SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ ในงานมหกรรมสุขภาพชุมชนครั้งที่ 2
                                “จากความรู้สู่ระบบจัดการใหม่ จินตนาการเป็นจริงได้ไม่รู้จบ”
                  หัวข้อห้องย่อย การจัดการความท้าทายในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
                                           วันที่ 18 มกราคม 2555 เวลา 13.00-17.00 น.
..........................................................................................................................................................
                                การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง จ.นครราชสีมา
                                                                                                                             พญ.ลลิตยา กองคา
                                                                                                                       รพ.มหาราชนครราชสีมา

ก่อนนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
          ปี 2536 มีการจัดตั้งศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองหัวทะเล เป็นหน่วยบริการปฐมภูมินาร่องภายใต้
โครงการปฏิรูประบบบริการสุขภาพระยะที่ 1 ดาเนินการโดยพญ.รุจิรา มังคละศิริ หัวหน้ากลุ่มงานเวชกรรม
สังคม รพ.มหาราชนครราชสีมาในขณะนั้น ภายใต้การสนับสนุนจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
นครราชสีมา ในระยะต่อมาได้มีการขยายการจัดตั้งศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองวัดป่าสาละวัน เป็นศูนย์แพทย์
ชุมชนแห่งที่ 2 การดาเนินการของศูนย์แพทย์ชุมชนทั้งสองแห่ง ใช้หลักการเวชศาสตร์ครอบครัว โดยมีพันธ
กิจดังนี้
          “ดูแลเริ่มแรกทุกเรื่อง ดูแลต่อเนื่องถึงบ้าน
           บริการประทับใจทุกวันวาร บริการผสมผสานทุกครอบครัว”
          จากการดาเนินการศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองทั้งสองแห่ง ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากประชาชน
ในพื้นที่ นพ.สาเริง แหยงกระโทก ซึ่งดารงตาแหน่งนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมาในขณะนั้น มี
แนวคิดในการขยายศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองเพื่อให้บริการครอบคลุมประชากรในเขตเมือง จังหวัด
นครราชสีมาซึ่งมีกว่า 400,000 คน จึงได้มีการจัดตั้งศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองเพิ่มขึ้นรวมเป็น 13 แห่ง และมี
การพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานในศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง ให้มีความรู้ เจตคติและทักษะในการดูแลแบบ
เวชศาสตร์ครอบครัว

นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
         พฤษภาคม 2544 จังหวัดนครราชสีมาได้เป็นจังหวัดนาร่องหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
นพ.สาเริง แหยงกระโทก นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา จึงได้มีการประชุมร่วมกับหน่วย
บริการในเขตเมืองทั้งในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข รัฐนอกสังกัด ได้แก่ เทศบาล รพ.ค่ายสุรนารี รพ.
กองบิน และหน่วยบริการเอกชน เพื่อร่วมจัดบริการให้ครอบคลุมประชากรเขตเมือง โดยแบ่งพื้นที่เขต
เทศบาลเมืองให้กับหน่วยบริการต่างๆทั้งรัฐและเอกชน เพื่อจัดตั้งเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิที่มีประชากรUC
ขึ้นทะเบียนตามเกณฑ์ที่สปสช.กาหนด ในพื้นที่ที่ไม่มีหน่วยบริการดูแล กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.
มหาราชนครราชสีมา จึงจัดตั้งศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองเพิ่มอีก 2 แห่ง เพื่อให้ครอบคลุมการดูแลประชากร
เขตเมือง 400,000 กว่าคน จึงกล่าวได้ว่า ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง จังหวัดนครราชสีมา เป็นระบบ
บริการปฐมภูมิที่มีความหลากหลาย ทั้งรูปแบบดาเนินการของรัฐ ในส่วนของหน่วยงานกระทรวง
สาธารณสุข รัฐนอกสังกัด และเอกชน โดยโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาเป็นCUPที่มีเครือข่ายหน่วย
บริการปฐมภูมิ 29 แห่ง ดูแลประชากรครอบคลุม 230,000 คน
        การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการปฐมภูมิมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านการ
พัฒนากาลังคน การพัฒนาระบบบริการ ระบบสนับสนุนต่างๆ โดยมีกลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.มหาราช
นครราชสีมา เป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนระบบบริการภายใต้การสนับสนุนเชิงนโยบายจากสานักงาน
สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา มีการจัดตั้งคณะกรรมการCUP BOARD เพื่อบริหารจัดการระบบ
สาธารณสุขเขตเมือง และกาหนดคณะทางาน 4 ด้านดังนี้
        1. คณะทางานด้านการพัฒนาระบบ มีบทบาทในการวางแผน ดาเนินการพัฒนาระบบบริการ
ปฐมภูมิให้มีความเข้มแข็ง ทั้งด้านการพัฒนาระบบบริการ อาทิ โรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การพัฒนาระบบชันสูตร การพัฒนาระบบเวชภัณฑ์ยา การพัฒนาระบบบริการด้านทันตกรรม ตลอดจน
การสนับสนุนด้านวิชาการแก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานในศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง ฯลฯ
        2. คณะทางานด้านการเงิน มีบทบาทในการกาหนดกลไกการจัดสรรเงินUCให้แก่เครือข่าย
โดยประมาณการงบดาเนินการ(ค่าเวชภัณฑ์ ยา และค่าชันสูตร) งบค่าใช้จ่ายคงที่(Fixed cost) งบสร้าง
เสริมสุขภาพในการดาเนินงานแผนงาน/โครงการสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชากรกลุ่มเป้าหมาย และงบ
ส่วนกลางที่ CUP กันไว้เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในภาพรวม อาทิ การพัฒนาระบบ
บริการโรคเรื้อรัง การพัฒนาระบบข้อมูลของเครือข่าย การพัฒนาระบบวิชาการ การพัฒนาบุคลากร ฯลฯ
        3. คณะทางานด้านข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
        4. คณะทางานนิเทศและประเมินผล เพื่อกากับติดตามการดาเนินงานของหน่วยบริการปฐมภูมิ

ก้าวสู่การแยกระบบบริหารจัดการออกจากโรงพยาบาล(CUP Split)
         ใน ปี พ.ศ. 2549 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาเข้าร่วมโครงการ “บริการประทับใจ ไร้ความ
แออัด พัฒนาเครือข่าย” โดยมีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ซึ่ง
สามารถขยายศูนย์แพทย์ชุมชนที่มีแพทย์ปฏิบัติงานเต็มเวลาได้ถึง 8 แห่ง และมีการจัดโซนการดูแลให้ศูนย์
แพทย์ชุมชนที่มีแพทย์ปฏิบัติงานเต็มเวลาเป็นเสมือนแม่ข่ายในการดูแลหน่วยบริการปฐมภูมิที่ไม่มีแพทย์
ปฏิบัติงาน มีการพัฒนาระบบสนับสนุนทั้งด้านระบบยาและเวชภัณฑ์ ระบบการชันสูตร เพื่อสนับสนุนให้
เครือข่ายบริการปฐมภูมิมีศักยภาพในการให้บริการแก่ผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พร้อมกับการ
พัฒนาบุคลากร สนับสนุนงบประมาณในการฝึกอบรมพยาบาลเวชปฏิบัติให้ครบทุกแห่ง การพัฒนาระบบ
บริการทันตกรรม มีการกระจายทันตาภิบาลไปยังหน่วยบริการปฐมภูมิขนาดใหญ่เน้นการทางานด้านทัน
ตกรรมป้องกัน โดยกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาให้การสนับสนุนในการพัฒนา
ระบบริการทันตกรรมแก่เครือข่าย ฯลฯ ซึ่งสามารถทาให้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบเข้าถึงบริการปฐมภูมิ
และลดการมาใช้บริการที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
         ปี พ.ศ. 2551 เครือข่ายบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จึงมีแนวทางในการ
ทดลองแยกระบบบริหารจัดการออกจากโรงพยาบาล (CUP Split) โดยหน่วยบริการปฐมภูมิรวมตัวกันเป็น
เครือข่ายเมืองย่า 7 เครือข่าย มีลูกข่าย(หน่วยบริการปฐมภูมิ) เครือข่ายละ 2-7 แห่ง แต่ละเครือข่าย
รับผิดชอบประชากร 30,000 – 60,000 คน มีศูนย์แพทย์ชุมชนที่มีแพทย์ปฏิบัติงานเต็มเวลาขึ้นทะเบียน
เป็นหน่วยบริการประจา (CUP) รับเงินOP&PP โดยตรงจากสปสช. มีการจัดโครงสร้างเครือข่ายสุขภาพ
อาเภอเมืองดังภาพที่ 1


       โครงสร้างเครือข่ายสุขภาพอาเภอเมืองนครราชสีมา

                          คณะกรรมการบริหารและพัฒนาเครือข่าายบริการทางการแพทย์
                           คณะกรรมการบริหารและพัฒนาเครือข่ ยบริการทางการแพทย์
                                         และสาธารณสุขอาเภอเมืองนครราชสีมาา
                                          และสาธารณสุขอาเภอเมืองนครราชสีม


            CUP เมืองย่า 7 แห่ง PCU 31 แห่ง                                     CUP นอกเมืองย่า 9 แห่ง PCU 14 แห่ง


                                                                                                CUP มทส. .
                                                                                                CUP มทส.
                                                                                                     มทส
                                                                                                PCU 1 แห่ง
                                                                                CUPรพ.ค่าายสุรนารี            CUPรพ.โคราชเมโมเรียยล
                                                                                                              CUPรพ.โคราชเมโมเรี ล
                                                                                                              CUPรพ.
                                                                                CUPรพ.ค่ ยสุรนารี
                                                                                CUPรพ.
                                                                                    PCU 1 แห่ง                      PCU 1 แห่ง
  CUP เมืองย่าา11
  CUP เมืองย่        CUP เมืองย่าา22
                     CUP เมืองย่          CUP เมืองย่าา33
                                          CUP เมืองย่         CUP เมืองย่าา44
                                                              CUP เมืองย่       CUPรพ.กองบิน11
                                                                                CUPรพ.กองบิน
                                                                                CUPรพ.                       CUPรพ.เดอะโกลเดนเกท
                                                                                                             CUPรพ.เดอะโกลเดนเกท
                                                                                                             CUPรพ.เดอะโกลเดนเกท
   รพ.สต. 4 แห่ง      รพ.สต. 7 แห่ง        รพ.สต. 6 แห่ง       รพ.สต. 4 แห่ง       PCU 3 แห่ง                       PCU 1 แห่ง
                                                                                CUPเทศบาลนคร
                                                                                 CUPเทศบาลนคร
                                                                                 CUPเทศบาลนคร                CUP คลินิกอบอุ่นมหาชัย
                                                                                                             CUP คลินิกอบอุ่นมหาชัย
                                                                                   PCU 3 แห่ง                     PCU 1 แห่ง
   CUP เมืองย่าา55              CUP เมืองย่าา66             CUP เมืองย่าา77
                                                            CUP เมืองย่         CUPคลีนิกอบอุ่น
                                                                                CUPคลีนิกอบอุ่น
   CUP เมืองย่                  CUP เมืองย่                                     CUPคลี
     CMU 5 แห่ง                                              รพ.สต. 3 แห่ง         การเคหะ
                                                                                    การเคหะ                   CUPรพ.นครราชสีมาา
                                                                                                              CUPรพ.นครราชสีม
                                                                                                              CUPรพ.
                                   CMU 2 แห่ง
                                                                                  PCU 1 แห่ง                     PCU 2 แห่ง




         เครือข่ายเมืองย่า 7 แห่ง รับเงินOP&PP โดยตรงจากสปสช. จึงมีอานาจในการบริหารจัดการด้าน
การเงิน ซึ่งในระยะเริ่มแรกเกิดปัญหาในการจ่ายเงินค่าเวชภัณฑ์ยาที่โณงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
เรียกเก็บ เนื่องจากเกินกว่าอานาจของหัวหน้าสถานีอนามัยจะสั่งจ่ายได้ จึงได้มีการพัฒนาเพื่อกาหนด
กลไกในการจัดสรรเงิน โดยการทาแผนประมาณการค่าใช้จ่ายงบประมาณด้านต่างๆ ทั้ง งบค่ายาและ
เวชภัณฑ์ ค่าชันสูตร และเงินเรียกเก็บจากโรงพยาบาล (OPข้ามCUP) และกันเงินไว้ที่ระดับสสจ. ให้สสจ.
ทาหน้าที่เป็น Clearing house ดังภาพที่ 2
Flow of Budget


          UC Budget                     กันไว้ ท่ สสจ. (OP)
                                                  ี
           NHSO                         - Refer
                                        - ยาและเวชภั
                                        - Laboratory
        CUPs Muang-Ya                                        กันไว้ ท่ ี CUP
                                                             - กิจกรรมพัฒนาและวิชาการ
                                                             - บริหารจัดการ
                                                             - Fixed cost
             OP                              PP

                        PP Com/Area base                  PP Express/Itemized

         PCU                PCU                PCU                 PCU                     PCU

         ในด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ นอกจากการพัฒนากระบวนการให้บริการทังในสถาน
                                                                                ้
บริการและนอกสถานบริการ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบได้รับบริการตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว
อย่างเข้าถึงบริการ มีความต่อเนื่อง ผสมผสาน และชุมชนมีส่วนร่วม ดังภาพที่ 3




    ในชุมชน                       ในสถานบริการ                           บริการต่อเนื่อง
     1. สารวจครอบครัว                2. ทะเบียนคัดกรอง



                                       3. บริการหลัก                      4. การให้คาปรึกษา

    8. กิจกรรมในชุมชน

                                    5. บริการก่อนกลับบ้าน                 6. ส่งต่อ/เยี่ยมบ้าน



                                     7. ประชุมวางแผน
                                       กิจกรรมต่อเนื่อง
เครือข่ายบริการปฐมภูมิเมืองย่ายังได้มีแนวทางในการพัฒนาบริการเฉพาะให้สอดคล้องกับความ
ต้องการด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ดังนี้
               1. การพัฒนาระบบบริการให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา โดยเริ่มจากกลุ่มโรคที่พบบ่อยใน
เวชปฏิบัติและโรคที่ไม่จาเป็นต้องส่งต่อมารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ได้แก่
               1.1 ระบบการดูแลเบาหวานครบวงจร
               1.2 โรคความดันโลหิตสูง
               1.3 ระบบกายภาพบาบัดเชิงรุก นาร่องในกลุ่มอัมพาตครึ่งซีก
               1.4 ระบบการคัดกรองมะเร็งเต้านมและการเชื่อมต่อบริการกับโรงพยาบาล
               1.5 ระบบการดูแลประคับประคองในผู้ป่วยมะเร็ง
               1.6 ระบบการฝากครรภ์
               1.7 วาฟฟารินคลินิกในกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจ
               2. การพัฒนาศักยภาพทีมปฐมภูมิ เช่น การจัดประชุมวิชาการ Case conference การ
ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะในการดูแลผู้ป่วย การนิเทศติดตาม การสอนแสดง การจัดการ
ความรู้ ฯลฯ โดยมีกลุ่มงานเวชกรรมสังคม ทาหน้าที่เชื่อมประสานกับโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
และเป็นพี่เลี้ยงในการนิเทศติดตามการพัฒนา เพื่อให้บุคลากร เกิดความมั่นใจว่าให้บริการได้มีมาตรฐาน
เป็นต้นว่า การพัฒนาทักษะในการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวาน การแปรผลน้าตาลในเลือด การปรับยา
เบาหวาน การอ่านภาพจอประสาทตา การสอนตรวจเต้านม การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง การ
สื่อสารกับผู้ป่วยมะเร็งให้ยอมรับความความจริงและอยู่กับโรคได้อย่างสงบ การนาร่องจ้างนัก
กายภาพบาบัด เพื่อพัฒนารูปแบบงานฟื้นฟูสภาพในระบบบริการปฐมภูมิ โดยนาร่องในการพัฒนาระบบ
กายภาพบาบัดเชิงรุก แก่ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก ฯลฯ
               3. การบูรณาการการสร้างเสริมศักยภาพของผู้ป่วยและชุมชน โดยการเสริมพลังให้กับผู้ป่วย
ให้สามารถดูแลตนเองได้ ในการพัฒนาระบบบริการCUPเมืองย่า จึงมีการจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดการ
เรียนรู้และมีทักษะในการดูแลตนเอง ผู้ป่วยที่ดูตนเองได้ดีแล้ว ยังมีจิตอาสาที่จะช่วยดูแลเผื่อแผ่ไปยังผู้ป่วย
รายอื่นๆ กิจกรรมค่ายเบาหวานเพื่อให้ผู้ป่วยเรียนรู้ การเจาะเลือดค่าและน้าตาลในเลือด ภาวะแทรกซ้อน
อาหาร การออกกาลังกาย รวมถึงการจัดกิจกรรมสาหรับผู้ป่วยเบาหวานแอบแฝง การจัดกิจกรรมเครือข่าย
มะเร็งด้วยแนวทางธรรม(ะ)ชาติบาบัด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของอสม.ในการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยอัมพาตครึ่ง
ซีก การร่วมกับอปท.ในการจัดกิจกรรมสาหรับผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยมะเร็ง
               4. การพัฒนาเครือข่ายและระบบสนับสนุน จากโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ทั้งด้าน
เวชภัณฑ์ ระบบการชันสูตรโดยโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาร่วมกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
นครราชสีมา ภายใต้การสนับสนุนจากสปสช.เขตพื้นที่ นครราชสีมา จัดตั้งCentral lab ระบบการส่งต่อ
และการบริหารจัดการของเครือข่ายในการนาเครือข่ายเมืองย่าทั้ง 7 ให้มีเป้าหมายเดียวกัน ในการ
ให้บริการปฐมภูมิที่ได้มาตรฐาน ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญในการบริหารจัดการะบบบริการปฐมภูมิไปสู่
เป้าหมาย มีการพัฒนาแกนนากระบวนกรของเครือข่ายเมืองย่า เพื่อวางแผนในการขยายผลไปยังทีมปฐม
ภูมิและทีมรพ.มหาราชฯในการทางานร่วมกันเป็นทีม
              5. การพัฒนางานวิจัยและวิชาการ ด้วยการสนับสนุนให้ทีมปฐมภูมิ ได้พัฒนางานผ่านการ
ทางานประจาสู่งานวิจัย และได้มีการโอกาสเข้ามาร่วมนาเสนอในมหกรรมR2Rของโรงพยาบาล เป็นอีก
เวทีหนึ่งที่ทาให้งานปฐมภูมิเป็นที่รู้จักของคนโรงพยาบาล ตลอดจนพัฒนาเป็นFacilitator และNote taker
ซึ่งสามารถไปขยายผลการจัดการเรียนรู้ในเครือข่าย ทาให้เกิดการทางานร่วมกันระหว่างทีมปฐมภูมิและ
ทีมสหสาขาวิชาชีพในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น

ผลการดาเนินงาน
      การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิส่งผลให้ปริมาณผู้ป่วยที่มารับบริการใกล้บ้านใกล้ใจ
ในสถานบริการปฐมภูมิเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ลดการใช้บริการที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา(ภาพที่ 4)


     แผนภูมแสดงสัดส่วนผู้ป่วยนอกแยกตามสิทธิการรักษาปี 2548-2553
           ิ
      120


      100


       80                                                                        ปกส
                                                                                 เบิกได้
       60                                                                        อืนๆ-จ่ายเอง
                                                                                   ่
                                                                                 UCนอกเมืองย่า
       40                                                                        UCเมืองย่า


       20

                                                                                เริ่มโครงการ
        0
                                                                                ไร้ความแออัด
            2548      2549        2550         2551         2552         2553
                                                                                  CUP Split

         แม้จะไม่สามารถทาให้จานวนผู้ป่วยนอกในภาพรวมของโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาลดลง
ได้ แต่เมื่อพิจารณาสัดส่วนการใช้บริการของผู้ป่วยสิทธิUC จะพบสัดส่วนการใช้บริการที่เครือข่ายบริการ
ปฐมภูมิในสัดส่วนที่สูงกว่าประมาณ 80:20 ในขณะที่ตัวชี้วัดศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง กระทรวงสาธารณสุข
กาหนดให้สัดส่วนการใช้บริการที่ศสม. (ภาพที่ 5) และเมื่อวิเคราะห์ในกลุ่มโรคเรื้อรัง เบาหวาน และความ
ดันโลหิตสูง สิทธิUC ที่ใช้บริการในปี 2554 พบสัดส่วนจานวนผู้ป่วยที่ใช้บริการที่เครือข่ายปฐมภูมิมากกว่า
ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยทั้งหมด (ภาพที่ 6)
120


  100


   80

                                                                                    รพ.มหาราช
   60
                                                                                    PCU

   40


   20


    0
              2546     2547     2548                     2552   2553   2554

ภาพที่ 5 แสดงสัดส่วนการใช้บริการของผู้ป่วยสิทธิUCที่เครือข่ายบริการปฐมภูมิและรพ.มหาราช
นครราชสีมา


                               สัดส่วนผู้ป่วยโรคเรือรัง
                                                   ้
        120

        100

         80
                                                                              รพ.มหาราช
         60
                                                                              PCU
         40

         20

          0
                     เบาหวาน           ความดันโลหิตสูง




ภาพที่ 6 แสดงสัดส่วนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง สิทธิUCที่ใช้บริการที่รพ.มหาราชนครราชสีมา
และเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
สรุปบทเรียนการพัฒนา
         1. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิให้มีความเข้มแข็ง จาเป็นต้องมีการวางระบบรากฐานทั้งเรื่อง
กาลังคน ระบบบริการ ระบบสนับสนุน อย่างต่อเนื่อง และต้องอาศัยผู้นาที่มีวิสัยทัศน์ในการวางระบบ
เตรียมคน เพื่อให้ระบบมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
         2. จาเป็นต้องมีการวางแผนร่วมกันของเครือข่าย กาหนดเป้าหมาย ทิศทางในการขับเคลื่อนงาน
         3. มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่หยุดนิ่ง เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนที่
รับผิดชอบ
         4. การแยกระบบบริการจัดการออกจากโรงพยาบาลมีทั้งจุดแข็ง และประเด็นที่ท้าทาย
         ในด้านจุดแข็งที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมด้านบริการสาธารณสุข ได้แก่ เครือข่ายบริการปฐมภูมิมี
อานาจ ความคล่องตัว ความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรที่เพียงพอเพื่อให้เกิดประโยชน์กับ
ประชาชนในพื้นที่ตามความต้องการด้านสุขภาพของพื้นที่ ในขณะที่รพ.มหาราชนครราชสีมามีการปรับ
บทบาทตนเองในฐานะรพ.แม่ข่าย ในการสนับสนุนด้านทรัพยากรอื่นๆ ได้ แก่ ระบบสนับสนุนในภาพรวม
เช่น ยา เวชภัณฑ์ ระบบชันสูตร ที่เครือข่ายปฐมภูมิไม่จาเป็นต้องลงทุนหรือจัดหาเอง แต่สามารถPool
รวมกัน และบริหารจัดการเพื่อ ใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างคุ้มค่า ฯลฯ
         ในด้านที่ท้าทาย หากประธานเครือข่าย ขาดซึ่งวิสัยทัศน์ ความเป็นผู้นา ความโปร่งใสในการ
บริหารจัดการ ขาดความเป็นนักบริหารมืออาชีพ แยกCUPเพียงเพื่อบริหารเงิน แต่ไม่บริหารงานและบริการ
ให้เกิดแก่ประชาชน ทีมปฐมภูมิขาดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การแยกCUP ก็เป็นประเด็นที่ท้าทาย รอการ
พิสูจน์จากสาธารณชน ถึงความเหมาะสมในการเป็นต้นแบบนวัตกรรมด้านบริการปฐมภูมิเขตเมืองที่จะ
สามารถผลักดันไปสู่นโยบายระดับประเทศสืบต่อไป

More Related Content

More from สปสช นครสวรรค์

คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวสปสช นครสวรรค์
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
สปสช นครสวรรค์
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์สปสช นครสวรรค์
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56สปสช นครสวรรค์
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)สปสช นครสวรรค์
 
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
สปสช นครสวรรค์
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
สปสช นครสวรรค์
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
สปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทสปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทสปสช นครสวรรค์
 
Executive summery flu55 12_w
Executive summery flu55 12_wExecutive summery flu55 12_w
Executive summery flu55 12_w
สปสช นครสวรรค์
 

More from สปสช นครสวรรค์ (20)

คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
 
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
 
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
 
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
 
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
 
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอกประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
 
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
 
รายงานข่าววันที่ 27 ส.ค.55
รายงานข่าววันที่ 27 ส.ค.55รายงานข่าววันที่ 27 ส.ค.55
รายงานข่าววันที่ 27 ส.ค.55
 
Executive summery flu55 12_w
Executive summery flu55 12_wExecutive summery flu55 12_w
Executive summery flu55 12_w
 
รายงานข่าววันที่ 27 ส.ค.55
รายงานข่าววันที่ 27 ส.ค.55รายงานข่าววันที่ 27 ส.ค.55
รายงานข่าววันที่ 27 ส.ค.55
 
162 1.2012 guideline in the treatment of hypertension
162 1.2012 guideline in the treatment of hypertension162 1.2012 guideline in the treatment of hypertension
162 1.2012 guideline in the treatment of hypertension
 

006 2-1 cupเมืองย่า-โคราช

  • 1. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ ในงานมหกรรมสุขภาพชุมชนครั้งที่ 2 “จากความรู้สู่ระบบจัดการใหม่ จินตนาการเป็นจริงได้ไม่รู้จบ” หัวข้อห้องย่อย การจัดการความท้าทายในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง วันที่ 18 มกราคม 2555 เวลา 13.00-17.00 น. .......................................................................................................................................................... การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง จ.นครราชสีมา พญ.ลลิตยา กองคา รพ.มหาราชนครราชสีมา ก่อนนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปี 2536 มีการจัดตั้งศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองหัวทะเล เป็นหน่วยบริการปฐมภูมินาร่องภายใต้ โครงการปฏิรูประบบบริการสุขภาพระยะที่ 1 ดาเนินการโดยพญ.รุจิรา มังคละศิริ หัวหน้ากลุ่มงานเวชกรรม สังคม รพ.มหาราชนครราชสีมาในขณะนั้น ภายใต้การสนับสนุนจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัด นครราชสีมา ในระยะต่อมาได้มีการขยายการจัดตั้งศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองวัดป่าสาละวัน เป็นศูนย์แพทย์ ชุมชนแห่งที่ 2 การดาเนินการของศูนย์แพทย์ชุมชนทั้งสองแห่ง ใช้หลักการเวชศาสตร์ครอบครัว โดยมีพันธ กิจดังนี้ “ดูแลเริ่มแรกทุกเรื่อง ดูแลต่อเนื่องถึงบ้าน บริการประทับใจทุกวันวาร บริการผสมผสานทุกครอบครัว” จากการดาเนินการศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองทั้งสองแห่ง ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากประชาชน ในพื้นที่ นพ.สาเริง แหยงกระโทก ซึ่งดารงตาแหน่งนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมาในขณะนั้น มี แนวคิดในการขยายศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองเพื่อให้บริการครอบคลุมประชากรในเขตเมือง จังหวัด นครราชสีมาซึ่งมีกว่า 400,000 คน จึงได้มีการจัดตั้งศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองเพิ่มขึ้นรวมเป็น 13 แห่ง และมี การพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานในศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง ให้มีความรู้ เจตคติและทักษะในการดูแลแบบ เวชศาสตร์ครอบครัว นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พฤษภาคม 2544 จังหวัดนครราชสีมาได้เป็นจังหวัดนาร่องหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นพ.สาเริง แหยงกระโทก นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา จึงได้มีการประชุมร่วมกับหน่วย บริการในเขตเมืองทั้งในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข รัฐนอกสังกัด ได้แก่ เทศบาล รพ.ค่ายสุรนารี รพ. กองบิน และหน่วยบริการเอกชน เพื่อร่วมจัดบริการให้ครอบคลุมประชากรเขตเมือง โดยแบ่งพื้นที่เขต เทศบาลเมืองให้กับหน่วยบริการต่างๆทั้งรัฐและเอกชน เพื่อจัดตั้งเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิที่มีประชากรUC ขึ้นทะเบียนตามเกณฑ์ที่สปสช.กาหนด ในพื้นที่ที่ไม่มีหน่วยบริการดูแล กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ. มหาราชนครราชสีมา จึงจัดตั้งศูนย์แพทย์ชุมชนเมืองเพิ่มอีก 2 แห่ง เพื่อให้ครอบคลุมการดูแลประชากร
  • 2. เขตเมือง 400,000 กว่าคน จึงกล่าวได้ว่า ระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง จังหวัดนครราชสีมา เป็นระบบ บริการปฐมภูมิที่มีความหลากหลาย ทั้งรูปแบบดาเนินการของรัฐ ในส่วนของหน่วยงานกระทรวง สาธารณสุข รัฐนอกสังกัด และเอกชน โดยโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาเป็นCUPที่มีเครือข่ายหน่วย บริการปฐมภูมิ 29 แห่ง ดูแลประชากรครอบคลุม 230,000 คน การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการปฐมภูมิมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านการ พัฒนากาลังคน การพัฒนาระบบบริการ ระบบสนับสนุนต่างๆ โดยมีกลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.มหาราช นครราชสีมา เป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนระบบบริการภายใต้การสนับสนุนเชิงนโยบายจากสานักงาน สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา มีการจัดตั้งคณะกรรมการCUP BOARD เพื่อบริหารจัดการระบบ สาธารณสุขเขตเมือง และกาหนดคณะทางาน 4 ด้านดังนี้ 1. คณะทางานด้านการพัฒนาระบบ มีบทบาทในการวางแผน ดาเนินการพัฒนาระบบบริการ ปฐมภูมิให้มีความเข้มแข็ง ทั้งด้านการพัฒนาระบบบริการ อาทิ โรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง การพัฒนาระบบชันสูตร การพัฒนาระบบเวชภัณฑ์ยา การพัฒนาระบบบริการด้านทันตกรรม ตลอดจน การสนับสนุนด้านวิชาการแก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานในศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง ฯลฯ 2. คณะทางานด้านการเงิน มีบทบาทในการกาหนดกลไกการจัดสรรเงินUCให้แก่เครือข่าย โดยประมาณการงบดาเนินการ(ค่าเวชภัณฑ์ ยา และค่าชันสูตร) งบค่าใช้จ่ายคงที่(Fixed cost) งบสร้าง เสริมสุขภาพในการดาเนินงานแผนงาน/โครงการสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชากรกลุ่มเป้าหมาย และงบ ส่วนกลางที่ CUP กันไว้เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในภาพรวม อาทิ การพัฒนาระบบ บริการโรคเรื้อรัง การพัฒนาระบบข้อมูลของเครือข่าย การพัฒนาระบบวิชาการ การพัฒนาบุคลากร ฯลฯ 3. คณะทางานด้านข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 4. คณะทางานนิเทศและประเมินผล เพื่อกากับติดตามการดาเนินงานของหน่วยบริการปฐมภูมิ ก้าวสู่การแยกระบบบริหารจัดการออกจากโรงพยาบาล(CUP Split) ใน ปี พ.ศ. 2549 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาเข้าร่วมโครงการ “บริการประทับใจ ไร้ความ แออัด พัฒนาเครือข่าย” โดยมีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ซึ่ง สามารถขยายศูนย์แพทย์ชุมชนที่มีแพทย์ปฏิบัติงานเต็มเวลาได้ถึง 8 แห่ง และมีการจัดโซนการดูแลให้ศูนย์ แพทย์ชุมชนที่มีแพทย์ปฏิบัติงานเต็มเวลาเป็นเสมือนแม่ข่ายในการดูแลหน่วยบริการปฐมภูมิที่ไม่มีแพทย์ ปฏิบัติงาน มีการพัฒนาระบบสนับสนุนทั้งด้านระบบยาและเวชภัณฑ์ ระบบการชันสูตร เพื่อสนับสนุนให้ เครือข่ายบริการปฐมภูมิมีศักยภาพในการให้บริการแก่ผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พร้อมกับการ พัฒนาบุคลากร สนับสนุนงบประมาณในการฝึกอบรมพยาบาลเวชปฏิบัติให้ครบทุกแห่ง การพัฒนาระบบ บริการทันตกรรม มีการกระจายทันตาภิบาลไปยังหน่วยบริการปฐมภูมิขนาดใหญ่เน้นการทางานด้านทัน ตกรรมป้องกัน โดยกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาให้การสนับสนุนในการพัฒนา
  • 3. ระบบริการทันตกรรมแก่เครือข่าย ฯลฯ ซึ่งสามารถทาให้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบเข้าถึงบริการปฐมภูมิ และลดการมาใช้บริการที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ปี พ.ศ. 2551 เครือข่ายบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จึงมีแนวทางในการ ทดลองแยกระบบบริหารจัดการออกจากโรงพยาบาล (CUP Split) โดยหน่วยบริการปฐมภูมิรวมตัวกันเป็น เครือข่ายเมืองย่า 7 เครือข่าย มีลูกข่าย(หน่วยบริการปฐมภูมิ) เครือข่ายละ 2-7 แห่ง แต่ละเครือข่าย รับผิดชอบประชากร 30,000 – 60,000 คน มีศูนย์แพทย์ชุมชนที่มีแพทย์ปฏิบัติงานเต็มเวลาขึ้นทะเบียน เป็นหน่วยบริการประจา (CUP) รับเงินOP&PP โดยตรงจากสปสช. มีการจัดโครงสร้างเครือข่ายสุขภาพ อาเภอเมืองดังภาพที่ 1 โครงสร้างเครือข่ายสุขภาพอาเภอเมืองนครราชสีมา คณะกรรมการบริหารและพัฒนาเครือข่าายบริการทางการแพทย์ คณะกรรมการบริหารและพัฒนาเครือข่ ยบริการทางการแพทย์ และสาธารณสุขอาเภอเมืองนครราชสีมาา และสาธารณสุขอาเภอเมืองนครราชสีม CUP เมืองย่า 7 แห่ง PCU 31 แห่ง CUP นอกเมืองย่า 9 แห่ง PCU 14 แห่ง CUP มทส. . CUP มทส. มทส PCU 1 แห่ง CUPรพ.ค่าายสุรนารี CUPรพ.โคราชเมโมเรียยล CUPรพ.โคราชเมโมเรี ล CUPรพ. CUPรพ.ค่ ยสุรนารี CUPรพ. PCU 1 แห่ง PCU 1 แห่ง CUP เมืองย่าา11 CUP เมืองย่ CUP เมืองย่าา22 CUP เมืองย่ CUP เมืองย่าา33 CUP เมืองย่ CUP เมืองย่าา44 CUP เมืองย่ CUPรพ.กองบิน11 CUPรพ.กองบิน CUPรพ. CUPรพ.เดอะโกลเดนเกท CUPรพ.เดอะโกลเดนเกท CUPรพ.เดอะโกลเดนเกท รพ.สต. 4 แห่ง รพ.สต. 7 แห่ง รพ.สต. 6 แห่ง รพ.สต. 4 แห่ง PCU 3 แห่ง PCU 1 แห่ง CUPเทศบาลนคร CUPเทศบาลนคร CUPเทศบาลนคร CUP คลินิกอบอุ่นมหาชัย CUP คลินิกอบอุ่นมหาชัย PCU 3 แห่ง PCU 1 แห่ง CUP เมืองย่าา55 CUP เมืองย่าา66 CUP เมืองย่าา77 CUP เมืองย่ CUPคลีนิกอบอุ่น CUPคลีนิกอบอุ่น CUP เมืองย่ CUP เมืองย่ CUPคลี CMU 5 แห่ง รพ.สต. 3 แห่ง การเคหะ การเคหะ CUPรพ.นครราชสีมาา CUPรพ.นครราชสีม CUPรพ. CMU 2 แห่ง PCU 1 แห่ง PCU 2 แห่ง เครือข่ายเมืองย่า 7 แห่ง รับเงินOP&PP โดยตรงจากสปสช. จึงมีอานาจในการบริหารจัดการด้าน การเงิน ซึ่งในระยะเริ่มแรกเกิดปัญหาในการจ่ายเงินค่าเวชภัณฑ์ยาที่โณงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา เรียกเก็บ เนื่องจากเกินกว่าอานาจของหัวหน้าสถานีอนามัยจะสั่งจ่ายได้ จึงได้มีการพัฒนาเพื่อกาหนด กลไกในการจัดสรรเงิน โดยการทาแผนประมาณการค่าใช้จ่ายงบประมาณด้านต่างๆ ทั้ง งบค่ายาและ เวชภัณฑ์ ค่าชันสูตร และเงินเรียกเก็บจากโรงพยาบาล (OPข้ามCUP) และกันเงินไว้ที่ระดับสสจ. ให้สสจ. ทาหน้าที่เป็น Clearing house ดังภาพที่ 2
  • 4. Flow of Budget UC Budget กันไว้ ท่ สสจ. (OP) ี NHSO - Refer - ยาและเวชภั - Laboratory CUPs Muang-Ya กันไว้ ท่ ี CUP - กิจกรรมพัฒนาและวิชาการ - บริหารจัดการ - Fixed cost OP PP PP Com/Area base PP Express/Itemized PCU PCU PCU PCU PCU ในด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ นอกจากการพัฒนากระบวนการให้บริการทังในสถาน ้ บริการและนอกสถานบริการ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบได้รับบริการตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว อย่างเข้าถึงบริการ มีความต่อเนื่อง ผสมผสาน และชุมชนมีส่วนร่วม ดังภาพที่ 3 ในชุมชน ในสถานบริการ บริการต่อเนื่อง 1. สารวจครอบครัว 2. ทะเบียนคัดกรอง 3. บริการหลัก 4. การให้คาปรึกษา 8. กิจกรรมในชุมชน 5. บริการก่อนกลับบ้าน 6. ส่งต่อ/เยี่ยมบ้าน 7. ประชุมวางแผน กิจกรรมต่อเนื่อง
  • 5. เครือข่ายบริการปฐมภูมิเมืองย่ายังได้มีแนวทางในการพัฒนาบริการเฉพาะให้สอดคล้องกับความ ต้องการด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ดังนี้ 1. การพัฒนาระบบบริการให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา โดยเริ่มจากกลุ่มโรคที่พบบ่อยใน เวชปฏิบัติและโรคที่ไม่จาเป็นต้องส่งต่อมารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ได้แก่ 1.1 ระบบการดูแลเบาหวานครบวงจร 1.2 โรคความดันโลหิตสูง 1.3 ระบบกายภาพบาบัดเชิงรุก นาร่องในกลุ่มอัมพาตครึ่งซีก 1.4 ระบบการคัดกรองมะเร็งเต้านมและการเชื่อมต่อบริการกับโรงพยาบาล 1.5 ระบบการดูแลประคับประคองในผู้ป่วยมะเร็ง 1.6 ระบบการฝากครรภ์ 1.7 วาฟฟารินคลินิกในกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจ 2. การพัฒนาศักยภาพทีมปฐมภูมิ เช่น การจัดประชุมวิชาการ Case conference การ ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะในการดูแลผู้ป่วย การนิเทศติดตาม การสอนแสดง การจัดการ ความรู้ ฯลฯ โดยมีกลุ่มงานเวชกรรมสังคม ทาหน้าที่เชื่อมประสานกับโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา และเป็นพี่เลี้ยงในการนิเทศติดตามการพัฒนา เพื่อให้บุคลากร เกิดความมั่นใจว่าให้บริการได้มีมาตรฐาน เป็นต้นว่า การพัฒนาทักษะในการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวาน การแปรผลน้าตาลในเลือด การปรับยา เบาหวาน การอ่านภาพจอประสาทตา การสอนตรวจเต้านม การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง การ สื่อสารกับผู้ป่วยมะเร็งให้ยอมรับความความจริงและอยู่กับโรคได้อย่างสงบ การนาร่องจ้างนัก กายภาพบาบัด เพื่อพัฒนารูปแบบงานฟื้นฟูสภาพในระบบบริการปฐมภูมิ โดยนาร่องในการพัฒนาระบบ กายภาพบาบัดเชิงรุก แก่ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก ฯลฯ 3. การบูรณาการการสร้างเสริมศักยภาพของผู้ป่วยและชุมชน โดยการเสริมพลังให้กับผู้ป่วย ให้สามารถดูแลตนเองได้ ในการพัฒนาระบบบริการCUPเมืองย่า จึงมีการจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดการ เรียนรู้และมีทักษะในการดูแลตนเอง ผู้ป่วยที่ดูตนเองได้ดีแล้ว ยังมีจิตอาสาที่จะช่วยดูแลเผื่อแผ่ไปยังผู้ป่วย รายอื่นๆ กิจกรรมค่ายเบาหวานเพื่อให้ผู้ป่วยเรียนรู้ การเจาะเลือดค่าและน้าตาลในเลือด ภาวะแทรกซ้อน อาหาร การออกกาลังกาย รวมถึงการจัดกิจกรรมสาหรับผู้ป่วยเบาหวานแอบแฝง การจัดกิจกรรมเครือข่าย มะเร็งด้วยแนวทางธรรม(ะ)ชาติบาบัด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของอสม.ในการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยอัมพาตครึ่ง ซีก การร่วมกับอปท.ในการจัดกิจกรรมสาหรับผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยมะเร็ง 4. การพัฒนาเครือข่ายและระบบสนับสนุน จากโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ทั้งด้าน เวชภัณฑ์ ระบบการชันสูตรโดยโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาร่วมกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด นครราชสีมา ภายใต้การสนับสนุนจากสปสช.เขตพื้นที่ นครราชสีมา จัดตั้งCentral lab ระบบการส่งต่อ และการบริหารจัดการของเครือข่ายในการนาเครือข่ายเมืองย่าทั้ง 7 ให้มีเป้าหมายเดียวกัน ในการ ให้บริการปฐมภูมิที่ได้มาตรฐาน ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญในการบริหารจัดการะบบบริการปฐมภูมิไปสู่
  • 6. เป้าหมาย มีการพัฒนาแกนนากระบวนกรของเครือข่ายเมืองย่า เพื่อวางแผนในการขยายผลไปยังทีมปฐม ภูมิและทีมรพ.มหาราชฯในการทางานร่วมกันเป็นทีม 5. การพัฒนางานวิจัยและวิชาการ ด้วยการสนับสนุนให้ทีมปฐมภูมิ ได้พัฒนางานผ่านการ ทางานประจาสู่งานวิจัย และได้มีการโอกาสเข้ามาร่วมนาเสนอในมหกรรมR2Rของโรงพยาบาล เป็นอีก เวทีหนึ่งที่ทาให้งานปฐมภูมิเป็นที่รู้จักของคนโรงพยาบาล ตลอดจนพัฒนาเป็นFacilitator และNote taker ซึ่งสามารถไปขยายผลการจัดการเรียนรู้ในเครือข่าย ทาให้เกิดการทางานร่วมกันระหว่างทีมปฐมภูมิและ ทีมสหสาขาวิชาชีพในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น ผลการดาเนินงาน การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิส่งผลให้ปริมาณผู้ป่วยที่มารับบริการใกล้บ้านใกล้ใจ ในสถานบริการปฐมภูมิเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ลดการใช้บริการที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา(ภาพที่ 4) แผนภูมแสดงสัดส่วนผู้ป่วยนอกแยกตามสิทธิการรักษาปี 2548-2553 ิ 120 100 80 ปกส เบิกได้ 60 อืนๆ-จ่ายเอง ่ UCนอกเมืองย่า 40 UCเมืองย่า 20 เริ่มโครงการ 0 ไร้ความแออัด 2548 2549 2550 2551 2552 2553 CUP Split แม้จะไม่สามารถทาให้จานวนผู้ป่วยนอกในภาพรวมของโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาลดลง ได้ แต่เมื่อพิจารณาสัดส่วนการใช้บริการของผู้ป่วยสิทธิUC จะพบสัดส่วนการใช้บริการที่เครือข่ายบริการ ปฐมภูมิในสัดส่วนที่สูงกว่าประมาณ 80:20 ในขณะที่ตัวชี้วัดศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง กระทรวงสาธารณสุข กาหนดให้สัดส่วนการใช้บริการที่ศสม. (ภาพที่ 5) และเมื่อวิเคราะห์ในกลุ่มโรคเรื้อรัง เบาหวาน และความ ดันโลหิตสูง สิทธิUC ที่ใช้บริการในปี 2554 พบสัดส่วนจานวนผู้ป่วยที่ใช้บริการที่เครือข่ายปฐมภูมิมากกว่า ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยทั้งหมด (ภาพที่ 6)
  • 7. 120 100 80 รพ.มหาราช 60 PCU 40 20 0 2546 2547 2548 2552 2553 2554 ภาพที่ 5 แสดงสัดส่วนการใช้บริการของผู้ป่วยสิทธิUCที่เครือข่ายบริการปฐมภูมิและรพ.มหาราช นครราชสีมา สัดส่วนผู้ป่วยโรคเรือรัง ้ 120 100 80 รพ.มหาราช 60 PCU 40 20 0 เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาพที่ 6 แสดงสัดส่วนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง สิทธิUCที่ใช้บริการที่รพ.มหาราชนครราชสีมา และเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
  • 8. สรุปบทเรียนการพัฒนา 1. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิให้มีความเข้มแข็ง จาเป็นต้องมีการวางระบบรากฐานทั้งเรื่อง กาลังคน ระบบบริการ ระบบสนับสนุน อย่างต่อเนื่อง และต้องอาศัยผู้นาที่มีวิสัยทัศน์ในการวางระบบ เตรียมคน เพื่อให้ระบบมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. จาเป็นต้องมีการวางแผนร่วมกันของเครือข่าย กาหนดเป้าหมาย ทิศทางในการขับเคลื่อนงาน 3. มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่หยุดนิ่ง เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนที่ รับผิดชอบ 4. การแยกระบบบริการจัดการออกจากโรงพยาบาลมีทั้งจุดแข็ง และประเด็นที่ท้าทาย ในด้านจุดแข็งที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมด้านบริการสาธารณสุข ได้แก่ เครือข่ายบริการปฐมภูมิมี อานาจ ความคล่องตัว ความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรที่เพียงพอเพื่อให้เกิดประโยชน์กับ ประชาชนในพื้นที่ตามความต้องการด้านสุขภาพของพื้นที่ ในขณะที่รพ.มหาราชนครราชสีมามีการปรับ บทบาทตนเองในฐานะรพ.แม่ข่าย ในการสนับสนุนด้านทรัพยากรอื่นๆ ได้ แก่ ระบบสนับสนุนในภาพรวม เช่น ยา เวชภัณฑ์ ระบบชันสูตร ที่เครือข่ายปฐมภูมิไม่จาเป็นต้องลงทุนหรือจัดหาเอง แต่สามารถPool รวมกัน และบริหารจัดการเพื่อ ใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างคุ้มค่า ฯลฯ ในด้านที่ท้าทาย หากประธานเครือข่าย ขาดซึ่งวิสัยทัศน์ ความเป็นผู้นา ความโปร่งใสในการ บริหารจัดการ ขาดความเป็นนักบริหารมืออาชีพ แยกCUPเพียงเพื่อบริหารเงิน แต่ไม่บริหารงานและบริการ ให้เกิดแก่ประชาชน ทีมปฐมภูมิขาดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การแยกCUP ก็เป็นประเด็นที่ท้าทาย รอการ พิสูจน์จากสาธารณชน ถึงความเหมาะสมในการเป็นต้นแบบนวัตกรรมด้านบริการปฐมภูมิเขตเมืองที่จะ สามารถผลักดันไปสู่นโยบายระดับประเทศสืบต่อไป