SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
หนา ๑๘
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
พระราชบัญญัติ
คุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๑
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๑
เปนปที่ ๖๓ ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําได
โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
หนา ๑๙
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
มาตรา ๓ ใหยกเลิกบทนิยามคําวา “อัตราคาจางขั้นต่ําพื้นฐาน” ในมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติ
คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
มาตรา ๔ ใหเพิ่มบทนิยามคําวา “อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ” ระหวางบทนิยามคําวา
“อัตราคาจางขั้นต่ํา” และคําวา “การทํางานลวงเวลา” ในมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๔๑
““อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ” หมายความวา อัตราคาจางที่คณะกรรมการคาจางกําหนดขึ้น
ในแตละสาขาอาชีพตามมาตรฐานฝมือ”
มาตรา ๕ ใหยกเลิกความในมาตรา ๗๙ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
และใหใชความตอไปนี้แทน
“มาตรา ๗๙ คณะกรรมการคาจางมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
(๑) เสนอความเห็นและใหคําปรึกษาแนะนําตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายและการพัฒนา
คาจางและรายได
(๒) กําหนดแนวทางในการพิจารณาของนายจางในการปรับคาจางตามภาวะเศรษฐกิจและสังคม
(๓) กําหนดอัตราคาจางขั้นต่ํา
(๔) กําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
(๕) ใหคําแนะนําดานวิชาการและแนวทางการประสานประโยชนแกหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐ
เอกชน และประชาชนทั่วไป
(๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดหรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมาย
ในการเสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการคาจางจะมีขอสังเกตเกี่ยวกับการพัฒนา
ระบบรายไดของประเทศดวยก็ได”
มาตรา ๖ ใหยกเลิกความในมาตรา ๘๒ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
และใหใชความตอไปนี้แทน
“มาตรา ๘๒ การประชุมคณะกรรมการคาจางตองมีกรรมการเขาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่ง
ของจํานวนกรรมการทั้งหมด โดยมีกรรมการฝายนายจางและฝายลูกจางอยางนอยฝายละหนึ่งคน
จึงจะเปนองคประชุม
หนา ๒๐
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
ในการประชุมเพื่อพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
ตามมาตรา ๗๙ จะตองมีกรรมการเขาประชุมไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด
โดยมีกรรมการฝายนายจางและฝายลูกจางอยางนอยฝายละสองคนจึงจะเปนองคประชุม และตองไดมติ
อยางนอยสองในสามของกรรมการที่เขาประชุม
ในการประชุมเพื่อพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือคราวใด
ถาไมไดองคประชุมตามที่กําหนดไวในวรรคสอง ใหจัดใหมีการประชุมอีกครั้งหนึ่งภายในสิบหาวัน
นับแตวันที่นัดประชุมครั้งแรก การประชุมครั้งหลังนี้แมจะไมมีกรรมการซึ่งมาจากฝายนายจางหรือ
ฝายลูกจางเขารวมประชุม ถามีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด
ก็ใหถือเปนองคประชุม และตองไดมติอยางนอยสองในสามของกรรมการที่เขาประชุม”
มาตรา ๗ ใหยกเลิกความในมาตรา ๘๔ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
และใหใชความตอไปนี้แทน
“มาตรา ๘๔ ใหคณะกรรมการคาจางมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือ
ปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดตามที่คณะกรรมการคาจางมอบหมายได
ใหคณะกรรมการคาจางกําหนดองคประชุมและวิธีการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการ
ไดตามความเหมาะสม”
มาตรา ๘ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๘๔/๑ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๔๑
“มาตรา ๘๔/๑ ใหคณะกรรมการคาจางมีอํานาจแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมเกินหาคน
เปนที่ปรึกษาคณะกรรมการคาจาง ซึ่งในจํานวนนี้อยางนอยตองเปนผูทรงคุณวุฒิดานแรงงาน
การบริหารคาจางและเงินเดือน เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม หรือกฎหมาย
วาระการดํารงตําแหนงและการพนจากตําแหนงของที่ปรึกษาซึ่งคณะกรรมการคาจางแตงตั้ง
ตามวรรคหนึ่ง ใหนําความในมาตรา ๘๐ และมาตรา ๘๑ มาใชบังคับโดยอนุโลม”
มาตรา ๙ ใหยกเลิกความในมาตรา ๘๗ มาตรา ๘๘ มาตรา ๘๙ มาตรา ๙๐ และมาตรา ๙๑
แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และใหใชความตอไปนี้แทน
“มาตรา ๘๗ ในการพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําใหคณะกรรมการคาจางศึกษาและ
พิจารณาขอเท็จจริงเกี่ยวกับอัตราคาจางที่ลูกจางไดรับอยูประกอบกับขอเท็จจริงอื่นโดยคํานึงถึงดัชนี
หนา ๒๑
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
คาครองชีพ อัตราเงินเฟอ มาตรฐานการครองชีพ ตนทุนการผลิต ราคาของสินคาและบริการ
ความสามารถของธุรกิจ ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ และสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
การพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําจะกําหนดใหใชเฉพาะกิจการ งานหรือสาขาอาชีพ
ประเภทใด เพียงใด ในทองถิ่นใดก็ได
ในการพิจารณากําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ ใหคณะกรรมการคาจางศึกษาและ
พิจารณาขอเท็จจริงเกี่ยวกับอัตราคาจางที่ลูกจางไดรับในแตละอาชีพตามมาตรฐานฝมือที่กําหนดไว
โดยวัดคาทักษะฝมือ ความรู และความสามารถ แตตองไมต่ํากวาอัตราคาจางขั้นต่ําที่คณะกรรมการ
คาจางกําหนด
มาตรา ๘๘ เมื่อไดศึกษาขอมูลและพิจารณาขอเท็จจริงตามที่กําหนดไวในมาตรา ๘๗ แลว
ใหคณะกรรมการคาจางประกาศกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือโดยเสนอตอ
คณะรัฐมนตรีเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๘๙ ประกาศกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือตามมาตรา ๘๘
ใหใชบังคับแกนายจางและลูกจางทุกคนโดยไมเลือกปฏิบัติ
มาตรา ๙๐ เมื่อประกาศกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือมีผล
ใชบังคับแลว หามมิใหนายจางจายคาจางใหแกลูกจางนอยกวาอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจาง
ตามมาตรฐานฝมือที่กําหนด
ใหพนักงานตรวจแรงงานสงประกาศกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ
ใหแกนายจางที่อยูในขายบังคับ และใหนายจางนั้นปดประกาศดังกลาวไวในที่เปดเผย เพื่อใหลูกจาง
ไดทราบ ณ สถานที่ทํางานของลูกจางตลอดระยะเวลาที่ประกาศดังกลาวมีผลใชบังคับ
มาตรา ๙๑ ใหมีสํานักงานคณะกรรมการคาจางในกระทรวงแรงงานมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
(๑) จัดทําแผนพัฒนาระบบคาจางและรายไดของประเทศเสนอตอคณะกรรมการคาจาง
(๒) จัดทําแผนงานโครงการเสนอตอคณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการ
(๓) ประสานแผนและการดําเนินการของคณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการ
(๔) รวบรวม ศึกษา วิจัย วิเคราะห และประเมินผลสถานการณเศรษฐกิจ แรงงาน
ภาวะการครองชีพ การขยายตัวของตลาดแรงงาน ผลิตภาพแรงงาน การลงทุน การยายถิ่น และขอมูลอื่น
หนา ๒๒
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
ที่เกี่ยวของ เพื่อใชในการวางแผนพัฒนาระบบคาจางและรายไดของประเทศและเปนขอมูลประกอบ
การพิจารณาของคณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการ
(๕) เสนอแนะผลการศึกษา และผลการพิจารณาขอมูลทางวิชาการ และมาตรการเสริมอื่นตอ
กระทรวงแรงงาน และหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อประโยชนในการพัฒนาระบบคาจางและรายได
(๖) ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาระบบคาจางและรายไดของประเทศ และการปฏิบัติงาน
ตามมติของคณะกรรมการคาจาง
(๗) ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการมอบหมาย”
มาตรา ๑๐ บรรดาระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งที่ออกตามความในมาตรา ๗๙ มาตรา ๘๔
และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งใชบังคับอยูกอนวันที่
พระราชบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ ใหคงใชบังคับไดตอไปเทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้ จนกวา
จะมีระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งที่ออกตามมาตรา ๗๙ มาตรา ๘๔ และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติ
คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๑ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สุรยุทธ จุลานนท
นายกรัฐมนตรี
หนา ๒๓
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติในหมวด ๖
แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ไมสอดคลองกับสภาพการณในปจจุบัน จึงควรแกไขเพิ่มเติม
อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการคาจาง โดยเพิ่มอํานาจในการกําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือและอํานาจ
ในการแตงตั้งที่ปรึกษาคณะกรรมการคาจาง กําหนดใหคณะกรรมการคาจางเสนออัตราคาจางที่กําหนดตอ
คณะรัฐมนตรีเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา รวมทั้งกําหนดใหสํานักงานคณะกรรมการคาจางมีอํานาจหนาที่
ในการจัดทําแผนพัฒนาระบบคาจางและรายไดของประเทศเสนอตอคณะกรรมการคาจาง และติดตามประเมินผล
แผนพัฒนาดังกลาว ทั้งนี้ เพื่อใหการกําหนดอัตราคาจางของคณะกรรมการคาจางมีประสิทธิภาพและเปนธรรม
ตอลูกจาง จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

More Related Content

Viewers also liked

การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นการ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
Thanai Punyakalamba
 
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
Thanai Punyakalamba
 

Viewers also liked (9)

การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นการ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
 
When Fiction Bleeds (2013) Simon Pont
When Fiction Bleeds (2013) Simon PontWhen Fiction Bleeds (2013) Simon Pont
When Fiction Bleeds (2013) Simon Pont
 
Eep time issue_4
Eep time issue_4Eep time issue_4
Eep time issue_4
 
Punyakalamba
PunyakalambaPunyakalamba
Punyakalamba
 
Eep time issue_8
Eep time issue_8Eep time issue_8
Eep time issue_8
 
The Better Mousetrap & Digital State - Quote Unquote (Simon Pont)
The Better Mousetrap & Digital State - Quote Unquote (Simon Pont)The Better Mousetrap & Digital State - Quote Unquote (Simon Pont)
The Better Mousetrap & Digital State - Quote Unquote (Simon Pont)
 
Eep time issue_5
Eep time issue_5Eep time issue_5
Eep time issue_5
 
Simon Pont, 'Curve, Contour & Come On: Sex in Advertising'
Simon Pont, 'Curve, Contour & Come On: Sex in Advertising'Simon Pont, 'Curve, Contour & Come On: Sex in Advertising'
Simon Pont, 'Curve, Contour & Come On: Sex in Advertising'
 
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
 

Similar to Labour protection 2551_release_3

Labour protection 2551_release_2
Labour protection 2551_release_2Labour protection 2551_release_2
Labour protection 2551_release_2
Thanai Punyakalamba
 
กฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๖กฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๖
Thitiwat Paisan
 
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
อลงกรณ์ อารามกูล
 

Similar to Labour protection 2551_release_3 (14)

Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
Labour protection 2551_release_2
Labour protection 2551_release_2Labour protection 2551_release_2
Labour protection 2551_release_2
 
กฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๖กฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๖
 
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
doc_ago3.pdf
doc_ago3.pdfdoc_ago3.pdf
doc_ago3.pdf
 
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550
พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550
 
Energy business 2550
Energy business 2550Energy business 2550
Energy business 2550
 
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
 
รัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ
 
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
 
Tax Stimulus Policy
Tax Stimulus PolicyTax Stimulus Policy
Tax Stimulus Policy
 
พ.ร.บ
พ.ร.บพ.ร.บ
พ.ร.บ
 

Labour protection 2551_release_3

  • 1. หนา ๑๘ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ พระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนปที่ ๖๓ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําได โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป
  • 2. หนา ๑๙ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ มาตรา ๓ ใหยกเลิกบทนิยามคําวา “อัตราคาจางขั้นต่ําพื้นฐาน” ในมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๔ ใหเพิ่มบทนิยามคําวา “อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ” ระหวางบทนิยามคําวา “อัตราคาจางขั้นต่ํา” และคําวา “การทํางานลวงเวลา” ในมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ““อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ” หมายความวา อัตราคาจางที่คณะกรรมการคาจางกําหนดขึ้น ในแตละสาขาอาชีพตามมาตรฐานฝมือ” มาตรา ๕ ใหยกเลิกความในมาตรา ๗๙ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และใหใชความตอไปนี้แทน “มาตรา ๗๙ คณะกรรมการคาจางมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) เสนอความเห็นและใหคําปรึกษาแนะนําตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายและการพัฒนา คาจางและรายได (๒) กําหนดแนวทางในการพิจารณาของนายจางในการปรับคาจางตามภาวะเศรษฐกิจและสังคม (๓) กําหนดอัตราคาจางขั้นต่ํา (๔) กําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ (๕) ใหคําแนะนําดานวิชาการและแนวทางการประสานประโยชนแกหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป (๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดหรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมาย ในการเสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการคาจางจะมีขอสังเกตเกี่ยวกับการพัฒนา ระบบรายไดของประเทศดวยก็ได” มาตรา ๖ ใหยกเลิกความในมาตรา ๘๒ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และใหใชความตอไปนี้แทน “มาตรา ๘๒ การประชุมคณะกรรมการคาจางตองมีกรรมการเขาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ของจํานวนกรรมการทั้งหมด โดยมีกรรมการฝายนายจางและฝายลูกจางอยางนอยฝายละหนึ่งคน จึงจะเปนองคประชุม
  • 3. หนา ๒๐ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ในการประชุมเพื่อพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ ตามมาตรา ๗๙ จะตองมีกรรมการเขาประชุมไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด โดยมีกรรมการฝายนายจางและฝายลูกจางอยางนอยฝายละสองคนจึงจะเปนองคประชุม และตองไดมติ อยางนอยสองในสามของกรรมการที่เขาประชุม ในการประชุมเพื่อพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือคราวใด ถาไมไดองคประชุมตามที่กําหนดไวในวรรคสอง ใหจัดใหมีการประชุมอีกครั้งหนึ่งภายในสิบหาวัน นับแตวันที่นัดประชุมครั้งแรก การประชุมครั้งหลังนี้แมจะไมมีกรรมการซึ่งมาจากฝายนายจางหรือ ฝายลูกจางเขารวมประชุม ถามีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด ก็ใหถือเปนองคประชุม และตองไดมติอยางนอยสองในสามของกรรมการที่เขาประชุม” มาตรา ๗ ใหยกเลิกความในมาตรา ๘๔ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และใหใชความตอไปนี้แทน “มาตรา ๘๔ ใหคณะกรรมการคาจางมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือ ปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดตามที่คณะกรรมการคาจางมอบหมายได ใหคณะกรรมการคาจางกําหนดองคประชุมและวิธีการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการ ไดตามความเหมาะสม” มาตรา ๘ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๘๔/๑ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ “มาตรา ๘๔/๑ ใหคณะกรรมการคาจางมีอํานาจแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมเกินหาคน เปนที่ปรึกษาคณะกรรมการคาจาง ซึ่งในจํานวนนี้อยางนอยตองเปนผูทรงคุณวุฒิดานแรงงาน การบริหารคาจางและเงินเดือน เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม หรือกฎหมาย วาระการดํารงตําแหนงและการพนจากตําแหนงของที่ปรึกษาซึ่งคณะกรรมการคาจางแตงตั้ง ตามวรรคหนึ่ง ใหนําความในมาตรา ๘๐ และมาตรา ๘๑ มาใชบังคับโดยอนุโลม” มาตรา ๙ ใหยกเลิกความในมาตรา ๘๗ มาตรา ๘๘ มาตรา ๘๙ มาตรา ๙๐ และมาตรา ๙๑ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และใหใชความตอไปนี้แทน “มาตรา ๘๗ ในการพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําใหคณะกรรมการคาจางศึกษาและ พิจารณาขอเท็จจริงเกี่ยวกับอัตราคาจางที่ลูกจางไดรับอยูประกอบกับขอเท็จจริงอื่นโดยคํานึงถึงดัชนี
  • 4. หนา ๒๑ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ คาครองชีพ อัตราเงินเฟอ มาตรฐานการครองชีพ ตนทุนการผลิต ราคาของสินคาและบริการ ความสามารถของธุรกิจ ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ และสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม การพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําจะกําหนดใหใชเฉพาะกิจการ งานหรือสาขาอาชีพ ประเภทใด เพียงใด ในทองถิ่นใดก็ได ในการพิจารณากําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ ใหคณะกรรมการคาจางศึกษาและ พิจารณาขอเท็จจริงเกี่ยวกับอัตราคาจางที่ลูกจางไดรับในแตละอาชีพตามมาตรฐานฝมือที่กําหนดไว โดยวัดคาทักษะฝมือ ความรู และความสามารถ แตตองไมต่ํากวาอัตราคาจางขั้นต่ําที่คณะกรรมการ คาจางกําหนด มาตรา ๘๘ เมื่อไดศึกษาขอมูลและพิจารณาขอเท็จจริงตามที่กําหนดไวในมาตรา ๘๗ แลว ใหคณะกรรมการคาจางประกาศกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือโดยเสนอตอ คณะรัฐมนตรีเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๘๙ ประกาศกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือตามมาตรา ๘๘ ใหใชบังคับแกนายจางและลูกจางทุกคนโดยไมเลือกปฏิบัติ มาตรา ๙๐ เมื่อประกาศกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือมีผล ใชบังคับแลว หามมิใหนายจางจายคาจางใหแกลูกจางนอยกวาอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจาง ตามมาตรฐานฝมือที่กําหนด ใหพนักงานตรวจแรงงานสงประกาศกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําหรืออัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ ใหแกนายจางที่อยูในขายบังคับ และใหนายจางนั้นปดประกาศดังกลาวไวในที่เปดเผย เพื่อใหลูกจาง ไดทราบ ณ สถานที่ทํางานของลูกจางตลอดระยะเวลาที่ประกาศดังกลาวมีผลใชบังคับ มาตรา ๙๑ ใหมีสํานักงานคณะกรรมการคาจางในกระทรวงแรงงานมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) จัดทําแผนพัฒนาระบบคาจางและรายไดของประเทศเสนอตอคณะกรรมการคาจาง (๒) จัดทําแผนงานโครงการเสนอตอคณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการ (๓) ประสานแผนและการดําเนินการของคณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการ (๔) รวบรวม ศึกษา วิจัย วิเคราะห และประเมินผลสถานการณเศรษฐกิจ แรงงาน ภาวะการครองชีพ การขยายตัวของตลาดแรงงาน ผลิตภาพแรงงาน การลงทุน การยายถิ่น และขอมูลอื่น
  • 5. หนา ๒๒ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ที่เกี่ยวของ เพื่อใชในการวางแผนพัฒนาระบบคาจางและรายไดของประเทศและเปนขอมูลประกอบ การพิจารณาของคณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการ (๕) เสนอแนะผลการศึกษา และผลการพิจารณาขอมูลทางวิชาการ และมาตรการเสริมอื่นตอ กระทรวงแรงงาน และหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อประโยชนในการพัฒนาระบบคาจางและรายได (๖) ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาระบบคาจางและรายไดของประเทศ และการปฏิบัติงาน ตามมติของคณะกรรมการคาจาง (๗) ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการมอบหมาย” มาตรา ๑๐ บรรดาระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งที่ออกตามความในมาตรา ๗๙ มาตรา ๘๔ และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งใชบังคับอยูกอนวันที่ พระราชบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ ใหคงใชบังคับไดตอไปเทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้ จนกวา จะมีระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งที่ออกตามมาตรา ๗๙ มาตรา ๘๔ และมาตรา ๘๘ แหงพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๑ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรี
  • 6. หนา ๒๓ เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากบทบัญญัติในหมวด ๖ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ไมสอดคลองกับสภาพการณในปจจุบัน จึงควรแกไขเพิ่มเติม อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการคาจาง โดยเพิ่มอํานาจในการกําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือและอํานาจ ในการแตงตั้งที่ปรึกษาคณะกรรมการคาจาง กําหนดใหคณะกรรมการคาจางเสนออัตราคาจางที่กําหนดตอ คณะรัฐมนตรีเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา รวมทั้งกําหนดใหสํานักงานคณะกรรมการคาจางมีอํานาจหนาที่ ในการจัดทําแผนพัฒนาระบบคาจางและรายไดของประเทศเสนอตอคณะกรรมการคาจาง และติดตามประเมินผล แผนพัฒนาดังกลาว ทั้งนี้ เพื่อใหการกําหนดอัตราคาจางของคณะกรรมการคาจางมีประสิทธิภาพและเปนธรรม ตอลูกจาง จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้