภาพของแต่ละบุคคลมีคุณลักษณะสาคัญที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดความใฝ่ รู้ใฝ่เรียน สนุกสนาน จากภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารคู่มือการสร้าง e-Book ด้วยโปรแกรม Flip Album 6 Pro เ ล่ ม นี้ จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ค น ที่ ส น ใ จ ในการพัฒนาสื่อเอกสารเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องต ลอดชีวิต
  • 35. ผู้จัดทา สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ ๑ ๑-๒ บทที่ ๒ ๓-๙ บทที่ ๓ ๑๐-๑๕ บทที่ ๔ ๑๖-๒๑ บทที่ ๕ ๒๒-๒๕