SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
ความหมายการผสมเทียมสัตว์

การผสมเทียมสัตว์ (Artificial insemination) หมายถึง การทาให้
เกิดการปฏิสนธิระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทาให้เกิดการปฏิสนธิ
โดยนาน้าเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัว เมีย
ที่เป็นแม่พันธุ์ โดยที่สัตว์ไม่ต้องมีการผสมพันธุ์กันเองตามธรรมชาติ การ
ผสมเทียมสามารถทาได้กับสัตว์ทั้งที่มีการปฏิสนธิภายนอกร่างกายของ
สัตว์ เช่น การผสมเทียมปลา และการปฏิสนธิภายในร่างกายของสัตว์ เช่น
โค กระบือ สุกร แพะ แกะ
ตัวอย่างของการผสมเทียมสัตว์


คือ   หมู วัว ควาย แพะ แกะ ปลา ม้า ช้าง
ขั้นตอนการผสมเทียมสุกร
  การผสมเทียมมีขั้นตอนการปฏิบัติ
 1. การรีดเก็บน้าเชื้อ
  1.1 การรีดเก็บน้าเชื้อจากสัตว์ตัวผู้
   - เมื่อสุกรเพศผู้มีอายุประมาณ 1 ปี
   - ขั้นตอนแรกต้องฝึกให้สุกรเพศผู้คุ้นเคยกับหุ่นเสียก่อนจะ
รีด                     น้าเชื้อจริง
ปริมาณน้าเชื้อที่รีดได้ในแต่ละครั้ง
พ่อสุกรเฉลี่ยประมาณ 250 ลบ.ซม. มีตัวอสุจิเฉลี่ย 350 ล้านตัว/ลบ.ซม.
2. การตรวจคุณภาพน้าเชื้อ
2.1 การตรวจคุณภาพน้าเชื้อ
  เมื่อทาการรีดเก็บน้าเชื้อได้แล้ว จะต้องมีการตรวจสอบคุณภาพว่าใช้ได้หรือไม่
              โดยวัดปริมาตร ความหนาแน่น ความทึบสี และความเป็นกรดเป็น
ด่าง ของน้าเชื้อ ตรวจหาความเข้มข้นของตัวเชื้อและใช้กล้องจุลทรรศน์ตรวจดู
การเคลื่อนไหวของ ตัวเชื้อ เพื่อให้ทราบถึงจานวนตัวเชื้อที่มีชีวิต เป็นต้น
3. การเจือจางน้าเชื้อ
3.1 การเจือจางน้าเชื้อ
    น้าเชื้อที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้วว่าใช้ได้จะนามาเจือจางในน้ายาละลาย
น้าเชื้อซึ่งเป็นอาหารสาหรับเลี้ยงตัวอสุจิ
มีคุณสมบัติในการเก็บรักษาตัวอสุจิมิไม่ให้ตาย และยังช่วยเพิ่มปริมาตรในการแบ่งไป
ใช้สาหรับผสมแม่พันธุ์ได้หลายตัว
4. การเก็บรักษาน้าเชื้อ และการผลิตเป็นน้าเชื้อแช่แข็ง
4.1 การเก็บรักษาน้าเชื้อ
  ในปัจจุบันสามารถเก็บน้าเชื้อได้ 2 แบบ
1.น้าเชื้อสด หมายถึง น้าเชื้อที่ละลายแล้วนาไปเก็บไว้ในตู้เย็นหรือกระติกน้าแข็ง
อุณหภูมิ4-5องศาเซลเซียส สามารถเก็บไว้ได้นาน 3 – 5 วัน
2.น้าเชื้อแช่แข็ง หมายถึงการนาน้าเชื้อมาผ่านกรรมวิธีทาให้เย็นจัดจนแข็งตัวแล้ว
นามาเก็บรักษา ไว้ในไนโตรเจนเหลวอุณหภูมิ – 196 องศาเซลเซียสเก็บได้นานหลาย
ปี
5. การฉีดน้าเชื้อ (การผสมเทียม)
5.1 การฉีดน้าเชื้อ
    คือนาน้าเชื้อไปฉีดผสมให้กับตัวเมียที่กาลังเป็นสัดซึ่งปกติเมื่อร่างกาย เจริญเติบโต
เต็มที่ย่างเข้าสู่วัยสาวใน สุกร 6 – 7 เดือน ซึ่งเมื่อไข่สุก สัตว์พร้อมที่จะผสมพันธุ์โดย
จะแสดงอาการออกมาให้เห็น เช่น
 1. ส่งเสียงร้องบ่อย ๆ จนผิดสังเกต
 2. ยืนนิ่งให้ตัวอื่นขึ้นขี่ หรือยอมให้คนขึ้นเหยียบ
 3. กระวนกระวายกินอาหารน้อย
 4. มีน้าเมือกใสไหลออกมาจากปากช่องคลอด
 5. อวัยวะเพศบวมแดง
ประวัติที่มาการผสมเทียมสัตว์
เริ่มกาเนิดขึ้นในโลก ประมาณ พ.ศ.1865 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอาหรับ ได้ทาการผสมเทียม
ม้าเป็นผลสาเร็จ โดยใช้น้าเชื้อม้าที่ติดในหนังหุ้มลึงค์ นามาผสมให้กับแม่ม้าที่กาหลังเป็นสัดทา
ให้แม่ม้าตั้งท้องและคลอด
               ปี พ.ศ.2520 Leewenhoek และ Hamm ได้ค้นพบสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เคลื่อนไหวอยู่
ในน้าเชื้อของสัตว์ตัวผู้ จึงตั้งชื่อว่า Animalcule ซึ่งหมายถึงสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ในขณะนั้นยังไม่
ทราบว่าสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่เคลื่อนไหวอยู่ในน้าเชื้อของสัตว์ตัวผู้คืออะไร
               ปี พ.ศ.2323 นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี Lazarro Spallanzani ได้เขียน
ผลงานวิจัยเกี่ยวกับผลสาเร็จของการผสมเทียม โดยได้ทาการผสมเทียมสุนัขได้ลูกเกิด 3 ตัว
และทดลองแยกน้าเชื้อโดยการกรอง พบว่า ส่วนของน้าเชื้อที่ผ่านเครื่องกรอง ถ้านาไปฉีดใน
แม่สัตว์ที่เป็นสัด ปรากฏว่าผสมไม่ติด แต่ถ้าเอาส่วนบนที่ติดกับเครื่องกรองไปผสม ปรากฏว่า
ผสมติดดีขึ้น และยังพบว่าถ้าทาให้น้าเชื้อเย็นลงระดับหนึ่งจะสามารถเก็บรักษาน้าเชื้อได้ นาน
มากขึ้น
ปี พ.ศ.2457 Prpf.Amantea ได้ทาการประดิษฐ์อวัยวะเพศเมียเทียมของสุนัข
(Artificial vagina) เพื่อใช้ในการรีดเก็บน้าเชื้อจากพ่อสุนัข จนเป็นจุดเริ่มต้นของการ
ประดิษฐ์อวัยวะเพศเมียเทียมของสัตว์ชนิดอื่น
             ปี พ.ศ.2479 นักวิทยาศาสตร์ของประเทศเดนมาร์ค เริ่มพัฒนาการผสม
เทียมโค โดยใช้วิธีล้วงเข้าทางทวารหนัก (Rectovaginal insemination) โดยใช้มือล้วง
เข้าทางทวารหนักจับคอมดลูก (Cervix) แล้วใช้ปืนฉีดน้าเชื้อสอดผ่านช่องคลอด ผ่าน
คอมดลูกไปจนถึงตัวมดลูก (Body of uterus) และฉีดน้าเชื้อในมดลูกทาให้อัตราการ
ผสมติดดีขึ้น
ปี พ.ศ.2483 ได้มีการพัฒนาน้าเชื้อ โดย Philips และ Lardy ได้ทกลองนาไข่แดงเป็น
สารเจือจางน้าเชื้อ พบว่าสามารถป้องกันอันตรายของตัวอสุจิในการลดอุณหภูมิของน้าเชื้อ
และทาให้ สามารถเก็บน้าเชื้อได้นาน 2-3 วัน
              ปี พ.ศ.2484 Salisbury และคณะ ทดลองใช้โซเดียม ซิเตรทและไข่แดงเป็น
บัฟเฟอร์ในสารเจือจางน้าเชื้อสามารถเพิ่มปริมาตรน้า เชื้อและแบ่งน้าเชื้อไปผสมเทียมให้กับ
สัตว์ได้มากตัวขึ้น
              ปี พ.ศ.2489 Alamquist และคณะ ได้ทดลองเติมยาปฏิชีวนะลงไปในสารเจือ
จางน้าเชื้อพบว่าสามารถป้องกันการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียได้ดี
              ปี พ.ศ.2492 C.Polge และคณะชาวอังกฤษ ได้ทาการแช่แข็งน้าเชื้อได้สาเร็จ
โดยเก็บในน้าแข็งแห้งอุณหภูมิ – 79 °C
              ปี พ.ศ. 2495 Polge และ Rowson ได้พบว่าการเติมกลีเซอรอล ลงในสารเจือจาง
น้าเชื้อ จะช่วยให้อสุจิรอดชีวิตจากการเก็บที่อุณหภูมิ -196 °C ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการผลิต
นาเชื้อแช่แข็ง
การผสมเทียมในประเทศไทย
              ในปี พ.ศ.2496 ศาสตราจารย์ ลาเกอร์ลอฟ ชาวสวีเดน ผู้เชี่ยวชาญจาก FAO.ได้เดินทาง
มาสารวจการเลี้ยงปศุสัตว์ในประเทศไทย จากนั้นได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาล
ปัจจุบันเพื่อทูลเกล้า ฯ ถวายโครงการผลิตโคนมลูกผสมด้วยวิธีการผสมเทียม




            ปี พ.ศ. 2497 กรมปศุสัตว์ได้ส่งข้าราชการ 2 นายคือ นายสัตวแพทย์ทศ
      พร สุทธิคา และนายสัตวแพทย์อุทย สาลิคุปต์ ไปศึกษา ณ ราชวิทยาลัยสัตว
                                     ั
      แพทย์ กรุงสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน
โดยองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติร่วมกับรัฐบาลสวีเดน ได้เปิดหลักสูตร
ฝึกอบรมวิชาการสืบพันธุ์รวมทั้งการผสมเทียมขึ้นเป็นรุ่นแรก นายสัตวแพทย์ทศพร สุทธิคา
ศึกษาวิชาการสืบพันธุ์และผสมเทียม ณ ประเทศสวีเดนสาเร็จ จากนั้นท่านเริ่มด้วยการพยายาม
ก่อตั้งสถานีผสมเทียม เพื่อให้บริการผสมเทียมแก่ปศุสัตว์ของเกษตรกร พยายามถ่ายทอด
ความรู้ด้านการผสมเทียมแก่นักวิชาการของกรมปศุสัตว์




        ปี พ.ศ.2499 กรมปศุสัตว์จึงได้เปิดสถานีผสมเทียมแห่งแรกที่จังหวัดเชียงใหม่
 และได้มอบ หมายให้ นายสัตวแพทย์ทศพร สุทธิคา ปฏิบัติหน้าที่เป็นหัวหน้าสถานี
 ผสมเทียม
ในวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2499 นายสัตวแพทย์ทศพร ได้ผสมเทียมให้แม่โค
ตัวแรกที่อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโคของนายนคร ผดุงกิจ โดดังกล่าวตั้งท้อง
และต่อมาคลอดลูกเป็นตัวเมีย ดังนั้นในวันที่ 9 กันยายน ของทุก ๆ ปี จึงถือเป็นวัน
กาเนิดงานผสมเทียมของประเทศไทย




   ในปี พ.ศ.2501 สถานีผสมเทียมแห่งที่สองได้ตั้งขึ้นที่หน่วยผสมเทียมกลางในกรมปศุสัตว์
โดยมีนายสัตวแพทย์ประเสิรฐ ศงสะเสน เป็นหัวหน้าสถานีผสมเทียมกรุงเทพมหานคร ซึ่ง
นายสัตวแพทย์ประเสริฐ ได้พัฒนาและปรับปรุงพื้นฐานการเลี้ยงโคนมและการผสมเทียมใน
กรุงเทพมหานครตาม รอยของนายสัตวแพทย์ทศพรที่สร้างไว้ จนประสบความสาเร็จอย่างดียิ่ง
ในปี พ.ศ.2503 สถานีผสมเทียมแห่งที่สาม ได้เปิดทาการขึ้นที่ตาบลหนองโพ อาเภอโพ
ธาราม จังหวัดราชบุรี โดยนายสัตวแพทย์ทศพร สุทธิคา รับเป็นหัวหน้าสถานี นายสัตวแพทย์
ทศพรเป็นคนแรกที่บุกเบิกและดาเนินงานผสมเทียมในพื้นที่ตาบลหนอง โพจนกระทั้งสมาชิก
ผู้เลี้ยงโคนมสามารถรวมตัวกันจัดตั้งเป็น สหกรณ์โคนมหนองโพในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งถือ
ได้ว่าประสบความสาเร็จอย่างยิ่ง
              ตลอดระยะเวลาที่นายสัตวแพทย์ทศพร คลุกคลีกับงานผสมเทียม ท่านได้ทุมเท
แรงกาย แรงใจ ได้พยายามถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้ ได้พยายามสร้างสรรค์ พร้อมทั้ง
วางรากฐานงานผสมเทียมของเทศไทย จนงานผสมเทียม เป็นที่ยอมรับแก่เกษตรกร โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งเกษตรกรผู้เลี้ยงโค ทาให้หน่วยผสมเทียม ได้พัฒนาใหญ่ขึ้นตามลาดับ จากหน่วยผสม
เทียมกลางได้พัฒนาเป็น กองผสมเทียม และนายสัตวแพทย์ทศพร ท่านได้เป็นผู้อานวยการกอง
ผสมเทียมคนแรก
              จากความมุ่งมั่นที่จะพัฒนางาน รวมทั้งการวางรากฐานที่ดีของนายสัตวแพทย์ทศ
พร ทาให้ปัจจุบันงานผสมเทียมของประเทศไทยได้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานาอารยะ
ประเทศ ดังนั้น นายสัตวแพทย์ทศพร สุทธิคา จึงได้รับขนานนามว่า “ บิดาแห่งการผสมเทียม
ของประเทศไทย
การพัฒนางาน
                การปฏิบัติงานผสมเทียมในสมัยแรก ๆ ได้ทาการรีดน้าเชื้อพ่อพันธุ์โคนม ผสมด้วย
น้ายาละลายน้าเชื้อประเภทไข่แดงซิเตรท (Egg Yolk Citrate) โดยทาการผสมแบบน้าเชื้อสด
(Fresh Semen) พ่อพันธุ์โคนมที่ใช้รีดน้าเชื้อระยะแรก ๆ คือ พ่อพันธุ์เรดเดน , บราวน์สวิส ,
เจอร์ซี่ แต่เนื่องจากสีของลูกผสมที่เกิดมา มีสีคล้ายกับโคพื้นเมือง จึงไม่ค่อยได้รับความนิยมจาก
เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมมากนัก ต่อมาได้เปลี่ยนพ่อพันธุ์เป็นพันธุ์ขาว - ดา (Holstein Friesian) ซึ่ง
เป็นพันธุ์โคนมพันธุ์หลักที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์โคนมประเทศ ลูกผสมที่คลอดออกมาให้สี
ต่างจากแม่พันธุ์ ปริมาณน้านมที่ได้เพิ่มขึ้นมาก ทาให้ได้รับความนิยมสูงสุดจนถึงปัจจุบัน
ในปี พ.ศ.2504 เริ่มทาการผสมเทียมสุกรครั้งแรกที่สถานีผสมเทียมกรุงเทพฯ และหนอง
โพ โดยใช้สุกรพ่อสุกรพันธุ์ เบิกชายร์ (Berkshire) , แฮมชายร์(Hamshrie) , ดูร๊อคเจอร์ซี่
(Duroc Jersey) , ลาร์จไวท์(Large white) และพันธุ์แลนเรซ (Landrace) ต่อมาความนิยมลดลง
เนื่องจากขาดงบประมาณในการสร้างพ่อพันธุ์สุกรทดแทน การผสมเทียมสุกรระยะหลังจึง
ลดลง และเลิกไปในที่สุด ยกเว้นศูนย์วิจัยการผสมเทียมนครราชสีมาเพียงศูนย์ฯ เดียวที่ยัง
ดาเนินการผลิตน้าเชื้อสุกรในขณะนัน จนกระทั่งปี พ.ศ.2542 การผสมเทียมสุกร ได้รับความ
                                    ้
นิยมจากผู้เลี้ยงสุกรมากขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่แถบจังหวัดราชบุรีและนครปฐม ทาให้น้าเชื้อ
สดสุกรที่มีจาหน่วยในท้องตลาดมีราคาสูงจนเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร รายย่อยเริ่มเดือดร้อน
ศูนย์วิจัยการผสมเทียมราชบุรี(สถานีผสมเทียมหนองโพเดิม) จึงเริ่มดาเนินการผลิตน้าเชื้อสด
สุกรอีกครั้งหนึ่ง โดยใช้พ่อพันธุ์ 3 สายพันธุ์ ได้แก่ ดูร๊อคเจอร์ซี่ (Duroc Jersey) , ลาร์จไวท์
(Large white) และพันธุ์แลนเรซ (Landrace) ผลิตเป็นน้าเชื้อสดและจาหน่ายให้กับเกษตรกรใน
ราคาถูก เพื่อลดความเดือดร้อนของเกษตรกร

More Related Content

Similar to อัจจิมา พัชกรณ์

E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...MukMik Melody
 
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptxsompornisvilanonda2
 
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยNassaree Jeh-uma
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพpeter dontoom
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนNokko Bio
 
Ipmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักIpmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักKaemkaem Kanyamas
 
กำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิตกำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิตwunnasar
 

Similar to อัจจิมา พัชกรณ์ (20)

E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
 
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อยทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
ทิ้งถ่วง หรือ หิ่งห้อย
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพ
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Onet science
Onet scienceOnet science
Onet science
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
File
FileFile
File
 
การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
Ipmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักIpmแมลงศัตรูผัก
Ipmแมลงศัตรูผัก
 
3แมว
3แมว3แมว
3แมว
 
กลุ่ม 3
กลุ่ม 3กลุ่ม 3
กลุ่ม 3
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
กำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิตกำเนิดสิ่งมีชีวิต
กำเนิดสิ่งมีชีวิต
 

More from Aobinta In

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมAobinta In
 
ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1Aobinta In
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Aobinta In
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Aobinta In
 
รวมภาพ
รวมภาพรวมภาพ
รวมภาพAobinta In
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 
ทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินAobinta In
 
ธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบAobinta In
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษากระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษาAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษกระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยกระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยAobinta In
 
โครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasโครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasAobinta In
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลกAobinta In
 
กำเนิดโลก
กำเนิดโลกกำเนิดโลก
กำเนิดโลกAobinta In
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลกAobinta In
 

More from Aobinta In (20)

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รวมภาพ
รวมภาพรวมภาพ
รวมภาพ
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
แร่1
แร่1แร่1
แร่1
 
ทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหิน
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบ
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษากระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
 
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษกระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
 
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยกระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
 
โครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasโครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLas
 
โลก1
โลก1โลก1
โลก1
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลก
 
กำเนิดโลก
กำเนิดโลกกำเนิดโลก
กำเนิดโลก
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลก
 

อัจจิมา พัชกรณ์

  • 1.
  • 2. ความหมายการผสมเทียมสัตว์ การผสมเทียมสัตว์ (Artificial insemination) หมายถึง การทาให้ เกิดการปฏิสนธิระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทาให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนาน้าเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัว เมีย ที่เป็นแม่พันธุ์ โดยที่สัตว์ไม่ต้องมีการผสมพันธุ์กันเองตามธรรมชาติ การ ผสมเทียมสามารถทาได้กับสัตว์ทั้งที่มีการปฏิสนธิภายนอกร่างกายของ สัตว์ เช่น การผสมเทียมปลา และการปฏิสนธิภายในร่างกายของสัตว์ เช่น โค กระบือ สุกร แพะ แกะ
  • 3. ตัวอย่างของการผสมเทียมสัตว์ คือ หมู วัว ควาย แพะ แกะ ปลา ม้า ช้าง
  • 4. ขั้นตอนการผสมเทียมสุกร การผสมเทียมมีขั้นตอนการปฏิบัติ 1. การรีดเก็บน้าเชื้อ 1.1 การรีดเก็บน้าเชื้อจากสัตว์ตัวผู้ - เมื่อสุกรเพศผู้มีอายุประมาณ 1 ปี - ขั้นตอนแรกต้องฝึกให้สุกรเพศผู้คุ้นเคยกับหุ่นเสียก่อนจะ รีด น้าเชื้อจริง ปริมาณน้าเชื้อที่รีดได้ในแต่ละครั้ง พ่อสุกรเฉลี่ยประมาณ 250 ลบ.ซม. มีตัวอสุจิเฉลี่ย 350 ล้านตัว/ลบ.ซม. 2. การตรวจคุณภาพน้าเชื้อ 2.1 การตรวจคุณภาพน้าเชื้อ เมื่อทาการรีดเก็บน้าเชื้อได้แล้ว จะต้องมีการตรวจสอบคุณภาพว่าใช้ได้หรือไม่ โดยวัดปริมาตร ความหนาแน่น ความทึบสี และความเป็นกรดเป็น ด่าง ของน้าเชื้อ ตรวจหาความเข้มข้นของตัวเชื้อและใช้กล้องจุลทรรศน์ตรวจดู การเคลื่อนไหวของ ตัวเชื้อ เพื่อให้ทราบถึงจานวนตัวเชื้อที่มีชีวิต เป็นต้น
  • 5. 3. การเจือจางน้าเชื้อ 3.1 การเจือจางน้าเชื้อ น้าเชื้อที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้วว่าใช้ได้จะนามาเจือจางในน้ายาละลาย น้าเชื้อซึ่งเป็นอาหารสาหรับเลี้ยงตัวอสุจิ มีคุณสมบัติในการเก็บรักษาตัวอสุจิมิไม่ให้ตาย และยังช่วยเพิ่มปริมาตรในการแบ่งไป ใช้สาหรับผสมแม่พันธุ์ได้หลายตัว 4. การเก็บรักษาน้าเชื้อ และการผลิตเป็นน้าเชื้อแช่แข็ง 4.1 การเก็บรักษาน้าเชื้อ ในปัจจุบันสามารถเก็บน้าเชื้อได้ 2 แบบ 1.น้าเชื้อสด หมายถึง น้าเชื้อที่ละลายแล้วนาไปเก็บไว้ในตู้เย็นหรือกระติกน้าแข็ง อุณหภูมิ4-5องศาเซลเซียส สามารถเก็บไว้ได้นาน 3 – 5 วัน 2.น้าเชื้อแช่แข็ง หมายถึงการนาน้าเชื้อมาผ่านกรรมวิธีทาให้เย็นจัดจนแข็งตัวแล้ว นามาเก็บรักษา ไว้ในไนโตรเจนเหลวอุณหภูมิ – 196 องศาเซลเซียสเก็บได้นานหลาย ปี
  • 6. 5. การฉีดน้าเชื้อ (การผสมเทียม) 5.1 การฉีดน้าเชื้อ คือนาน้าเชื้อไปฉีดผสมให้กับตัวเมียที่กาลังเป็นสัดซึ่งปกติเมื่อร่างกาย เจริญเติบโต เต็มที่ย่างเข้าสู่วัยสาวใน สุกร 6 – 7 เดือน ซึ่งเมื่อไข่สุก สัตว์พร้อมที่จะผสมพันธุ์โดย จะแสดงอาการออกมาให้เห็น เช่น 1. ส่งเสียงร้องบ่อย ๆ จนผิดสังเกต 2. ยืนนิ่งให้ตัวอื่นขึ้นขี่ หรือยอมให้คนขึ้นเหยียบ 3. กระวนกระวายกินอาหารน้อย 4. มีน้าเมือกใสไหลออกมาจากปากช่องคลอด 5. อวัยวะเพศบวมแดง
  • 7. ประวัติที่มาการผสมเทียมสัตว์ เริ่มกาเนิดขึ้นในโลก ประมาณ พ.ศ.1865 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอาหรับ ได้ทาการผสมเทียม ม้าเป็นผลสาเร็จ โดยใช้น้าเชื้อม้าที่ติดในหนังหุ้มลึงค์ นามาผสมให้กับแม่ม้าที่กาหลังเป็นสัดทา ให้แม่ม้าตั้งท้องและคลอด ปี พ.ศ.2520 Leewenhoek และ Hamm ได้ค้นพบสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เคลื่อนไหวอยู่ ในน้าเชื้อของสัตว์ตัวผู้ จึงตั้งชื่อว่า Animalcule ซึ่งหมายถึงสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ในขณะนั้นยังไม่ ทราบว่าสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่เคลื่อนไหวอยู่ในน้าเชื้อของสัตว์ตัวผู้คืออะไร ปี พ.ศ.2323 นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี Lazarro Spallanzani ได้เขียน ผลงานวิจัยเกี่ยวกับผลสาเร็จของการผสมเทียม โดยได้ทาการผสมเทียมสุนัขได้ลูกเกิด 3 ตัว และทดลองแยกน้าเชื้อโดยการกรอง พบว่า ส่วนของน้าเชื้อที่ผ่านเครื่องกรอง ถ้านาไปฉีดใน แม่สัตว์ที่เป็นสัด ปรากฏว่าผสมไม่ติด แต่ถ้าเอาส่วนบนที่ติดกับเครื่องกรองไปผสม ปรากฏว่า ผสมติดดีขึ้น และยังพบว่าถ้าทาให้น้าเชื้อเย็นลงระดับหนึ่งจะสามารถเก็บรักษาน้าเชื้อได้ นาน มากขึ้น
  • 8. ปี พ.ศ.2457 Prpf.Amantea ได้ทาการประดิษฐ์อวัยวะเพศเมียเทียมของสุนัข (Artificial vagina) เพื่อใช้ในการรีดเก็บน้าเชื้อจากพ่อสุนัข จนเป็นจุดเริ่มต้นของการ ประดิษฐ์อวัยวะเพศเมียเทียมของสัตว์ชนิดอื่น ปี พ.ศ.2479 นักวิทยาศาสตร์ของประเทศเดนมาร์ค เริ่มพัฒนาการผสม เทียมโค โดยใช้วิธีล้วงเข้าทางทวารหนัก (Rectovaginal insemination) โดยใช้มือล้วง เข้าทางทวารหนักจับคอมดลูก (Cervix) แล้วใช้ปืนฉีดน้าเชื้อสอดผ่านช่องคลอด ผ่าน คอมดลูกไปจนถึงตัวมดลูก (Body of uterus) และฉีดน้าเชื้อในมดลูกทาให้อัตราการ ผสมติดดีขึ้น
  • 9. ปี พ.ศ.2483 ได้มีการพัฒนาน้าเชื้อ โดย Philips และ Lardy ได้ทกลองนาไข่แดงเป็น สารเจือจางน้าเชื้อ พบว่าสามารถป้องกันอันตรายของตัวอสุจิในการลดอุณหภูมิของน้าเชื้อ และทาให้ สามารถเก็บน้าเชื้อได้นาน 2-3 วัน ปี พ.ศ.2484 Salisbury และคณะ ทดลองใช้โซเดียม ซิเตรทและไข่แดงเป็น บัฟเฟอร์ในสารเจือจางน้าเชื้อสามารถเพิ่มปริมาตรน้า เชื้อและแบ่งน้าเชื้อไปผสมเทียมให้กับ สัตว์ได้มากตัวขึ้น ปี พ.ศ.2489 Alamquist และคณะ ได้ทดลองเติมยาปฏิชีวนะลงไปในสารเจือ จางน้าเชื้อพบว่าสามารถป้องกันการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียได้ดี ปี พ.ศ.2492 C.Polge และคณะชาวอังกฤษ ได้ทาการแช่แข็งน้าเชื้อได้สาเร็จ โดยเก็บในน้าแข็งแห้งอุณหภูมิ – 79 °C ปี พ.ศ. 2495 Polge และ Rowson ได้พบว่าการเติมกลีเซอรอล ลงในสารเจือจาง น้าเชื้อ จะช่วยให้อสุจิรอดชีวิตจากการเก็บที่อุณหภูมิ -196 °C ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการผลิต นาเชื้อแช่แข็ง
  • 10. การผสมเทียมในประเทศไทย ในปี พ.ศ.2496 ศาสตราจารย์ ลาเกอร์ลอฟ ชาวสวีเดน ผู้เชี่ยวชาญจาก FAO.ได้เดินทาง มาสารวจการเลี้ยงปศุสัตว์ในประเทศไทย จากนั้นได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาล ปัจจุบันเพื่อทูลเกล้า ฯ ถวายโครงการผลิตโคนมลูกผสมด้วยวิธีการผสมเทียม ปี พ.ศ. 2497 กรมปศุสัตว์ได้ส่งข้าราชการ 2 นายคือ นายสัตวแพทย์ทศ พร สุทธิคา และนายสัตวแพทย์อุทย สาลิคุปต์ ไปศึกษา ณ ราชวิทยาลัยสัตว ั แพทย์ กรุงสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน
  • 11. โดยองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติร่วมกับรัฐบาลสวีเดน ได้เปิดหลักสูตร ฝึกอบรมวิชาการสืบพันธุ์รวมทั้งการผสมเทียมขึ้นเป็นรุ่นแรก นายสัตวแพทย์ทศพร สุทธิคา ศึกษาวิชาการสืบพันธุ์และผสมเทียม ณ ประเทศสวีเดนสาเร็จ จากนั้นท่านเริ่มด้วยการพยายาม ก่อตั้งสถานีผสมเทียม เพื่อให้บริการผสมเทียมแก่ปศุสัตว์ของเกษตรกร พยายามถ่ายทอด ความรู้ด้านการผสมเทียมแก่นักวิชาการของกรมปศุสัตว์ ปี พ.ศ.2499 กรมปศุสัตว์จึงได้เปิดสถานีผสมเทียมแห่งแรกที่จังหวัดเชียงใหม่ และได้มอบ หมายให้ นายสัตวแพทย์ทศพร สุทธิคา ปฏิบัติหน้าที่เป็นหัวหน้าสถานี ผสมเทียม
  • 12. ในวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2499 นายสัตวแพทย์ทศพร ได้ผสมเทียมให้แม่โค ตัวแรกที่อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโคของนายนคร ผดุงกิจ โดดังกล่าวตั้งท้อง และต่อมาคลอดลูกเป็นตัวเมีย ดังนั้นในวันที่ 9 กันยายน ของทุก ๆ ปี จึงถือเป็นวัน กาเนิดงานผสมเทียมของประเทศไทย ในปี พ.ศ.2501 สถานีผสมเทียมแห่งที่สองได้ตั้งขึ้นที่หน่วยผสมเทียมกลางในกรมปศุสัตว์ โดยมีนายสัตวแพทย์ประเสิรฐ ศงสะเสน เป็นหัวหน้าสถานีผสมเทียมกรุงเทพมหานคร ซึ่ง นายสัตวแพทย์ประเสริฐ ได้พัฒนาและปรับปรุงพื้นฐานการเลี้ยงโคนมและการผสมเทียมใน กรุงเทพมหานครตาม รอยของนายสัตวแพทย์ทศพรที่สร้างไว้ จนประสบความสาเร็จอย่างดียิ่ง
  • 13. ในปี พ.ศ.2503 สถานีผสมเทียมแห่งที่สาม ได้เปิดทาการขึ้นที่ตาบลหนองโพ อาเภอโพ ธาราม จังหวัดราชบุรี โดยนายสัตวแพทย์ทศพร สุทธิคา รับเป็นหัวหน้าสถานี นายสัตวแพทย์ ทศพรเป็นคนแรกที่บุกเบิกและดาเนินงานผสมเทียมในพื้นที่ตาบลหนอง โพจนกระทั้งสมาชิก ผู้เลี้ยงโคนมสามารถรวมตัวกันจัดตั้งเป็น สหกรณ์โคนมหนองโพในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งถือ ได้ว่าประสบความสาเร็จอย่างยิ่ง ตลอดระยะเวลาที่นายสัตวแพทย์ทศพร คลุกคลีกับงานผสมเทียม ท่านได้ทุมเท แรงกาย แรงใจ ได้พยายามถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้ ได้พยายามสร้างสรรค์ พร้อมทั้ง วางรากฐานงานผสมเทียมของเทศไทย จนงานผสมเทียม เป็นที่ยอมรับแก่เกษตรกร โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเกษตรกรผู้เลี้ยงโค ทาให้หน่วยผสมเทียม ได้พัฒนาใหญ่ขึ้นตามลาดับ จากหน่วยผสม เทียมกลางได้พัฒนาเป็น กองผสมเทียม และนายสัตวแพทย์ทศพร ท่านได้เป็นผู้อานวยการกอง ผสมเทียมคนแรก จากความมุ่งมั่นที่จะพัฒนางาน รวมทั้งการวางรากฐานที่ดีของนายสัตวแพทย์ทศ พร ทาให้ปัจจุบันงานผสมเทียมของประเทศไทยได้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานาอารยะ ประเทศ ดังนั้น นายสัตวแพทย์ทศพร สุทธิคา จึงได้รับขนานนามว่า “ บิดาแห่งการผสมเทียม ของประเทศไทย
  • 14. การพัฒนางาน การปฏิบัติงานผสมเทียมในสมัยแรก ๆ ได้ทาการรีดน้าเชื้อพ่อพันธุ์โคนม ผสมด้วย น้ายาละลายน้าเชื้อประเภทไข่แดงซิเตรท (Egg Yolk Citrate) โดยทาการผสมแบบน้าเชื้อสด (Fresh Semen) พ่อพันธุ์โคนมที่ใช้รีดน้าเชื้อระยะแรก ๆ คือ พ่อพันธุ์เรดเดน , บราวน์สวิส , เจอร์ซี่ แต่เนื่องจากสีของลูกผสมที่เกิดมา มีสีคล้ายกับโคพื้นเมือง จึงไม่ค่อยได้รับความนิยมจาก เกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมมากนัก ต่อมาได้เปลี่ยนพ่อพันธุ์เป็นพันธุ์ขาว - ดา (Holstein Friesian) ซึ่ง เป็นพันธุ์โคนมพันธุ์หลักที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์โคนมประเทศ ลูกผสมที่คลอดออกมาให้สี ต่างจากแม่พันธุ์ ปริมาณน้านมที่ได้เพิ่มขึ้นมาก ทาให้ได้รับความนิยมสูงสุดจนถึงปัจจุบัน
  • 15. ในปี พ.ศ.2504 เริ่มทาการผสมเทียมสุกรครั้งแรกที่สถานีผสมเทียมกรุงเทพฯ และหนอง โพ โดยใช้สุกรพ่อสุกรพันธุ์ เบิกชายร์ (Berkshire) , แฮมชายร์(Hamshrie) , ดูร๊อคเจอร์ซี่ (Duroc Jersey) , ลาร์จไวท์(Large white) และพันธุ์แลนเรซ (Landrace) ต่อมาความนิยมลดลง เนื่องจากขาดงบประมาณในการสร้างพ่อพันธุ์สุกรทดแทน การผสมเทียมสุกรระยะหลังจึง ลดลง และเลิกไปในที่สุด ยกเว้นศูนย์วิจัยการผสมเทียมนครราชสีมาเพียงศูนย์ฯ เดียวที่ยัง ดาเนินการผลิตน้าเชื้อสุกรในขณะนัน จนกระทั่งปี พ.ศ.2542 การผสมเทียมสุกร ได้รับความ ้ นิยมจากผู้เลี้ยงสุกรมากขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่แถบจังหวัดราชบุรีและนครปฐม ทาให้น้าเชื้อ สดสุกรที่มีจาหน่วยในท้องตลาดมีราคาสูงจนเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร รายย่อยเริ่มเดือดร้อน ศูนย์วิจัยการผสมเทียมราชบุรี(สถานีผสมเทียมหนองโพเดิม) จึงเริ่มดาเนินการผลิตน้าเชื้อสด สุกรอีกครั้งหนึ่ง โดยใช้พ่อพันธุ์ 3 สายพันธุ์ ได้แก่ ดูร๊อคเจอร์ซี่ (Duroc Jersey) , ลาร์จไวท์ (Large white) และพันธุ์แลนเรซ (Landrace) ผลิตเป็นน้าเชื้อสดและจาหน่ายให้กับเกษตรกรใน ราคาถูก เพื่อลดความเดือดร้อนของเกษตรกร