SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ฝายชะลอน้้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ฝายชะลอน้้าแบบ
 ท้องถิ่น ฝายชะลอน้้าแบบเรียงด้วยหิน (ฝายกึ่งถาวร) และฝายชะน้้า
แบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (ฝายแบบถาวร) ซึ่งการก่อสร้างฝายชะลอน้้า
  นั้นควรได้รับการศึกษาโดยละเอียด ให้มีความเหมาะสมกับสภาพ
 พื้นที่และปัญหา เพราะไม่เช่นนั้นอาจเกิดผลเสียมากกว่าผลดีได้ เช่น
ท้าให้น้านิ่ง ไม่เกิดการไหลเวียน ส่งผลให้น้าเน่าเสีย ระบบนิเวศเสื่อม
          โทรม หรือแม้กระทั่งการก่อสร้างฝาย อาจไปท้าลาย
               ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ที่มีอยู่โดยรอบได้
โครงการสร้างฝายชะลอน้้า
 - ลดความรุนแรงของกระแสน้้า ลดการชะล้างพังทลายของตลิ่ง
- เมื่อน้้าไหลช้าลง ก็มีน้าอยู่ในล้าห้วยนานขึ้น โดยเฉพาะในหน้าแล้ง
- ช่วยดักตะกอนที่ไหลมากับน้้า ลดการตื้นเขินที่ปลายน้้า ท้าให้น้าใสมี
    คุณภาพดีขึ้น
- ช่วยให้ดินชุ่มชื้น ป่ามีความอุดมสมบูรณ์ เพิ่มความหลากหลายทาง
   ชีวภาพ
   - สัตว์ป่า สัตว์น้า ได้อาศัยน้้าในการด้ารงชีวิต คืนพืชแก่เนินเขา/ภูเขาหัว
    โล้น
 - ดินชื้น ป่าก็ชื้น กลายเป็นแนวกันไฟป่า ลดความรุนแรงของไฟได้
“ให้พิจารณาด้าเนินการสร้างฝายราคาประหยัด โดยใช้วัสดุราคาถูกและหาง่ายใน
   ท้องถิ่น เช่น แบบหินทิ้งคลุมด้วยตาข่ายปิดกั้นร่องน้้ากับล้าธารขนาดเล็กเป็น
ระยะๆ เพื่อใช้เก็บกักน้้าและตะกอนดินไว้บางส่วน โดยน้้าที่กักเก็บไว้จะซึมเข้าไป
ในดินท้าให้ความชุ่มชื้นแผ่ขยายออกไปทั้งสองข้าง ต่อไปจะสามารถปลูกพันธุ์ไม้
  ป้องกันไฟ พันธุ์ไม้โตเร็วและพันธุ์ไม้ไม่ทิ้งใบ เพื่อฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้้าล้าธารให้มี
                          สภาพเขียวชอุ่มขึ้นเป็นล้าดับ”
แนวทางที่เหมาะสมในการสร้าง Check Dam

   1. ในพื้นที่ลาดชันสูง ในกรณีที่ความกว้างของล้าห้วยไม่เกิน 2
 เมตร ควรสร้างฝายผสม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม้ท่อน หิน ถุงบรรจุ
ดินหรือทราย แต่ถ้าความกว้างของล้าห้วยมากกว่า 2 เมตร หรือใน
 ล้าห้วยมีน้ามากควรเพิ่มโครงสร้างของ Check Dam เป็น
  แบบคอกหมูที่มีโครงสร้างหลายระดับมากน้อยตามปริมาณน้้า
2. ในพื้นที่ลาดชันปานกลาง ควรสร้าง Check Dam แบบคอกหมู
หรือแบบท้องถิ่นของชาวบ้าน ถ้าเป็นแบบคอกหมูให้ใช้หินเรียงหรือ
กระสอบทรายผสมซีเมนต์ขนาบโครงสร้าง

       3. ในพื้นที่ลาดชันต่้า ในกรณีที่มีน้ามากควรสร้างฝาคอนกรีต
เสริมเหล็ก แต่ถ้ามีน้าไม่มากนักและความกว้างไม่เกิน 2 เมตร อาจใช้
ถุงทรายผสมซีเมนต์ได้
ทิ้งท้ายด้วยความรัก

 ส้าหรับต้นน้้า ไม้ที่ขึ้นอยู่ในบริเวณสองข้างล้า
 ห้วย จ้าเป็นต้องรักษาไว้ให้ดี เพราะจะช่วยเก็บ
รักษาความชุ่มชื้นไว้ ส่วนตามร่องน้้าและบริเวณ
  ที่น้าซับก็ควรสร้างฝายขนาดเล็กกั้นน้้าไว้ใน
 ลักษณะฝายชุ่มชื้น แม้จะมีจ้านวนน้อยก็ตาม
ส้าหรับแหล่งน้้าที่มีปริมาณน้้ามาก จึงสร้างฝาย
เพื่อผันน้้าลงมาใช้ในพื้นที่เพาะปลูก เป็นบ่อเกิด
   ของการสร้างความอุดมสมบูรณ์และสร้าง
                 ความสามารถ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่องฝายกั้นน้ำ

More Related Content

Viewers also liked (17)

Chuong10
Chuong10Chuong10
Chuong10
 
Chuong6
Chuong6Chuong6
Chuong6
 
Chuong8
Chuong8Chuong8
Chuong8
 
早安設計的文化價值觀 2016 8_30
早安設計的文化價值觀 2016 8_30早安設計的文化價值觀 2016 8_30
早安設計的文化價值觀 2016 8_30
 
Chuong9
Chuong9Chuong9
Chuong9
 
Chuong3
Chuong3Chuong3
Chuong3
 
Chuong5
Chuong5Chuong5
Chuong5
 
Chuong7
Chuong7Chuong7
Chuong7
 
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 4
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 4ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 4
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 4
 
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร4
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร4ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร4
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร4
 
โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1โครงการห้วยองคต1
โครงการห้วยองคต1
 
Chuong1
Chuong1Chuong1
Chuong1
 
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 4
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 4ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 4
ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 4
 
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริงานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
 
Jaringan ad hoc
Jaringan ad hocJaringan ad hoc
Jaringan ad hoc
 
Thewavebook
ThewavebookThewavebook
Thewavebook
 
Animal farm childrens book
Animal farm childrens bookAnimal farm childrens book
Animal farm childrens book
 

เศรษฐกิจพอเพียง เรื่องฝายกั้นน้ำ

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5. ฝายชะลอน้้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ฝายชะลอน้้าแบบ ท้องถิ่น ฝายชะลอน้้าแบบเรียงด้วยหิน (ฝายกึ่งถาวร) และฝายชะน้้า แบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (ฝายแบบถาวร) ซึ่งการก่อสร้างฝายชะลอน้้า นั้นควรได้รับการศึกษาโดยละเอียด ให้มีความเหมาะสมกับสภาพ พื้นที่และปัญหา เพราะไม่เช่นนั้นอาจเกิดผลเสียมากกว่าผลดีได้ เช่น ท้าให้น้านิ่ง ไม่เกิดการไหลเวียน ส่งผลให้น้าเน่าเสีย ระบบนิเวศเสื่อม โทรม หรือแม้กระทั่งการก่อสร้างฝาย อาจไปท้าลาย ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ที่มีอยู่โดยรอบได้
  • 6. โครงการสร้างฝายชะลอน้้า - ลดความรุนแรงของกระแสน้้า ลดการชะล้างพังทลายของตลิ่ง - เมื่อน้้าไหลช้าลง ก็มีน้าอยู่ในล้าห้วยนานขึ้น โดยเฉพาะในหน้าแล้ง - ช่วยดักตะกอนที่ไหลมากับน้้า ลดการตื้นเขินที่ปลายน้้า ท้าให้น้าใสมี คุณภาพดีขึ้น - ช่วยให้ดินชุ่มชื้น ป่ามีความอุดมสมบูรณ์ เพิ่มความหลากหลายทาง ชีวภาพ - สัตว์ป่า สัตว์น้า ได้อาศัยน้้าในการด้ารงชีวิต คืนพืชแก่เนินเขา/ภูเขาหัว โล้น - ดินชื้น ป่าก็ชื้น กลายเป็นแนวกันไฟป่า ลดความรุนแรงของไฟได้
  • 7. “ให้พิจารณาด้าเนินการสร้างฝายราคาประหยัด โดยใช้วัสดุราคาถูกและหาง่ายใน ท้องถิ่น เช่น แบบหินทิ้งคลุมด้วยตาข่ายปิดกั้นร่องน้้ากับล้าธารขนาดเล็กเป็น ระยะๆ เพื่อใช้เก็บกักน้้าและตะกอนดินไว้บางส่วน โดยน้้าที่กักเก็บไว้จะซึมเข้าไป ในดินท้าให้ความชุ่มชื้นแผ่ขยายออกไปทั้งสองข้าง ต่อไปจะสามารถปลูกพันธุ์ไม้ ป้องกันไฟ พันธุ์ไม้โตเร็วและพันธุ์ไม้ไม่ทิ้งใบ เพื่อฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้้าล้าธารให้มี สภาพเขียวชอุ่มขึ้นเป็นล้าดับ”
  • 8.
  • 9. แนวทางที่เหมาะสมในการสร้าง Check Dam 1. ในพื้นที่ลาดชันสูง ในกรณีที่ความกว้างของล้าห้วยไม่เกิน 2 เมตร ควรสร้างฝายผสม ใช้วัสดุธรรมชาติ ไม้ท่อน หิน ถุงบรรจุ ดินหรือทราย แต่ถ้าความกว้างของล้าห้วยมากกว่า 2 เมตร หรือใน ล้าห้วยมีน้ามากควรเพิ่มโครงสร้างของ Check Dam เป็น แบบคอกหมูที่มีโครงสร้างหลายระดับมากน้อยตามปริมาณน้้า
  • 10. 2. ในพื้นที่ลาดชันปานกลาง ควรสร้าง Check Dam แบบคอกหมู หรือแบบท้องถิ่นของชาวบ้าน ถ้าเป็นแบบคอกหมูให้ใช้หินเรียงหรือ กระสอบทรายผสมซีเมนต์ขนาบโครงสร้าง 3. ในพื้นที่ลาดชันต่้า ในกรณีที่มีน้ามากควรสร้างฝาคอนกรีต เสริมเหล็ก แต่ถ้ามีน้าไม่มากนักและความกว้างไม่เกิน 2 เมตร อาจใช้ ถุงทรายผสมซีเมนต์ได้
  • 11. ทิ้งท้ายด้วยความรัก ส้าหรับต้นน้้า ไม้ที่ขึ้นอยู่ในบริเวณสองข้างล้า ห้วย จ้าเป็นต้องรักษาไว้ให้ดี เพราะจะช่วยเก็บ รักษาความชุ่มชื้นไว้ ส่วนตามร่องน้้าและบริเวณ ที่น้าซับก็ควรสร้างฝายขนาดเล็กกั้นน้้าไว้ใน ลักษณะฝายชุ่มชื้น แม้จะมีจ้านวนน้อยก็ตาม ส้าหรับแหล่งน้้าที่มีปริมาณน้้ามาก จึงสร้างฝาย เพื่อผันน้้าลงมาใช้ในพื้นที่เพาะปลูก เป็นบ่อเกิด ของการสร้างความอุดมสมบูรณ์และสร้าง ความสามารถ