SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
การจัดทาเทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต
เรื่อง กาหนดจานวนที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของอาคารบางชนิดหรือบางประเภท
ลักษณะและขนาดที่จอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของรถยนต์
พ.ศ.2562
เรื่องที่ 2
กฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความใน พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2479
และ กฎกระทรวง (พ.ศ.2524) ตาม พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
กฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความใน พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2479
ตามมาตรา 8 วรรคสอง แห่งพรบ.ควบคุมอาคาร 2479
ข้อ 1
(1) ที่จอดรถยนต์ เป็นสถานที่สาหรับจอดรถยนต์โดยเฉพาะสาหรับอาคาร
(2) ที่กลับรถยนต์ เป็นบริเวณที่จัดไว้สาหรับกลับรถยนต์ เพื่อสะดวกในการจอด หรือเข้าออกของรถยนต์
(3) ทางเข้าออกรถยนต์ ทางที่ใช้สาหรับรถยนต์เข้าหรือออกจากที่จอด ถึงปากทางเข้าออก
(4) ปากทางเข้าออกรถยนต์ ส่วนทางเข้าออกที่เชื่อมกับทางสาธารณะ
(5) เชิงลาดสะพาน ส่วนของทางที่เชื่อมกับสะพานที่มีส่วนลาดชันเกิน 2 ใน 100
(6) โรงมหรสพ อาคารหรือส่วนของอาคาร ที่ใช้เป็นโรงมหรสพตามกฎหมายว่า ด้วย
การป้องกันภยันตรายอันเกิดแต่การเล่นมหรสพ
(7) โรงแรม อาคารหรือส่วนของอาคาร ที่ใช้เป็นโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
(8) อาคารชุด อาคารหรือส่วนของอาคารที่ใช้เป็นที่พักอาศัยหลายครอบครัว โดย
แต่ละครอบครัวมีห้องนอน ครัวไฟ ห้องส้วม ห้องน้ําเป็นอิสระ มีทางเดิน บันได หรือลิฟต์ ใช้ร่วมกัน
(10) ห้างสรรพสินค้า อาคารหรือส่วนของอาคารที่ใช่แสดง หรือขายสินค้า
(11) สานักงาน อาคารหรือส่วนของอาคารที่ใช้เป็นที่ทาการ
(9) ภัตตาคาร อาคารหรือส่วนของอาคารที่ใช้เป็นที่ขายอาหาร หรือเครื่องดื่ม มี พื้นที่ตั้งโต๊ะอาหาร ภายใน
หรือภายนอกอาคาร
(12) อาคารขนาดใหญ่ อาคารที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภท โดยมีความสูง
จากระดับถนน 15 เมตรขึ้นไป มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกัน เกิน 1000 ตร.ม. หรือมีพื้นที่รวมกันทุกชั้น
หรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 2000 ตร.ม.
(13) ห้องโถง ส่วนของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมหรือประชุม
ข้อ 2 อาคารต่อไปนี้ต้องมีที่จอดรถ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของรถยนต์
(1) โรงมหรสพ พื้นที่ 500 ที่นั่งขึ้นไป
(2) โรงแรมที่มีห้องพัก 10 ห้องขึ้นไป
(3) อาคารชุดที่มีพื้นที่ 60 ตร.ม. ขึ้นไป
อาคารตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗
ที่มีผลกระทบเรื่องที่จอดรถกับชุมชน
๑. อาคารพักอาศัยรวม (ห้องเช้า,หอพัก)
๒. อาคารชุดพักอาศัย (คอนโดมิเนียม)
๓. อาคารโรงแรม
๔. ร้านอาหาร,ภัตราคาร
“นิยาม”
“อาคารชุด” ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (2517)
หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารที่ใช้เป็นที่พักอาศัยหลายครอบครัว โดยแต่ละครอบครัวมี
ห้องนอน ครัวไฟ ห้องส้วมและห้องน้าเป็นอิสระและมีทางเดินและบันไดขึ้นชั้นบนหรือลิฟท์ใช้ร่วมกัน
“อาคารอยู่อาศัยรวม” ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543)
หมายความว่า อาคารหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัยสาหรับหลายครอบครัว โดยแบ่งออกเป็น
หน่วยแยกจากกันสาหรับแต่ละครอบครัว
“อาคารขนาดใหญ่” ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543)
หมายความว่า อาคารที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตร หรือ
อาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 15.00 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน
เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่
ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สาหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด
“อาคารพักอาศัยรวม” กฎหมายกาหนดพื้นที่ห้องต้องไม่น้อยกว่า ๒๐ ตารางเมตร (รวมห้องน้า+ระเบียง)
กฎกระทรวงฯ ปี ๒๕๑๗ กาหนด ๒,๐๐๐ ตารางเมตร ขึ้นไป ต้องมีที่จอดรถ (๒๔๐ ตารางเมตรต่อ ๑ คัน)
๒,๐๐๐ ÷ ๒๐ ตารางเมตร = ๖๐ – ๘๐ (รวมทางเดินภายในอาคาร)
เทศบัญญัติที่ขอแก้ไขเพิ่มเติม
๓๐๐ ÷ ๒๐ ตารางเมตร = ๑๕๐ ห้องขึ้นไป
ต้องมีที่จอดรถกาหนดใหม่ ๑๒๐ ตารางเมตร ต่อ ๑ คัน ๓๐๐ ÷ ๑๒๐ ตารางเมตร = ๒.๕ คัน
ดังนั้นต้องมีที่จอดรถ ๓ คัน (ปัดเศษเป็น ๑ คัน)
ตัวอย่างห้องอาคารชุด
ตัวอย่างห้องเช่า
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ.๒๕๑๗)
ที่บังคับใช้เรื่องที่จอดรถ
เทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การกาหนดที่จอดรถยนต์
และรถจักรยานยนต์ของอาคารฯ
พ.ศ.2562 ที่ขอแก้ไขเพิ่มเติม
1. อาคารชุดที่มีพื้นที่แต่ละครอบครัว ๖๐ ตารางเมตรขึ้นไป
-ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 2 ครอบครัว เศษของ
2
ครอบครัว ให้คิดเป็ น 2 ครอบครัว
1. อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด ที่มีพื้นที่ห้องชุด
แต่ละห้องชุด ตั้งแต่ 60 ตารางเมตร ขึ้นไป ให้มีที่จอดรถยนต์
ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 1 ห้องชุด และพื้นที่ห้องชุดแต่ละห้องชุด
น้อยกว่า 60 ตารางเมตร ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คัน
ต่อพื้นที่อาคาร 120 ตารางเมตร เศษของ 120 ตารางเมตร ให้
คิดเป็ น 120 ตารางเมตร
2. อาคารขนาดใหญ่ (ที่มีพื้นที่ 2000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือ
อาคาร
ที่มี ความสูงตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือ
ชั้นหนึ่งชั้น ใดในหลังเดียวกัน เดิม 1000 ตารางเมตร)
-ให้มีที่จอดรถยนต์240 ตารางเมตรต่อ 1 คัน เศษของ 240
ตารางเมตร ให้คิดเป็ น 240 ตารางเมตร
2. อาคารขนาดใหญ่ให้มีที่จอดรถยนต์ตามจานวนที่กาหนด
ของแต่ละประเภทของอาคารที่ใช้ประกอบกิจการในอาคาร
ขนาดใหญ่นั้นร่วมกันหรือให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คัน
ต่อพื้นที่อาคาร 120 ตารางเมตร เศษของ 120 ตารางเมตร ให้
คิดเป็ น 120 ตารางเมตร ทั้งนี้ให้ถือที่จอดรถยนต์จานวนที่
มากกว่าเป็ นเกณฑ์
3. อาคารขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็ นตึกแถว สูงไม่เกิน 4 ชั้น
-ต้องมีที่จอดรถยนต์อยู่ภายนอกอาคาร หรืออยู่ในห้องใต้ดิน
ของอาคารไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 2 ห้อง
3. อาคารขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็ นตึกแถวสูงไม่เกิน 4 ชั้น
ต้องมีที่จอดรถยนต์อยู่ภายนอกอาคารหรือยู่ในห้องใต้ดิน ไม่
น้อยกว่า 1 คันต่อ 1 ห้อง
4. ที่จอดรถมอเตอร ์ไซด์
-ไม่บังคับใช้
4. อาคารขนาดใหญ่ตามวรรคหนึ่งต้องจัดให้มีที่จอด
รถจักรยานยนต์ด้วย โดยจานวนที่จอดรถจักรยานยนต์ให้
คานวณจากพื้นที่ร้อยละสิบของพื้นที่จอดรถยนต์ทั้งหมด
กฎกระทรวง
ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุม
อาคาร พ.ศ. 2522อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5(3) และมาตรา 8(1) (7) และ (8) แห งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 อันเป
นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับ
มาตรา 31 มาตรา 35 มาตรา 48 มาตรา 49 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให กระทา
ได โดย อาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห งกฎหมาย รัฐมนตรีว าการกระทรวงมหาดไทยโดยคาแนะนาของ
คณะกรรมการควบคุมอาคาร ออกกฎกระทรวงไว ดังต อไปนี้
ข อ 1 ในกฎกระทรวงนี้
“อาคารอยู อาศัย” หมายความว า อาคารซึ่งโดยปกติบุคคลใช อยู อาศัยได ทั้งกลางวันและกลางคืน ไม
ว าจะ เป นการอยู อาศัยอย างถาวรหรือชั่วคราว
“ห องแถว” หมายความว า อาคารที่ก อสร างต อเนื่องกันเป นแถวยาวตั้งแต สองคูหาขึ้นไป มีผนัง
แบ งอาคาร เป นคูหาและประกอบด วยวัสดุไม ทนไฟเป นส วนใหญ
“ตึกแถว” หมายความว า อาคารที่ก อสร างต อเนื่องกันเป นแถวยาวตั้งแต สองคูหาขึ้นไป มีผนังแบ
งอาคาร เป นคูหาและประกอบด วยวัสดุทนไฟเป นส วนใหญ
“บ านแถว” หมายความว า ห องแถวหรือตึกแถวที่ใช เป นที่อยู อาศัย ซึ่งมีที่ว างด านหน
าและด านหลังระหว างรั้วหรือแนวเขตที่ดินกับตัวอาคารแต ละคูหา และมีความสูงไม เกินสามชั้น
“บ านแฝด” หมายความว า อาคารที่ใช เป นที่อยู อาศัยก อสร างติดต อกันสองบ าน มีผนังแบ
งอาคารเป นบ าน มีที่ว างระหว างรั้วหรือแนวเขตที่ดินกับตัวอาคารด านหน า ด านหลัง และด านข าง
ของแต ละบ าน และมีทางเข าออกของแต ละบ าน แยกจากกันเป นสัดส วน
“อาคารพาณิชย ” หมายความว า อาคารที่ใช เพื่อประโยชน ในการพาณิชยกรรม หรือบริการธุรกิจ
หรือ อุตสาหกรรมที่ใช เครื่องจักรที่มีกาลังการผลิตเทียบได น อยกว า 5 แรงม า และให หมายความรวมถึง
อาคารอื่นใดที่ก อสร างห าง จากถนนหรือทางสาธารณะไม เกิน 20 เมตร ซึ่งอาจใช เป นอาคารเพื่อประโยชน
ในการพาณิชยกรรมได
“อาคารสาธารณะ” หมายความว า อาคารที่ใช เพื่อประโยชน ในการชุมนุมคนได โดยทั่วไป เพื่อกิจกรรม
“อาคารอยู อาศัยรวม” หมายความว า อาคารหรือส วนใดส วนหนึ่งของอาคารที่ใช เป นที่อยู
อาศัยสาหรับ หลายครอบครัว โดยแบ งออกเป นหน วยแยกจากกันสาหรับแต ละครอบครัว
“อาคารขนาดใหญ ” หมายความว า อาคารที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน
เกิน 2,000 ตารางเมตร หรืออาคารที่มีความสูงตั้งแต 15.00 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่ง
ชั้นใดในหลังเดียวกัน เกิน 1,000 ตารางเมตร แต ไม เกิน 2,000 ตารางเมตร การวัดความสูงของอาคารให วัด
จากระดับพื้นดินที่ก อสร างถึงพื้นดาดฟ า สาหรับอาคารทรงจั่วหรือป นหยาให วัดจากระดับพื้นดินที่ก
อสร างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด
“สานักงาน” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นสานักงานหรือที่
ทาการ
“คลังสินค า” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นที่สาหรับเก็บสิ
นค าหรือสิ่งของ เพื่อประโยชน ทางการค าหรืออุตสาหกรรม
“โรงงาน” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นโรงงานตาม
กฎหมายว าด วยโรงงาน
“โรงมหรสพ” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นสถานที่สาหรับ
ฉายภาพยนตร แสดงละคร แสดงดนตรี หรือแสดงมหรสพอื่นใด และมีวัตถุประสงค เพื่อเป ดให
สาธารณชนเข าชมการแสดงนั้น โดยจะมี ค าตอบแทนหรือไม ก็ตาม
“โรงแรม” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นโรงแรมตาม
กฎหมายว าด วยโรงแรม
“ภัตตาคาร” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นที่ขายอาหาร
หรือเครื่องดื่ม โดย มีพื้นที่สาหรับตั้งโต ะอาหารไว บริการภายในอาคารหรือภายนอกอาคาร
“วัสดุถาวร” หมายความว า วัสดุซึ่งตามปกติไม แปลงสภาพได ง ายโดยน้ํา ไฟ หรือดินฟ
าอากาศ
“วัสดุทนไฟ” หมายความว า วัสดุก อสร างที่ไม เป นเชื้อเพลิง
“พื้น” หมายความว า พื้นที่ของอาคารที่บุคคลเข าอยู หรือเข าใช สอยได ภายในขอบเขต
ของคานหรือตงที่รับพื้น หรือภายในพื้นนั้น หรือภายในขอบเขตของผนังอาคารรวมทั้งเฉลียงหรือระเบียงด วย
“ดาดฟ า” หมายความว า พื้นส วนบนสุดของอาคารที่ไม มีหลังคาปกคลุม และบุคคลสามารถขึ้น
ไปใช สอยได ช วงบ“ัันได” หมายความว า ระยะตั้งบันไดซึ่งมีขั้นต อเนื่องกันโดยตลอด “ลูกตั้ง” หมาย
ความว า ระยะตั้งของขั้นบันได “ลูกนอน” หมายความว า ระยะราบของขั้นบันได “ความกว างสุทธิ” หมาย
ความว า ความกว างที่วัดจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยปราศจากสิ่งใดๆ กีดขวาง “ที่ว าง” หมายความว า
พื้นที่อันปราศจากหลังคาหรือสิ่งก อสร างปกคลุม ซึ่งพื้นที่ดังกล าวอาจจะจัดให เป น
บ อน้ํา สระว ายน้ํา บ อพักน้ําเสีย ที่พักมูลฝอย ที่พักรวมมูลฝอย หรือที่จอดรถ ที่อยู ภายนอก
อาคารก็ได และให หมายความ รวมถึงพื้นที่ของสิ่งก อสร าง หรืออาคารที่สูงจากระดับพื้นดินไม เกิน
1.20 เมตร และไม มีหลังคาหรือสิ่งก อสร างปกคลุมเหนือ ระดับนั้น
“ถนนสาธารณะ” หมายความว า ถนนที่เป ดหรือยินยอมให ประชาชนเข าไปหรือใช เป นทาง
สัญจรได ทั้งนี้ ไม ว าจะมีการเรียกเก็บค าตอบแทนหรือไม
เทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต
เรื่อง กาหนดจานวนที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของอาคารบางชนิดหรือบางประเภท ลักษณะและขนาด
ของที่จอดรถยนต์รถจักรยานยนต์ที่กลับรถยนต์และทางเข้าออกของรถยนต์
พ.ศ. ๒๕62
----------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๐ (๑) และมาตรา ๑๐ (๒) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.
๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ และ มาตรา ๖๐ (๒) แห่ง
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๑๐
เทศบาลนครรังสิต โดยความเห็นชอบของสภาเทศบาลนครรังสิต ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี คณะกรรมการ
ควบคุมอาคาร และได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จึงออกเทศบัญญัติไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ เทศบัญญัตินี้เรียกว่า “เทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต เรื่อง กาหนดจานวนที่จอดรถยนต์และ
รถจักรยานยนต์ของอาคารบางชนิดหรือบางประเภท ลักษณะและขนาดของที่จอดรถยนต์รถจักรยานยนต์ที่กลับ
รถยนต์และทางเข้าออกของรถยนต์ พ.ศ. ๒๕62”
ข้อ ๒ เทศบัญญัตินี้ใช้บังคับในเขตเทศบาลนครรังสิต อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
ข้อ ๓ เทศบัญญัติฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
ข้อ ๔ ให้กาหนดประเภทของอาคารซึ่งต้องมีที่จอดรถ ที่กลับรถ และทางเข้าออกของรถไว้ ดังต่อไปนี้
(๑) โรงมหรสพ โรงแรม ภัตตาคาร ห้างสรรพสินค้า สานักงาน อาคารขนาดใหญ่ ห้องโถง ของ
ภัตตาคาร หรืออาคารขนาดใหญ่ ที่มีลักษณะที่กาหนดในข้อ ๒ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๑๗) ออก
ตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช ๒๔๗๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๖๔ (พ.ศ. ๒๕๕๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
(๒) อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด
(๓) อาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่ตั้งแต่ ๓๐๐ ตารางเมตรขึ้นไป
่ ้
(๒) โรงแรมต้องจัดให้มีที่จอดรถยนต์ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๑๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคารพุทธศักราช
๒๔๗๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๔ (พ.ศ. ๒๕๕๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
(๓) อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด ที่มีพื้นที่ห้องชุดแต่ละห้องชุดตั้งแต่ ๖๐ ตารางเมตร ขึ้นไป ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า ๑ คัน ต่อ ๑ ห้อง
ชุด และพื้นที่ห้องชุดแต่ละห้องชุด น้อยกว่า ๖๐ ตารางเมตร ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า ๑ คัน ต่อพื้นที่อาคาร ๑๒๐ ตารางเมตร เศษของ ๑๒๐ ตารางเมตร ให้คิด
เป็น ๑๒๐ ตารางเมตร
(๔) อาคารอยู่อาศัยรวม ให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่า ๑ คันต่อพื้นที่อาคาร ๒๔๐ ตารางเมตร เศษของ ๒๔๐ ตารางเมตร ให้คิดเป็น ๒๔๐ ตารางเมตร
(๕) ห้องโถงของโรงแรม ตามข้อ ๔ (๕) ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า ๑ คันต่อพื้นที่ ห้องโถง ๑๕ ตารางเมตร เศษของ ๑๕ ตารางเมตร ให้คิดเป็น ๑๕
ตารางเมตร
(๖) อาคารขนาดใหญ่ ให้มีที่จอดรถยนต์ตามจานวนที่กาหนดของแต่ละประเภทของอาคาร ที่ใช้เป็นที่ประกอบกิจการในอาคารขนาดใหญ่นั้นรวมกัน
หรือให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า ๑ คัน ต่อพื้นที่อาคาร ๑๒๐ ตารางเมตร เศษของ ๑๒๐ ตารางเมตร ให้คิดเป็น ๑๒๐ ตารางเมตร ทั้งนี้ ให้ถือที่จอดรถยนต์จานวนที่
มากกว่าเป็นเกณฑ์
อาคารขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็ นตึกแถวสูงไม่เกินสี่ชั้น ต้องมีที่จอดรถยนต์อยู่ภายนอกอาคาร หรืออยู่ในห้อง
ใต้ดินของอาคารไม่น้อยกว่า ๑ คัน ต่อ ๑ ห้อง
อาคารขนาดใหญ่ตามวรรคหนึ่งต้องจัดให้มีที่จอดรถจักรยานยนต์ด้วย โดยจานวนที่จอดรถจักรยานยนต์ให้
คานวณจากพื้นที่ร้อยละสิบของพื้นที่จอดรถยนต์ทั้งหมดตามที่กาหนดในเทศบัญญัตินี้ โดยที่จอดรถจักรยานยนต์หนึ่ง
คันต้องเป็ นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้างไม่น้อยกว่า ๑.๕๐ เมตร ยาวไม่น้อยกว่า ๒.๕๐ เมตร
ข้อ ๖ ลักษณะและขนาดของที่จอดรถยนต์ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของรถยนต์ สาหรับอาคารบาง
ชนิดหรือบางประเภทให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๑๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช ๒๔๗๙ และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๑ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
ข้อ ๗ อาคารที่มีอยู่ก่อนแล้วหรือในวันที่เทศบัญญัตินี้ใช้บังคับให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามเทศ
ข้อ ๘ อาคารที่ได้รับใบอนุญาตหรือใบรับแจ้งการก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้ ตาม
กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร หรือที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายเฉพาะว่าด้วยกิจการนั้น ก่อนวันที่เทศ
บัญญัตินี้ใช้บังคับ และยังก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้ไม่แล้วเสร็จ ให้ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องปฏิบัติ
ตามเทศบัญญัตินี้ แต่จะขอเปลี่ยนแปลงการอนุญาตหรือการแจ้งให้เป็ นการขัดต่อ เทศบัญญัตินี้ไม่ได้
ข้อ ๙ ให้นายกเทศมนตรีนครรังสิต รักษาการตามเทศบัญญัตินี้
ประกาศ ณ วันที่ เดือน พ.ศ. 2562
(นายธีรวุฒิ กลิ่นกุสุม)
นายกเทศมนตรีนครรังสิต
การจัดทำเทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต เรื่อง กำหนดจำนวนที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของอาคารบางชนิดหรือบางประเภทลักษณะและขนาดที่จอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของรถยนต์พ.ศ.2562
การจัดทำเทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต เรื่อง กำหนดจำนวนที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของอาคารบางชนิดหรือบางประเภทลักษณะและขนาดที่จอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของรถยนต์พ.ศ.2562
การจัดทำเทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต เรื่อง กำหนดจำนวนที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของอาคารบางชนิดหรือบางประเภทลักษณะและขนาดที่จอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของรถยนต์พ.ศ.2562

More Related Content

What's hot

Centre for blinds and visually impaired
Centre for blinds and visually impairedCentre for blinds and visually impaired
Centre for blinds and visually impairedMayur karodia
 
Govardhan eco village
Govardhan eco villageGovardhan eco village
Govardhan eco villageGRIHA India
 
GreenStudio - Chapter 4 2 7 Shading Devices
GreenStudio - Chapter 4 2 7 Shading DevicesGreenStudio - Chapter 4 2 7 Shading Devices
GreenStudio - Chapter 4 2 7 Shading DevicesGalala University
 
3.3 land acquisition act
3.3 land acquisition act3.3 land acquisition act
3.3 land acquisition actSachin PatiL
 
Literature study on tribal housing
Literature study on tribal housingLiterature study on tribal housing
Literature study on tribal housingTwinkle Sahu
 
Land Acquisition Flow Chart
Land Acquisition Flow ChartLand Acquisition Flow Chart
Land Acquisition Flow ChartAvijeet Lala
 
Charles correa - housing projects
Charles correa - housing projectsCharles correa - housing projects
Charles correa - housing projectsAarti Rani
 
Housing design n standards
Housing design n standardsHousing design n standards
Housing design n standardsJoshuaL3
 
Architecture design housing ppt
Architecture design housing pptArchitecture design housing ppt
Architecture design housing pptSalwaShah3
 
Vernacular architecture in chattisgarh
Vernacular architecture in chattisgarhVernacular architecture in chattisgarh
Vernacular architecture in chattisgarhAmit Verma
 
Housing scenario in india
Housing scenario in indiaHousing scenario in india
Housing scenario in indiaPooja Jariwala
 
Jaunapur slum resettlement scheme by Ar.Anil Laul
Jaunapur slum resettlement scheme by Ar.Anil LaulJaunapur slum resettlement scheme by Ar.Anil Laul
Jaunapur slum resettlement scheme by Ar.Anil LaulAakriti Rawat
 
BASEMENT FIRE PROTECTION LAYOUT-SECTOR-2
BASEMENT FIRE PROTECTION LAYOUT-SECTOR-2BASEMENT FIRE PROTECTION LAYOUT-SECTOR-2
BASEMENT FIRE PROTECTION LAYOUT-SECTOR-2MAHENDRAN Mahalingam
 
2.6 slum rehabilitation
2.6 slum rehabilitation2.6 slum rehabilitation
2.6 slum rehabilitationSachin PatiL
 

What's hot (20)

Centre for blinds and visually impaired
Centre for blinds and visually impairedCentre for blinds and visually impaired
Centre for blinds and visually impaired
 
Govardhan eco village
Govardhan eco villageGovardhan eco village
Govardhan eco village
 
GreenStudio - Chapter 4 2 7 Shading Devices
GreenStudio - Chapter 4 2 7 Shading DevicesGreenStudio - Chapter 4 2 7 Shading Devices
GreenStudio - Chapter 4 2 7 Shading Devices
 
3.3 land acquisition act
3.3 land acquisition act3.3 land acquisition act
3.3 land acquisition act
 
Literature study on tribal housing
Literature study on tribal housingLiterature study on tribal housing
Literature study on tribal housing
 
Land Acquisition Flow Chart
Land Acquisition Flow ChartLand Acquisition Flow Chart
Land Acquisition Flow Chart
 
Child Orphanage
Child OrphanageChild Orphanage
Child Orphanage
 
Charles correa - housing projects
Charles correa - housing projectsCharles correa - housing projects
Charles correa - housing projects
 
Housing design n standards
Housing design n standardsHousing design n standards
Housing design n standards
 
Architecture design housing ppt
Architecture design housing pptArchitecture design housing ppt
Architecture design housing ppt
 
Vernacular architecture in chattisgarh
Vernacular architecture in chattisgarhVernacular architecture in chattisgarh
Vernacular architecture in chattisgarh
 
Housing and housing policy, HSTU
Housing and housing policy, HSTUHousing and housing policy, HSTU
Housing and housing policy, HSTU
 
Housing scenario in india
Housing scenario in indiaHousing scenario in india
Housing scenario in india
 
Jaunapur slum resettlement scheme by Ar.Anil Laul
Jaunapur slum resettlement scheme by Ar.Anil LaulJaunapur slum resettlement scheme by Ar.Anil Laul
Jaunapur slum resettlement scheme by Ar.Anil Laul
 
Nanyang report
Nanyang reportNanyang report
Nanyang report
 
BASEMENT FIRE PROTECTION LAYOUT-SECTOR-2
BASEMENT FIRE PROTECTION LAYOUT-SECTOR-2BASEMENT FIRE PROTECTION LAYOUT-SECTOR-2
BASEMENT FIRE PROTECTION LAYOUT-SECTOR-2
 
The architects act, 1972
The architects act, 1972The architects act, 1972
The architects act, 1972
 
finalpresentation
finalpresentationfinalpresentation
finalpresentation
 
By laws Gujrat
By laws GujratBy laws Gujrat
By laws Gujrat
 
2.6 slum rehabilitation
2.6 slum rehabilitation2.6 slum rehabilitation
2.6 slum rehabilitation
 

การจัดทำเทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต เรื่อง กำหนดจำนวนที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของอาคารบางชนิดหรือบางประเภทลักษณะและขนาดที่จอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของรถยนต์พ.ศ.2562

  • 2. เรื่องที่ 2 กฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความใน พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2479 และ กฎกระทรวง (พ.ศ.2524) ตาม พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 กฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความใน พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2479 ตามมาตรา 8 วรรคสอง แห่งพรบ.ควบคุมอาคาร 2479 ข้อ 1 (1) ที่จอดรถยนต์ เป็นสถานที่สาหรับจอดรถยนต์โดยเฉพาะสาหรับอาคาร (2) ที่กลับรถยนต์ เป็นบริเวณที่จัดไว้สาหรับกลับรถยนต์ เพื่อสะดวกในการจอด หรือเข้าออกของรถยนต์ (3) ทางเข้าออกรถยนต์ ทางที่ใช้สาหรับรถยนต์เข้าหรือออกจากที่จอด ถึงปากทางเข้าออก (4) ปากทางเข้าออกรถยนต์ ส่วนทางเข้าออกที่เชื่อมกับทางสาธารณะ
  • 3. (5) เชิงลาดสะพาน ส่วนของทางที่เชื่อมกับสะพานที่มีส่วนลาดชันเกิน 2 ใน 100 (6) โรงมหรสพ อาคารหรือส่วนของอาคาร ที่ใช้เป็นโรงมหรสพตามกฎหมายว่า ด้วย การป้องกันภยันตรายอันเกิดแต่การเล่นมหรสพ (7) โรงแรม อาคารหรือส่วนของอาคาร ที่ใช้เป็นโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม (8) อาคารชุด อาคารหรือส่วนของอาคารที่ใช้เป็นที่พักอาศัยหลายครอบครัว โดย แต่ละครอบครัวมีห้องนอน ครัวไฟ ห้องส้วม ห้องน้ําเป็นอิสระ มีทางเดิน บันได หรือลิฟต์ ใช้ร่วมกัน
  • 4. (10) ห้างสรรพสินค้า อาคารหรือส่วนของอาคารที่ใช่แสดง หรือขายสินค้า (11) สานักงาน อาคารหรือส่วนของอาคารที่ใช้เป็นที่ทาการ (9) ภัตตาคาร อาคารหรือส่วนของอาคารที่ใช้เป็นที่ขายอาหาร หรือเครื่องดื่ม มี พื้นที่ตั้งโต๊ะอาหาร ภายใน หรือภายนอกอาคาร (12) อาคารขนาดใหญ่ อาคารที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภท โดยมีความสูง จากระดับถนน 15 เมตรขึ้นไป มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกัน เกิน 1000 ตร.ม. หรือมีพื้นที่รวมกันทุกชั้น หรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 2000 ตร.ม. (13) ห้องโถง ส่วนของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมหรือประชุม ข้อ 2 อาคารต่อไปนี้ต้องมีที่จอดรถ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของรถยนต์ (1) โรงมหรสพ พื้นที่ 500 ที่นั่งขึ้นไป (2) โรงแรมที่มีห้องพัก 10 ห้องขึ้นไป (3) อาคารชุดที่มีพื้นที่ 60 ตร.ม. ขึ้นไป
  • 5. อาคารตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ ที่มีผลกระทบเรื่องที่จอดรถกับชุมชน ๑. อาคารพักอาศัยรวม (ห้องเช้า,หอพัก) ๒. อาคารชุดพักอาศัย (คอนโดมิเนียม) ๓. อาคารโรงแรม ๔. ร้านอาหาร,ภัตราคาร
  • 6. “นิยาม” “อาคารชุด” ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (2517) หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารที่ใช้เป็นที่พักอาศัยหลายครอบครัว โดยแต่ละครอบครัวมี ห้องนอน ครัวไฟ ห้องส้วมและห้องน้าเป็นอิสระและมีทางเดินและบันไดขึ้นชั้นบนหรือลิฟท์ใช้ร่วมกัน “อาคารอยู่อาศัยรวม” ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) หมายความว่า อาคารหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัยสาหรับหลายครอบครัว โดยแบ่งออกเป็น หน่วยแยกจากกันสาหรับแต่ละครอบครัว “อาคารขนาดใหญ่” ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) หมายความว่า อาคารที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตร หรือ อาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 15.00 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สาหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด
  • 7. “อาคารพักอาศัยรวม” กฎหมายกาหนดพื้นที่ห้องต้องไม่น้อยกว่า ๒๐ ตารางเมตร (รวมห้องน้า+ระเบียง) กฎกระทรวงฯ ปี ๒๕๑๗ กาหนด ๒,๐๐๐ ตารางเมตร ขึ้นไป ต้องมีที่จอดรถ (๒๔๐ ตารางเมตรต่อ ๑ คัน) ๒,๐๐๐ ÷ ๒๐ ตารางเมตร = ๖๐ – ๘๐ (รวมทางเดินภายในอาคาร) เทศบัญญัติที่ขอแก้ไขเพิ่มเติม ๓๐๐ ÷ ๒๐ ตารางเมตร = ๑๕๐ ห้องขึ้นไป ต้องมีที่จอดรถกาหนดใหม่ ๑๒๐ ตารางเมตร ต่อ ๑ คัน ๓๐๐ ÷ ๑๒๐ ตารางเมตร = ๒.๕ คัน ดังนั้นต้องมีที่จอดรถ ๓ คัน (ปัดเศษเป็น ๑ คัน)
  • 10. กฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ.๒๕๑๗) ที่บังคับใช้เรื่องที่จอดรถ เทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต เรื่อง การกาหนดที่จอดรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ของอาคารฯ พ.ศ.2562 ที่ขอแก้ไขเพิ่มเติม 1. อาคารชุดที่มีพื้นที่แต่ละครอบครัว ๖๐ ตารางเมตรขึ้นไป -ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 2 ครอบครัว เศษของ 2 ครอบครัว ให้คิดเป็ น 2 ครอบครัว 1. อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด ที่มีพื้นที่ห้องชุด แต่ละห้องชุด ตั้งแต่ 60 ตารางเมตร ขึ้นไป ให้มีที่จอดรถยนต์ ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 1 ห้องชุด และพื้นที่ห้องชุดแต่ละห้องชุด น้อยกว่า 60 ตารางเมตร ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คัน ต่อพื้นที่อาคาร 120 ตารางเมตร เศษของ 120 ตารางเมตร ให้ คิดเป็ น 120 ตารางเมตร 2. อาคารขนาดใหญ่ (ที่มีพื้นที่ 2000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือ อาคาร ที่มี ความสูงตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือ ชั้นหนึ่งชั้น ใดในหลังเดียวกัน เดิม 1000 ตารางเมตร) -ให้มีที่จอดรถยนต์240 ตารางเมตรต่อ 1 คัน เศษของ 240 ตารางเมตร ให้คิดเป็ น 240 ตารางเมตร 2. อาคารขนาดใหญ่ให้มีที่จอดรถยนต์ตามจานวนที่กาหนด ของแต่ละประเภทของอาคารที่ใช้ประกอบกิจการในอาคาร ขนาดใหญ่นั้นร่วมกันหรือให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คัน ต่อพื้นที่อาคาร 120 ตารางเมตร เศษของ 120 ตารางเมตร ให้ คิดเป็ น 120 ตารางเมตร ทั้งนี้ให้ถือที่จอดรถยนต์จานวนที่ มากกว่าเป็ นเกณฑ์ 3. อาคารขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็ นตึกแถว สูงไม่เกิน 4 ชั้น -ต้องมีที่จอดรถยนต์อยู่ภายนอกอาคาร หรืออยู่ในห้องใต้ดิน ของอาคารไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 2 ห้อง 3. อาคารขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็ นตึกแถวสูงไม่เกิน 4 ชั้น ต้องมีที่จอดรถยนต์อยู่ภายนอกอาคารหรือยู่ในห้องใต้ดิน ไม่ น้อยกว่า 1 คันต่อ 1 ห้อง 4. ที่จอดรถมอเตอร ์ไซด์ -ไม่บังคับใช้ 4. อาคารขนาดใหญ่ตามวรรคหนึ่งต้องจัดให้มีที่จอด รถจักรยานยนต์ด้วย โดยจานวนที่จอดรถจักรยานยนต์ให้ คานวณจากพื้นที่ร้อยละสิบของพื้นที่จอดรถยนต์ทั้งหมด
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. 2522อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5(3) และมาตรา 8(1) (7) และ (8) แห งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 อันเป นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับ มาตรา 31 มาตรา 35 มาตรา 48 มาตรา 49 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให กระทา ได โดย อาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห งกฎหมาย รัฐมนตรีว าการกระทรวงมหาดไทยโดยคาแนะนาของ คณะกรรมการควบคุมอาคาร ออกกฎกระทรวงไว ดังต อไปนี้ ข อ 1 ในกฎกระทรวงนี้ “อาคารอยู อาศัย” หมายความว า อาคารซึ่งโดยปกติบุคคลใช อยู อาศัยได ทั้งกลางวันและกลางคืน ไม ว าจะ เป นการอยู อาศัยอย างถาวรหรือชั่วคราว “ห องแถว” หมายความว า อาคารที่ก อสร างต อเนื่องกันเป นแถวยาวตั้งแต สองคูหาขึ้นไป มีผนัง แบ งอาคาร เป นคูหาและประกอบด วยวัสดุไม ทนไฟเป นส วนใหญ “ตึกแถว” หมายความว า อาคารที่ก อสร างต อเนื่องกันเป นแถวยาวตั้งแต สองคูหาขึ้นไป มีผนังแบ งอาคาร เป นคูหาและประกอบด วยวัสดุทนไฟเป นส วนใหญ “บ านแถว” หมายความว า ห องแถวหรือตึกแถวที่ใช เป นที่อยู อาศัย ซึ่งมีที่ว างด านหน าและด านหลังระหว างรั้วหรือแนวเขตที่ดินกับตัวอาคารแต ละคูหา และมีความสูงไม เกินสามชั้น “บ านแฝด” หมายความว า อาคารที่ใช เป นที่อยู อาศัยก อสร างติดต อกันสองบ าน มีผนังแบ งอาคารเป นบ าน มีที่ว างระหว างรั้วหรือแนวเขตที่ดินกับตัวอาคารด านหน า ด านหลัง และด านข าง ของแต ละบ าน และมีทางเข าออกของแต ละบ าน แยกจากกันเป นสัดส วน “อาคารพาณิชย ” หมายความว า อาคารที่ใช เพื่อประโยชน ในการพาณิชยกรรม หรือบริการธุรกิจ หรือ อุตสาหกรรมที่ใช เครื่องจักรที่มีกาลังการผลิตเทียบได น อยกว า 5 แรงม า และให หมายความรวมถึง อาคารอื่นใดที่ก อสร างห าง จากถนนหรือทางสาธารณะไม เกิน 20 เมตร ซึ่งอาจใช เป นอาคารเพื่อประโยชน ในการพาณิชยกรรมได “อาคารสาธารณะ” หมายความว า อาคารที่ใช เพื่อประโยชน ในการชุมนุมคนได โดยทั่วไป เพื่อกิจกรรม
  • 15. “อาคารอยู อาศัยรวม” หมายความว า อาคารหรือส วนใดส วนหนึ่งของอาคารที่ใช เป นที่อยู อาศัยสาหรับ หลายครอบครัว โดยแบ งออกเป นหน วยแยกจากกันสาหรับแต ละครอบครัว “อาคารขนาดใหญ ” หมายความว า อาคารที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน เกิน 2,000 ตารางเมตร หรืออาคารที่มีความสูงตั้งแต 15.00 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่ง ชั้นใดในหลังเดียวกัน เกิน 1,000 ตารางเมตร แต ไม เกิน 2,000 ตารางเมตร การวัดความสูงของอาคารให วัด จากระดับพื้นดินที่ก อสร างถึงพื้นดาดฟ า สาหรับอาคารทรงจั่วหรือป นหยาให วัดจากระดับพื้นดินที่ก อสร างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด “สานักงาน” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นสานักงานหรือที่ ทาการ “คลังสินค า” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นที่สาหรับเก็บสิ นค าหรือสิ่งของ เพื่อประโยชน ทางการค าหรืออุตสาหกรรม “โรงงาน” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นโรงงานตาม กฎหมายว าด วยโรงงาน “โรงมหรสพ” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นสถานที่สาหรับ ฉายภาพยนตร แสดงละคร แสดงดนตรี หรือแสดงมหรสพอื่นใด และมีวัตถุประสงค เพื่อเป ดให สาธารณชนเข าชมการแสดงนั้น โดยจะมี ค าตอบแทนหรือไม ก็ตาม “โรงแรม” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นโรงแรมตาม กฎหมายว าด วยโรงแรม “ภัตตาคาร” หมายความว า อาคารหรือส วนหนึ่งส วนใดของอาคารที่ใช เป นที่ขายอาหาร หรือเครื่องดื่ม โดย มีพื้นที่สาหรับตั้งโต ะอาหารไว บริการภายในอาคารหรือภายนอกอาคาร “วัสดุถาวร” หมายความว า วัสดุซึ่งตามปกติไม แปลงสภาพได ง ายโดยน้ํา ไฟ หรือดินฟ าอากาศ “วัสดุทนไฟ” หมายความว า วัสดุก อสร างที่ไม เป นเชื้อเพลิง “พื้น” หมายความว า พื้นที่ของอาคารที่บุคคลเข าอยู หรือเข าใช สอยได ภายในขอบเขต ของคานหรือตงที่รับพื้น หรือภายในพื้นนั้น หรือภายในขอบเขตของผนังอาคารรวมทั้งเฉลียงหรือระเบียงด วย
  • 16. “ดาดฟ า” หมายความว า พื้นส วนบนสุดของอาคารที่ไม มีหลังคาปกคลุม และบุคคลสามารถขึ้น ไปใช สอยได ช วงบ“ัันได” หมายความว า ระยะตั้งบันไดซึ่งมีขั้นต อเนื่องกันโดยตลอด “ลูกตั้ง” หมาย ความว า ระยะตั้งของขั้นบันได “ลูกนอน” หมายความว า ระยะราบของขั้นบันได “ความกว างสุทธิ” หมาย ความว า ความกว างที่วัดจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยปราศจากสิ่งใดๆ กีดขวาง “ที่ว าง” หมายความว า พื้นที่อันปราศจากหลังคาหรือสิ่งก อสร างปกคลุม ซึ่งพื้นที่ดังกล าวอาจจะจัดให เป น บ อน้ํา สระว ายน้ํา บ อพักน้ําเสีย ที่พักมูลฝอย ที่พักรวมมูลฝอย หรือที่จอดรถ ที่อยู ภายนอก อาคารก็ได และให หมายความ รวมถึงพื้นที่ของสิ่งก อสร าง หรืออาคารที่สูงจากระดับพื้นดินไม เกิน 1.20 เมตร และไม มีหลังคาหรือสิ่งก อสร างปกคลุมเหนือ ระดับนั้น “ถนนสาธารณะ” หมายความว า ถนนที่เป ดหรือยินยอมให ประชาชนเข าไปหรือใช เป นทาง สัญจรได ทั้งนี้ ไม ว าจะมีการเรียกเก็บค าตอบแทนหรือไม
  • 17. เทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต เรื่อง กาหนดจานวนที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของอาคารบางชนิดหรือบางประเภท ลักษณะและขนาด ของที่จอดรถยนต์รถจักรยานยนต์ที่กลับรถยนต์และทางเข้าออกของรถยนต์ พ.ศ. ๒๕62 ---------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๐ (๑) และมาตรา ๑๐ (๒) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ และ มาตรา ๖๐ (๒) แห่ง พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๑๐ เทศบาลนครรังสิต โดยความเห็นชอบของสภาเทศบาลนครรังสิต ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี คณะกรรมการ ควบคุมอาคาร และได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จึงออกเทศบัญญัติไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ เทศบัญญัตินี้เรียกว่า “เทศบัญญัติเทศบาลนครรังสิต เรื่อง กาหนดจานวนที่จอดรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ของอาคารบางชนิดหรือบางประเภท ลักษณะและขนาดของที่จอดรถยนต์รถจักรยานยนต์ที่กลับ รถยนต์และทางเข้าออกของรถยนต์ พ.ศ. ๒๕62” ข้อ ๒ เทศบัญญัตินี้ใช้บังคับในเขตเทศบาลนครรังสิต อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ข้อ ๓ เทศบัญญัติฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป ข้อ ๔ ให้กาหนดประเภทของอาคารซึ่งต้องมีที่จอดรถ ที่กลับรถ และทางเข้าออกของรถไว้ ดังต่อไปนี้ (๑) โรงมหรสพ โรงแรม ภัตตาคาร ห้างสรรพสินค้า สานักงาน อาคารขนาดใหญ่ ห้องโถง ของ ภัตตาคาร หรืออาคารขนาดใหญ่ ที่มีลักษณะที่กาหนดในข้อ ๒ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๑๗) ออก ตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช ๒๔๗๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๔ (พ.ศ. ๒๕๕๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ (๒) อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด (๓) อาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีพื้นที่ตั้งแต่ ๓๐๐ ตารางเมตรขึ้นไป ่ ้
  • 18. (๒) โรงแรมต้องจัดให้มีที่จอดรถยนต์ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๑๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคารพุทธศักราช ๒๔๗๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๖๔ (พ.ศ. ๒๕๕๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ (๓) อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด ที่มีพื้นที่ห้องชุดแต่ละห้องชุดตั้งแต่ ๖๐ ตารางเมตร ขึ้นไป ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า ๑ คัน ต่อ ๑ ห้อง ชุด และพื้นที่ห้องชุดแต่ละห้องชุด น้อยกว่า ๖๐ ตารางเมตร ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า ๑ คัน ต่อพื้นที่อาคาร ๑๒๐ ตารางเมตร เศษของ ๑๒๐ ตารางเมตร ให้คิด เป็น ๑๒๐ ตารางเมตร (๔) อาคารอยู่อาศัยรวม ให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่า ๑ คันต่อพื้นที่อาคาร ๒๔๐ ตารางเมตร เศษของ ๒๔๐ ตารางเมตร ให้คิดเป็น ๒๔๐ ตารางเมตร (๕) ห้องโถงของโรงแรม ตามข้อ ๔ (๕) ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า ๑ คันต่อพื้นที่ ห้องโถง ๑๕ ตารางเมตร เศษของ ๑๕ ตารางเมตร ให้คิดเป็น ๑๕ ตารางเมตร (๖) อาคารขนาดใหญ่ ให้มีที่จอดรถยนต์ตามจานวนที่กาหนดของแต่ละประเภทของอาคาร ที่ใช้เป็นที่ประกอบกิจการในอาคารขนาดใหญ่นั้นรวมกัน หรือให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า ๑ คัน ต่อพื้นที่อาคาร ๑๒๐ ตารางเมตร เศษของ ๑๒๐ ตารางเมตร ให้คิดเป็น ๑๒๐ ตารางเมตร ทั้งนี้ ให้ถือที่จอดรถยนต์จานวนที่ มากกว่าเป็นเกณฑ์ อาคารขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็ นตึกแถวสูงไม่เกินสี่ชั้น ต้องมีที่จอดรถยนต์อยู่ภายนอกอาคาร หรืออยู่ในห้อง ใต้ดินของอาคารไม่น้อยกว่า ๑ คัน ต่อ ๑ ห้อง อาคารขนาดใหญ่ตามวรรคหนึ่งต้องจัดให้มีที่จอดรถจักรยานยนต์ด้วย โดยจานวนที่จอดรถจักรยานยนต์ให้ คานวณจากพื้นที่ร้อยละสิบของพื้นที่จอดรถยนต์ทั้งหมดตามที่กาหนดในเทศบัญญัตินี้ โดยที่จอดรถจักรยานยนต์หนึ่ง คันต้องเป็ นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้างไม่น้อยกว่า ๑.๕๐ เมตร ยาวไม่น้อยกว่า ๒.๕๐ เมตร ข้อ ๖ ลักษณะและขนาดของที่จอดรถยนต์ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของรถยนต์ สาหรับอาคารบาง ชนิดหรือบางประเภทให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๑๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ ควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช ๒๔๗๙ และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๑ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความใน พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ข้อ ๗ อาคารที่มีอยู่ก่อนแล้วหรือในวันที่เทศบัญญัตินี้ใช้บังคับให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามเทศ
  • 19. ข้อ ๘ อาคารที่ได้รับใบอนุญาตหรือใบรับแจ้งการก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้ ตาม กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร หรือที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายเฉพาะว่าด้วยกิจการนั้น ก่อนวันที่เทศ บัญญัตินี้ใช้บังคับ และยังก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้ไม่แล้วเสร็จ ให้ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องปฏิบัติ ตามเทศบัญญัตินี้ แต่จะขอเปลี่ยนแปลงการอนุญาตหรือการแจ้งให้เป็ นการขัดต่อ เทศบัญญัตินี้ไม่ได้ ข้อ ๙ ให้นายกเทศมนตรีนครรังสิต รักษาการตามเทศบัญญัตินี้ ประกาศ ณ วันที่ เดือน พ.ศ. 2562 (นายธีรวุฒิ กลิ่นกุสุม) นายกเทศมนตรีนครรังสิต