SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
การค้าประเวณีการค้าประเวณี
จัดทำาโดยจัดทำาโดย
นาย ทัศพล แสนวงษ์ เลขที่นาย ทัศพล แสนวงษ์ เลขที่ 1313
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/105/10
นำาเสนอนำาเสนอ
พิสิษฐ์ วัฒนาไชยพิสิษฐ์ วัฒนาไชย
โรงเรียนยโสธรพิทยาคมโรงเรียนยโสธรพิทยาคม
การขายบริการทางเพศ รวมทั้งการ
ร่วมเพศหรือการทำาออรัลเซ็กส์เพื่อ
แลกกับเงิน ผู้ที่ขายบริการทางเพศ
เรียกว่า "โสเภณี" หรืออาจมีชื่อ
 เรียกแตกต่างไป
การขาย
บริการทาง
เพศมีความหมายตามพระ
ราชบัญญัติป้องกัน
และปราบปรามการ
ค้าประเวณี พ.ศ.
2539 ว่า การยอมรับ
การกระทำาชำาเรา
หรือการยอมรับการ
ทำาอื่นใด เพื่อสำาเร็จ
ความใคร่ทางอารมณ์
ของผู้อื่นอันเป็นการ
จากการศึกษาและ
ประเมินสถานการณ์
ของผู้หญิงขาย
บริการทางเพศ และ
สถานการณ์การ
ดำาเนินธุรกิจการค้า
ประเวณี โดยการให้
ข้อมูลของผู้ที่
เกี่ยวข้อง คือ ผู้หญิง
ขายบริการทางเพศ
โสเภณี
หญิง
จัดเก็บข้อมูลแบบสุ่ม
เลือกเฉพาะอย่างเฉพาะ
เจาะจงในจังหวัดที่เป็น
แหล่งท่องเที่ยว และเป็น
ตัวแทนภาค ได้แก่
เชียงใหม่ พิษณุโลก
สุรินทร์ ขอนแก่น ชลบุรี
(เมืองพัทยา) และสงขลา (
อำาเภอหาดใหญ่)
ระหว่างช่วงเดือน
กุมภาพันธ์-มิถุนายน
2547 โดยการสัมภาษณ์ผู้
ขายบริการทางเพศทั้ง
หญิงและชายจากแหล่งค้า
ปัจจัยในการตัดสินใจเข้าสู่
ธุรกิจการค้าประเวณี
ของโสเภณีหญิง
ความต้องการด้านตัวเงิน
ร้อยละ 72.5
ความต้องการด้านตัวเงิน
ร้อยละ 72.5 จัดหาบ้าน ที่อยู่อาศัย
เลี้ยงดูครอบครัว
สร้างความมั่นคง
ปลดเปลื้องหนี้สิน
การศึกษามุ่งเน้นไปที่
เด็กชายขายบริการทาง
เพศเป็นสำาคัญโดย คัด
เลือกเด็กที่เป็นเด็กชาย
เร่ร่อนจำานวน 10 คน ที่
มีอายุตำ่ากว่า 18 ปี เคย
ใช้บริการทางเพศมา
แล้ว ไม่ตำ่ากว่า 6 เดือน
ในขณะทำาการศึกษา
โสเภ
ณีชาย
ปัจจัยในการตัดสินใจเข้าสู่
ธุรกิจการค้าประเวณี
ของโสเภณีชาย
male
Prostitute
ความสนุกสนาน
ความสะดวกสบายในช
ความต้องการด้านอิส
55.4%45.6%
อื่
น
ๆ
เด็กและเยาวชนที่เร่ร่อน
กับขายบริการทางเพศ
พึงพอใจและความสัมพันธ์
แบบรักร่วมเพศ
เงิน ที่พักอาศัย
ตอบสนองความต้องการ
ด้านนันทนาการ
กระแสบริโภคนิยมต่อปัญหา
การขายบริการทางเพศ
กระแสบริโภคนิยมต่อปัญหาการขาย
บริการทางเพศ เนื่องจากการเร่งรัด
พัฒนาประเทศอุตสาหกรรม ทำาให้ทุก
คนต่างดิ้นรนในการหาเลี้ยงชีพ
ตนเองและครอบครัว ความห่างเหิน
ภายในครอบครัวเพิ่มมากขึ้น ต่างคน
ต่างแยกกันทำางาน พ่อแม่ไม่มีเวลา
อบรมเลี้ยงดูเด็ก หน้าที่ในการเลี้ยง
ดูถูกส่งผ่านไปยังโรงเรียน สำาหรับ
เด็กในครอบครัวยากจนที่ไม่สามารถ
เด็กที่เกิดในสภาพแวดล้อม วัฒนธรรม
และวิธีชีวิตที่บีบคั้น อาจขาดการเลี้ยงดูที่
เหมาะสม ด้วยสภาวะที่บีบคั้นจาก
ครอบครัวหรือโรงเรียน บางคนถูกพ่อแม่
ทอดทิ้ง หรือถูกทุบตี ทารุณ จึงหา
ทางออกด้วยการหนีออกจากบ้าน รวม
กลุ่มประพฤติตนไม่เหมาะสมกับวัย เมื่อ
เด็กเหล่านี้ มีปัญหาก็มักจะหาทางออกใน
ทางที่ผิด เช่น มั่วสุม ลักเล็กขโมยน้อย
กระแสบริโภคนิยมต่อปัญหาการ
ขายบริการทางเพศ
วัฒนธรรมและวิธีชีวิตบีบคั้นนำาไป
สู่ธุรกิจการค้าประเวณี
สาเหตุปัญหาการขาย
บริการทางเพศ
ดิ้นรนในการหาเงินเลี้ยง
ตนเองและครอบครัว
ศรษฐกิจที่บีบคั้น
ความยากจนและ
ความห่างเหิน
ในครอบครัว
วัฒนธรรมและวิถีช
การหย่าร้าง
พ.ศ. 2538
53,560 ราย*
พ.ศ. 2530
31,068ราย *
พ.ศ. 2532
40,875 ราย **
ระเทศอุสาหกรรม
*ธรรมรักษ์ การพิศิษฎ์ ** สาริน ปัญญาวรภา
Space and Time กับปัญหา
ขายบริการทางเพศ
Space
Time
สถานให้บริการ
กลางคืน
สถานให้บริการแอบแฝง เช่น
ห้างสรรพสินค้า ,อินเทอร์เนต
สนามหลวง วังสราญรมย์ สีลม ฯล
กลางวัน + กลางคืน
การค้าประเวณี
ในประเทศไทย
ธุรกิจถือกำาเนิดขึ้นมาในช่วงคริสต์
ศตวรรษที่ 16-17 โดยไม่ได้ถูกนำาเข้ามา
จากชาติตะวันตกตามเรื่องเล่ากัน การค้า
ประเวณีในไทยเริ่มเป็นที่แพร่หลายกับ
ชาวตะวันตก ในช่วงที่มีการติดต่อความ
สัมพันธ์ระหว่างประเทศกับชาวตะวันตก
 มีหลักฐานเป็นศัพท์ในสมัย สมเด็จพระ
   นารายณ์มหาราช เรียกว่า รับจ้างทำา
 ชำาเราแก่บุรุษ ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์
ใน ประมวลกฎหมายตรา 3 ดวง – บท
 และสมัยสมัย พระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า
 อยู่หัว มีสถานประกอบการ
 เรียกว่า โรงหญิงนคร
 โสเภณี โดยทั่วไปมีโคมสี
เขียวตั้งข้างหน้า จึงเรียก
 กันว่า สำานักโคม
   เขียว ทั้งนี้ก่อนปี พ.ศ.
2499 การค้าประเวณีไม่
ถือว่า ผิดกฎหมาย แต่
 เริ่ม พระราชบัญญัติปราม
การค้าประเวณี พ.ศ. 2503
กำาหนดว่าการค้าประเวณี
ชนิดของการ
ค้าประเวณีโสเภณีในปัจจุบันมีรูปแบบการติดต่องานดังนี้
 ยืนรอข้างถนน โดยการยืนรอคอยลูกค้า
บริเวณหัวริมถนน และขายบริการทางเพศต่อ
   ในบริเวณโรงแรม หรือโรงแรมม่านรูด ใน
   กรุงเทพ มีมากบริเวณรอบสวนลุมพินี รอบ
สนามหลวง
      อาบอบนวด หรือ ซ่อง เป็นสถานบริการ
ทางเพศโดยตรง โดยผู้ขายบริการจะนั่งรอ
ภายในสถานบริการและรอลูกค้าเข้ามาเลือก
โดยในสถานบริการจะมีบริการจัดห้องไว้
รับรอง ในต่างจังหวัดบางที่ผู้ให้บริการ จะยืน
รวมตัวรอบกองไฟ และมีห้องบริการไว้
 สถานบันเทิง คาเฟ่ ร้านคาราโอเกะ สปา หรือร้าน
ตัดผม บางแห่ง มีการบริการพิเศษแอบแฝงเพิ่ม
เติมสำาหรับลูกค้า
 หอพักของผู้ขายบริการ ในหลายประเทศการขาย
บริการประเภทนี้เป็นประเภทเดียวไม่ผิดกฎหมาย
โดยเป็นที่นิยมใน ประเทศเยอรมนี เบลเยียม สวิต
เซอร์แลนด์ และสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยทาง
ผู้ขายบริการจะประกาศโฆษณาตามใบปลิว หรือ
เว็บไซต์ต่าง ๆ
 การโทรเรียก โดยลูกค้าติดต่อทางนายหน้า
( แมงดา หรือ มาม่าซัง) เพื่อเรียกมาใช้บริการทาง
ที่พักของลูกค้า หรือทางโรงแรมที่เตรียมไว้ ราคา
การให้บริการจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสถานที่และ
ชนิด ประมาณ 2,000 บาท ต่อชั่วโมง ได้รับจากผู้
สำาหรับการแสดงภาพยนตร์
ลามกนั้น ถึงแม้ว่าผู้แสดงจะมี
รายได้จากกิจกรรมทางเพศ
และเป็นการกระทำาที่น่า
รังเกียจในบางวัฒนธรรม
เช่นเดียวกับการค้าประเวณี
แต่หากไม่ได้มีการขาย
บริการทางเพศให้กับบุคคล
ทั่วไป หรือไม่ได้ขายสิทธิใน
การร่วมแสดงหนังให้กับ
บุคคลอื่นใด ก็อาจไม่ถูก
ถือว่าเป็นการค้าประเวณี
อย่างไรก็ตาม ในหนังโป๊บาง
กฎหมา
ย
ในหลายประเทศ การขายและการซื้อบริการ
ทางเพศถือว่าเป็นเรื่องที่ผิดกฎหมาย แต่กิจการ
อย่างอื่นที่เกี่ยวข้องถือว่าถูกกฎหมาย รวมทั้ง
การเรียกเก็บเงินจากผู้ให้บริการ การทำางานใน
สถานบริการทางเพศ ในประเทศมุสลิมบาง
ประเทศ มีการลงโทษประหารชีวิตสำาหรับผู้ให้
บริการทางเพศ
ในประเทศไทย การค้าประเวณีเป็นเรื่องผิด
กฎหมาย แต่อย่างไรก็ตามเป็นเรื่องที่ยอมให้ใน
สังคมไทยบางส่วน เช่นเดียวกับหลายประเทศ
 ในทวีปเอเชีย การเปิดสถานบริการอาบอบนวด
ในประเทศไทย ถูกจัดให้อยู่ในส่วนของสถาน
พระราชบัญญัติป้องกันและ
ปราบปรามการค้าประเวณี
พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็นปี
ที่ ๕๑ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย
เดช
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศ
ว่าโดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่า
ด้วยการปรามการค้าประเวณีจึงทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น
ไว้โดยคำาแนะนำาและยินยอมของรัฐสภา ดัง
• มาตรา ๑ “พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติ
ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ”๒๕๓๙
• มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้น
กำาหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเป็นต้นไป
• มาตรา ๓ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติปรามการค้า
ประเวณี พ.ศ. ๒๕๐๓
• มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“ ”การค้าประเวณี หมายความว่า การยอมรับการกระทำา
ชำาเราหรือการยอมรับการกระทำาอื่นใด หรือการกระ
ทำาอื่นใดเพื่อสำาเร็จความใคร่ในทางกามารมณ์ของผู้
อื่น อันเป็นการสำาส่อนเพื่อสินจ้างหรือประโยชน์อื่นใด
ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ยอมรับการกระทำาและผู้กระทำาจะเป็น
• “ ”สถานแรกรับ หมายความว่า สถานที่ที่ทางราชการจัดให้มี
ขึ้น หรือสถานที่ที่มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่นจัดตั้งขึ้น
ตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อรับผู้รับการคุ้มครองและพัฒนา
อาชีพไว้เป็นการชั่วคราวเพื่อพิจารณาวิธีการคุ้มครองและ
พัฒนาอาชีพให้เหมาะสมสำาหรับแต่ละบุคคล
• “ ”สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ หมายความว่า สถานที่
ที่ทางราชการจัดให้มีขึ้น หรือสถานที่ที่มูลนิธิ สมาคม หรือ
สถาบันอื่นจัดตั้งขึ้นเพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพและพัฒนาอาชีพ
แก่ผู้รับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพตามพระราชบัญญัตินี้
• “ ”การคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ หมายความว่า การอบรม
ฟื้นฟูจิตใจ การบำาบัดรักษาโรค การฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพ
ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิต
• “ ”กรรมการ หมายความว่า กรรมการคุ้มครองและพัฒนา
อาชีพ หรือกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพประจำาจังหวัด
แล้วแต่กรณี
•
• มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าติดต่อ ชักชวน แนะนำาตัว
ติดตาม หรือรบเร้าบุคคลตามถนนหรือ
สาธารณสถาน หรือกระทำาการดังกล่าวในที่
อื่นใด เพื่อการค้าประเวณีอันเป็นการเปิดเผย
และน่าอับอายหรือเป็นที่เดือนร้อนรำาคาญแก่
สาธารณชน ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่ง
พันบาท
• มาตรา ๖ ผู้ใดเข้าไปมั่วสุมในสถานการค้า
ประเวณีเพื่อประโยชน์ในการค้าประเวณีของ
ตนเองหรือผู้อื่น ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน
หนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้ง
จำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรค
หนึ่งได้กระทำาเพราะถูกบังคับ หรือตกอยู่ภาย
ใต้อำานาจซึ่งไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงหรือ
• มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำาชำาเราหรือกระทำาอื่น
ใดเพื่อสำาเร็จความใคร่ของตนเองหรือผู้อื่น
แก่บุคคลอายุกว่าสิบห้าปีแต่ยังไม่เกินสิบ
แปดปีในสถานการค้าประเวณี โดยบุคคล
นั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม ต้องระวาง
โทษจำาคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสามปี และปรับ
ตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงหกหมื่นบาท
ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคหนึ่ง
เป็นการกระทำาแก่เด็กอายุไม่เกินสิบห้าปี
ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่สองปีถึงหกปีและ
ปรับตั้งแต่สี่หมื่นบาทถึงหนึ่งแสนสองหมื่น
บาท
• มาตรา ๙ ผู้ใดเป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือชักพาไป
ซึ่งบุคคลใดเพื่อให้บุคคลนั้นกระทำาการค้าประเวณี
แม้บุคคลนั้นจะยินยอมก็ตาม และไม่ว่าการกระทำา
ต่างๆ อันประกอบเป็นความผิดนั้นจะได้กระทำา
ภายในหรือนอกราชอาณาจักร ต้องระวางโทษจำา
คุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปีและปรับตั้งแต่สองหมื่นบาท
ถึงสองแสนบาท ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรค
หนึ่ง เป็นการกระทำาแก่บุคคลอายุกว่าสิบห้าปีแต่ยัง
ไม่เกินสิบแปดปี ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่
ห้าปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสาม
แสนบาท ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคหนึ่ง
เป็นการกระทำาแก่เด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีผู้กระทำา
ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบปีและปรับ
ตั้งแต่สองแสนบาทถึงสี่แสนบาท ถ้าการกระ
ทำาความผิดตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง หรือวรรคสาม
•
• มาตรา ๑๐ ผู้ใดเป็นบิดา มารดา หรือผู้ปกครองของ
บุคคลซึ่งมีอายุยังไม่เกินสิบแปดปีรู้ว่ามีการกระ
ทำาความผิดตามมาตรา ๙ วรรคสอง วรรคสาม หรือ
วรรคสี่ ต่อผู้อยู่ในความปกครองของตน และมีส่วน
ร่วมรู้เห็นเป็นใจให้มีการกระทำาความผิดนั้น ต้อง
ระวางโทษจำาคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปีและปรับตั้งแต่แปด
หมื่นบาทถึงสี่แสนบาท
• มาตรา ๑๑ ผู้ใดเป็นเจ้าของกิจการการค้าประเวณี
ผู้ดูแล หรือผู้จัดการกิจการการค้าประเวณีหรือสถาน
การค้าประเวณี หรือเป็นผู้ควบคุมผู้กระทำาการค้า
ประเวณีในสถานการค้าประเวณี ต้องระวางโทษจำา
คุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปีและปรับตั้งแต่หกหมื่นบาท
ถึงสามแสนบาท
ถ้ากิจการหรือสถานการค้าประเวณีตามวรรคหนึ่งมี
บุคคลซึ่งมีอายุกว่าสิบห้าปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปี
• มาตรา ๑๒ ผู้ใดหน่วงเหนี่ยว กักขัง กระทำาด้วย
ประการใดให้ผู้อื่นปราศจากเสรีภาพในร่างกายหรือ
ทำาร้ายร่างกาย หรือขู่เข็ญด้วยประการใดๆ ว่าจะใช้
กำาลังประทุษร้ายผู้อื่นเพื่อข่มขืนใจให้ผู้อื่นนั้น
กระทำาการค้าประเวณี ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่
สิบปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงสี่แสน
บาท
ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นเหตุให้ผู้
ถูกกระทำา
(๑) ได้รับอันตรายสาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำา
คุกตลอดชีวิต
(๒) ถึงแก่ความตาย ผู้กระทำาต้องระวางโทษ
ประหารชีวิต หรือจำาคุกตลอดชีวิต
ผู้ใดสนับสนุนในการกระทำาความผิดตามวรรคหนึ่ง
•  มาตรา ๑๓ ถ้าบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง
ของผู้กระทำาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖
หรือมาตรา ๗ มีส่วนร่วมรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลผู้
อยู่ในความปกครอง กระทำาการค้าประเวณี เมื่อ
คณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพมีคำาขอ
ให้พนักงานอัยการยื่นคำาร้องต่อศาลให้ถอน
อำานาจปกครองของบิดามารดา หรือผู้ปกครอง
ของผู้นั้นเสีย และแต่งตั้งผู้ปกครองแทนบิดา
มารดา หรือผู้ปกครองนั้น
ในกรณีที่ศาลจะตั้งผู้ปกครองตามวรรคหนึ่ง
และศาลเห็นว่าไม่มีผู้เหมาะสมที่จะปกครองผู้
กระทำาความผิด ศาลจะตั้งผู้อำานวยการสถาน
แรกรับหรือผู้อำานวยการสถานคุ้มครอง และ
• มาตรา ๑๔  ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ
เรียกโดยย่อว่า ก.ค.อ. ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์* เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรม
พัฒนาสังคมและสวัสดิการ* อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการ
จัดหางาน อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน อธิบดีกรมการศึกษานอก
โรงเรียน อธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ อธิบดีกรมตำารวจ อธิบดีกรม
พัฒนาฝีมือแรงงาน อธิบดีกรมสามัญศึกษา อธิบดีกรมอาชีวศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ผู้อำานวยการ
สำานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส
คนพิการ และผู้สูงอายุ* หรือรองอธิบดีหรือรองเลขาธิการซึ่งอธิบดี
หรือเลขาธิการดังกล่าวข้างต้นมอบหมาย ผู้แทนศาลเยาวชนและ
ครอบครัวกลาง ผู้แทนคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานสตรี
แห่งชาติ และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกินเจ็ดคน เป็น
กรรมการ ผู้อำานวยการสำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองและ
พัฒนาอาชีพ เป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ประธาน
กรรมการแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการได้ไม่เกินสองคน
• มาตรา ๑๕  ให้ ก.ค.อ. มีอำานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) กำาหนดนโยบายการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ รวมทั้งการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ค้าประเวณี
๒) ประสานแผนงาน โครงการ ระบบงาน และกำาหนดแนวทาง
ปฏิบัติร่วมกันกับส่วนราชการและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องในการ
ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
(๓) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับ
การปรับปรุงการปฏิบัติราชการหรือแผนงานของส่วนราชการที่
เกี่ยวข้องในเรื่องที่เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการค้า
ประเวณี
(๔) เสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ และ
การจัดตั้งสถานแรกรับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพของ
ทางราชการ
(๕) เสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณเพื่อ
สนับสนุนการดำาเนินการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ
(๖) เสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการกำาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขในการปฏิบัติตามมาตรา ๒๖
•  มาตรา ๑๖ ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองและ
พัฒนาอาชีพประจำาจังหวัด เรียกโดยย่อว่า ก.ค.อ.
จังหวัด ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรองผู้
ว่าราชการจังหวัดซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบ
หมาย เป็นประธานกรรมการ ปลัดจังหวัดหรือผู้
แทน จัดหางานจังหวัดหรือผู้แทน หัวหน้าตำารวจ
จังหวัดหรือผู้แทน พัฒนาการจังหวัดหรือผู้แทน
ศึกษาธิการจังหวัดหรือผู้แทน สามัญศึกษาจังหวัด
หรือผู้แทน ผู้อำานวยการการประถมศึกษาจังหวัด
หรือผู้แทน ผู้อำานวยการศูนย์การศึกษานอก
โรงเรียนจังหวัดหรือผู้แทน สาธารณสุขจังหวัด
หรือผู้แทน แรงงานและสวัสดิการสังคมจังหวัด
หรือผู้แทน อัยการจังหวัดหรือผู้แทน และผู้ทรง
คุณวุฒิซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งไม่เกินเจ็ดคน
เป็นกรรมการ และให้พัฒนาสังคมและสวัสดิการ
•  มาตรา ๑๗ ให้ ก.ค.อ. จังหวัดมีอำานาจหน้าที่
ดังต่อไปนี้
(๑) เป็นศูนย์กลางในการประสานงานระหว่าง
ภาครัฐบาลและภาคเอกชน ทั้งในด้านข้อมูล
ทรัพยากร และการปฏิบัติงานในการป้องกันและ
ปราบปรามการค้าประเวณีของจังหวัด
(๒) ส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานในการ
ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีทั้งของ
ภาครัฐบาลและภาคเอกชนในพื้นที่ของจังหวัด
(๓) พิจารณาเสนอแนะต่อ ก.ค.อ. เพื่อแก้ไข
ปรับปรุง หรือวางระเบียบ ข้อบังคับ และคำาสั่งที่
เกี่ยวข้องในการป้องกันและปราบปรามการค้า
ประเวณีของจังหวัด(๔) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่
ก.ค.อ. มอบหมาย
• มาตรา ๑๙ นอกจากการพ้นจากตำาแหน่งตามวาระ
ตามมาตรา ๑๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำาแหน่ง
เมื่อ
• (๑) ตาย
• (๒) ลาออก
• (๓) รัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งมีอำานาจแต่ง
ตั้ง แล้วแต่กรณี ให้ออก
• (๔) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความ
สามารถ หรือ
• (๕) ได้รับโทษจำาคุกโดยคำาพิพากษาถึงที่สุดให้จำาคุก
เว้นแต่เป็นโทษสำาหรับความผิดที่ได้กระทำาโดย
ประมาทหรือความผิดลหุโทษ
• มาตรา ๒๐ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้น
จากตำาแหน่งก่อนวาระและมีการแต่งตั้งผู้อื่นเป็น
•    มาตรา ๒๑ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ดำารงตำาแหน่งครบวาระแล้ว แต่ยังมิได้มีการแต่ง
ตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำาแหน่งตามวาระปฏิบัติ
หน้าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการแต่งตั้ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่
• มาตรา ๒๒  การประชุมของ ก.ค.อ. หรือ ก.ค.อ.
จังหวัด ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่ง
ในสามของจำานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์
ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือ
ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการซึ่งมาประชุม
เลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก
กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน
ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมมี
• มาตรา ๒๔  ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้
ก.ค.อ. หรือ ก.ค.อ. จังหวัด หรือคณะอนุกรรมการที่ ก.ค.อ. หรือ
ก.ค.อ. จังหวัดมอบหมายมีอำานาจออกคำาสั่งเป็นหนังสือเรียก
บุคคลใดมาให้ถ้อยคำาหรือให้ส่งเอกสารหรือวัตถุใดๆ มาเพื่อ
ประกอบการพิจารณาได้ตามความจำาเป็น
• มาตรา ๒๕  ให้จัดตั้งสำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองและ
พัฒนาอาชีพขึ้นในกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ* กระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์* และให้สำานักงาน
คณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพมีอำานาจหน้าที่ ดังต่อ
ไปนี้
(๑) รับผิดชอบในงานธุรการของ ก.ค.อ.
(๒) ประสานงานและร่วมมือกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ
และเอกชนที่เกี่ยวข้องในการดำาเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครอง
การพัฒนาอาชีพ และการป้องกันและปราบปรามการค้า
ประเวณี
(๓) จัดให้มีการฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพ
• มาตรา ๒๖  มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่นตามที่
กำาหนดในกฎกระทรวงที่ประสงค์จะจัดตั้งสถานแรก
รับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพตามพระราช
บัญญัตินี้ ให้ยื่นคำาขออนุญาตต่ออธิบดี
การขออนุญาตและการอนุญาต ให้เป็นไปตามหลัก
 เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำาหนดในกฎ
 กระทรวง
•    มาตรา ๒๗ เมื่ออธิบดีอนุญาตให้ตั้งสถานแรก
รับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพแล้วให้
ดำาเนินการตามมาตรา ๒๘
ในกรณีที่อธิบดีไม่อนุญาต ให้ผู้ขออนุญาตมีสิทธิ
อุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันน
แต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งการไม่อนุญาตคำาวินิจฉัย
ของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
•    มาตรา ๒๙ เมื่อปรากฏว่ามูลนิธิ สมาคม หรือ
สถาบันอื่นที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๒๖ ฝ่าฝืนหรือไม่
ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับของทาง
ราชการ ให้อธิบดีมีอำานาจสั่งเป็นหนังสือให้มูลนิธิ
สมาคม หรือสถาบันอื่นดังกล่าวระงับการกระทำา
ปรับปรุง แก้ไข หรือปฏิบัติให้ถูกต้องตามที่แจ้งไป
ภายในเวลาที่กำาหนด
ในกรณีที่มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่นไม่ปฏิบัติตาม
หรือปฏิบัติตามคำาสั่งแต่ไม่ทันภายในเวลาที่กำาหนดตาม
วรรคหนึ่งโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้อธิบดีมีอำานาจสั่ง
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เข้ากระทำาการแทนเพื่อให้เป็นไป
ตามคำาสั่งนั้นได้ และให้มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่น
นั้นเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการนี้ ค่าใช้จ่ายตามวรรค
สอง ให้หมายความรวมถึงค่าใช้จ่ายตามความจำาเป็น
และสมควรตามที่อธิบดีกำาหนด ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่
เห็นว่าไม่อาจกระทำาการตามวรรคสองได้ หรือแม้ว่าจะ
•  มาตรา ๓๐ มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่นที่ได้รับ
อนุญาตตามมาตรา ๒๖ ซึ่งถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
ตามมาตรา ๒๙ มีสิทธิอุทธรณ์คำาสั่งเพิกถอนใบ
อนุญาตต่อรัฐมนตรีเป็นหนังสือภายในสิบห้าวันนับแต่
วันที่ได้รับแจ้งคำาสั่งเพิกถอนใบอนุญาต และใน
ระหว่างรอการวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้ดำาเนินการต่อ
ไปได้ คำาวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
•  มาตรา ๓๑ ในกรณีที่รัฐมนตรีมีคำาวินิจฉัยเป็นที่สุด
ให้เพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา ๒๖ ให้พนักงานเจ้า
หน้าที่โดยได้รับอนุมัติจากอธิบดีดำาเนินการส่งผู้รับการ
คุ้มครองและพัฒนาอาชีพไปยังสถานแรกรับหรือสถาน
คุ้มครองและพัฒนาอาชีพอื่น ในกรณีที่ส่งผู้รับการ
คุ้มครองและพัฒนาอาชีพไปยังสถานแรกรับหรือสถาน
คุ้มครองและพัฒนาอาชีพของมูลนิธิ สมาคม หรือ
สถาบันอื่น ต้องได้รับความยินยอมจากสถานแรกรับ
หรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพนั้นด้วย
•  มาตรา ๓๓  ในกรณีที่ผู้กระทำาความผิดตาม
มาตรา ๕ หรือมาตรา ๖ เป็นบุคคลอายุยังไม่เกิน
สิบแปดปี และไม่ปรากฏว่าต้องหาหรืออยู่ใน
ระหว่างถูกดำาเนินคดีในความผิดฐานอื่นซึ่งเป็น
ความผิดที่มีโทษจำาคุก หรือต้องคำาพิพากษาให้จำา
คุก ให้พนักงานสอบสวนในกรณีที่ได้เปรียบเทียบ
คดีแล้วแจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ*เพื่อ
ดำาเนินการจัดส่งตัวผู้นั้นไปเพื่อรับการดูแลใน
สถานแรกรับที่มีเขตรับผิดชอบ
 กรณีตามวรรคหนึ่งหากเป็นบุคคลอายุกว่าสิบแปด
ปี ถ้าบุคคลนั้นประสงค์ที่จะได้รับการคุ้มครองและ
พัฒนาอาชีพในสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ
ให้พนักงานสอบสวนแจ้งกรมพัฒนาสังคมและ
•  มาตรา ๓๔ ในกรณีที่ผู้กระทำาความผิดตามมาตรา ๕
มาตรา ๖ หรือมาตรา ๗ เป็นบุคคลอายุยังไม่เกินสิบแปดปี เมื่อ
ศาลได้พิจารณาถึงประวัติความประพฤติ สติปัญญา การศึกษา
อบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต อาชีพ และสิ่งแวดล้อมของผู้นั้นแล้ว
เห็นว่าไม่สมควรพิพากษาลงโทษแต่ควรให้ผู้กระทำาความผิดได้
รับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพแทนการลงโทษก็ให้กรมพัฒนา
สังคมและสวัสดิการ*รับตัวผู้กระทำาความผิดเพื่อดำาเนินการจัด
ส่งตัวผู้นั้นไปเพื่อรับการดูแลในสถานแรกรับที่มีเขตรับผิดชอบ
ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ศาลมีคำาพิพากษา
•  กรณีตามวรรคหนึ่งหากเป็นบุคคลอายุกว่าสิบแปดปี ถ้าบุคคล
นั้นประสงค์ที่จะได้รับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพในสถาน
คุ้มครองและพัฒนาอาชีพ และศาลเห็นสมควรให้กรมพัฒนา
สังคมและสวัสดิการ*รับตัวผู้กระทำาความผิดเพื่อดำาเนินการจัด
ส่งตัวผู้นั้นไปเพื่อรับการดูแลในสถานแรกรับที่มีเขตรับผิดชอบ
ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ศาลมีคำาพิพากษา
•  ในกรณีที่ศาลพิพากษาลงโทษผู้กระทำาความผิดตามวรรคหนึ่ง
และศาลเห็นสมควรให้ผู้กระทำาความผิดรับการคุ้มครองและ
พัฒนาอาชีพก็ให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ*รับตัวผู้กระทำา
ความผิดเพื่อดำาเนินการจัดส่งตัวผู้นั้นไปเพื่อรับการดูแลในสถาน
•    มาตรา ๓๕ ให้สถานแรกรับพิจารณา
บุคลิกภาพ พื้นฐานการศึกษาอบรม สาเหตุการกระ
ทำาความผิด และทดสอบแนวถนัด แล้วพิจารณาจัด
ส่งตัวผู้อยู่ในความดูแลตามมาตรา ๓๓ หรือมาตรา
๓๔ ไปยังสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพที่เหมาะ
สมเพื่อให้การคุ้มครองและพัฒนาอาชีพภายใน
ระยะเวลาตามระเบียบที่ ก.ค.อ. กำาหนดแต่ต้องไม่
เกินหกเดือนนับแต่วันที่รับตัวผู้นั้นไว้
ภายใต้บังคับมาตรา ๓๔ วรรคสาม ในกรณีที่สถาน
แรกรับพิจารณาแล้วเห็นว่ายังไม่มีความจำาเป็นจะ
ต้องส่งผู้นั้นไปรับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพจะ
ไม่ส่งตัวผู้นั้นไปยังสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ
ก็ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ค.อ. กำาหนด
•    มาตรา ๓๖ หลักเกณฑ์และวิธีการส่งตัวบุคคล
• มาตรา ๓๘  ในระหว่างที่รับการดูแลในสถานแรกรับ
หรือรับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพในสถานคุ้มครองและ
พัฒนาอาชีพ ถ้าผู้ใดหลบหนีออกนอกสถานแรกรับ หรือ
สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ ให้เจ้าหน้าที่ของสถาน
แรกรับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพมีอำานาจหน้าที่
ออกติดตามตัวผู้นั้นเพื่อส่งตัวกลับไปยังสถานแรกรับหรือ
สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพได้ แล้วแต่กรณี ในการนี้
สถานแรกรับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพจะ
ร้องขอให้เจ้าหน้าที่ตำารวจช่วยดำาเนินการให้ด้วยก็ได้
เมื่อบุคคลใดได้รับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพครบ
กำาหนดเวลาแล้วให้เจ้าหน้าที่ของสถานแรกรับหรือสถาน
คุ้มครองและพัฒนาอาชีพดำาเนินการจัดส่งบุคคลนั้นกลับ
ไปยังถิ่นที่อยู่หรือภูมิลำาเนาของผู้นั้น เว้นแต่ ก.ค.อ. เห็น
สมควรจะดำาเนินการเป็นอย่างอื่น
• มาตรา ๓๙  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำานาจหน้าที่ ดัง
ต่อไปนี้
•  มาตรา ๔๐ ให้กรรมการ อนุกรรมการ และ
พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้เป็นเจ้า
พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
•    มาตรา ๔๑ ผู้ใดฝ่าฝืนไม่อำานวยความสะดวกแก่
พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติตามมาตรา ๓๙ ต้อง
ระวางโทษจำาคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกิน
หนึ่งพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
•    มาตรา ๔๒ ในระหว่างที่ยังมิได้จัดตั้ง
สำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ
ให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ*มีอำานาจหน้าที่
ตามมาตรา ๒๕
•  มาตรา ๔๓ ให้สถานสงเคราะห์ที่จัดตั้งขึ้น
ตามพระราชบัญญัติปรามการค้าประเวณี พ.ศ.
๒๕๐๓ เป็นสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพตามพระ
•  มาตรา ๔๔ บรรดาประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ
หรือคำาสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัติปรามการค้า
ประเวณี พ.ศ. ๒๕๐๓ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่า
ที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้จนกว่าจะ
มีประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำาสั่งที่ออกตามพ
ระราชบัญญัตินี้
•    มาตรา ๔๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์* รักษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำานาจแต่งตั้ง
พนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวง และ
ประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราช
กิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมายเหตุ - เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ
โดยที่พระราชบัญญัติปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๐๓ ได้ประกาศ
ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน บทบัญญัติที่มีอยู่โดยเฉพาะอย่างยิ่งบท
กำาหนดโทษไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และโดยที่การค้า
ประเวณีมีสาเหตุสำาคัญมาจากสภาพเศรษฐกิจและสังคม ผู้กระทำาการ
ค้าประเวณีส่วนมากเป็นผู้ซึ่งด้อยสติปัญญาและการศึกษา สมควรลด
โทษผู้กระทำาการค้าประเวณี และเปิดโอกาสให้บุคคลเหล่านั้นได้รับ
การคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ ไม่ว่าจะเป็นการให้การอบรมฟื้นฟู
จิตใจ การบำาบัดรักษาโรค การฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพตลอดจน
พัฒนาคุณภาพชีวิตและในขณะเดียวกันเพื่อเป็นการปราบปรามการ
ค้าประเวณีและเพื่อคุ้มครองบุคคลโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่อาจ
ถูกล่อลวงหรือชักพาไปเพื่อการค้าประเวณี สมควรกำาหนดโทษบุคคล
ซึ่งกระทำาชำาเราโสเภณีเด็กในสถานการค้าประเวณี บุคคลซึ่งหาราย
ได้จากการค้าประเวณีของเด็กและเยาวชน และบิดา มารดา หรือผู้
ปกครอง ซึ่งมีส่วนร่วมรู้เห็นเป็นใจในการจัดหาผู้อยู่ในความ
ปกครอง ไปเพื่อการค้าประเวณีกับให้อำานาจศาลที่จะถอนอำานาจ
ปกครองของบิดา มารดา หรือผู้ปกครองของผู้กระทำาความผิดซึ่งเป็น
ผลการจับกุมโสเภณีในเมือง
พัทยา
เดือน
โสเภณี
เด็ก
ชาย
โสเภ
ณี
หญิง
รวม
มีนาคม 2536 30 20 50
เมษายน 2536 10 3 13
พฤษภาคม
2536
9 1 10
มิถุนายน 2536 15 1 16
กรกฏาคม
2536
15 17 32
สิงหาคม2536 3 5 8
กันยายน 2536 - 2 2
ตุลาคม 2536 3 - 3มานพ มณีจันทร์ , “ชำาแหละ โสเภณีเด็ก” ปัญหาเด็กเมืองพัทยา , “มติชนรายวัน 21” (พฤ
ปัญหาการขายบริการทางเพศ เป็นเรื่อง
ที่จับตามองของต่างประเทศ เนื่องจาก
ปัญหานี้ นับได้ว่าส่งผลกระทบต่อ
ภาพพจน์ของประเทศไทยเป็นอย่างมาก
รวมถึงผลกระทบต่างๆ คือ ปัญหาโรค
เอดส์ ปัญหาการเพิ่มงบประมาณทางด้าน
สวัสดิการสังคม
ปัญหาการขาย
บริการทางเพศ
โรคเอดส์
การเพิ่มงบประมาณ
ด้านสวัสดิการสังคม
แนวทางการแก้ไขปัญหา
การขายบริการทางเพศ
สังคมไทยเห็นคุณค่าต่อ
การประกอบอาชีพ
ด้วยความรู้ความสามารถ
ปรับปรุงกฎหมาย
และคุณธรรม
แก้ไขให้ธุรกิจการ
ค้าประเวณี
ถูกต้องตามกฎหมาย
ป้องกันและปราบปราม
อย่างจริงจัง
สรุป
กระแสบริโภคนิยมกำาลังสร้างมายาคติให้
กับมนุษย์ทุกคนในสังคมไทย เมื่อคนถูก
กระแสบริโภคนิยมครอบงำาย่อมแสวงหา
อำานาจแห่งการซื้อเพื่อสนองความ
ต้องการของตน การขายบริการทางเพศ
เป็นอีกหนทางหนึ่งที่มนุษย์ในสังคมไทย
บางกลุ่มบางพวกเลือกใช้ จนก่อให้เกิด
ปัญหาต่างๆมากมายต่อตนเองและสังคม
หากทุกคนในสังคมเลือกบริโภคเพื่อยังชีพ
ตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานของ
ขอ
ขอบคุณ
วิทยานิพนธ์เรื่อง
“ “โสเภณีเด็กชาย
นายกิตติคุณ อาง
คาสัย
: สังคมสงเคราะห์
ศาสตร์มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์
: นิติศาสตร์บัณฑิต
มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์
จบการนำาเสนอ
ขอบคุณค่ะ ..

More Related Content

What's hot

สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สุพัตรา ไร่อำไพ
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน Jaturaphun Boontom
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอnewyawong
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2Wariya Pula
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 

What's hot (20)

สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 

ปัญหาการค้าประเวณี

  • 1. การค้าประเวณีการค้าประเวณี จัดทำาโดยจัดทำาโดย นาย ทัศพล แสนวงษ์ เลขที่นาย ทัศพล แสนวงษ์ เลขที่ 1313 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/105/10 นำาเสนอนำาเสนอ พิสิษฐ์ วัฒนาไชยพิสิษฐ์ วัฒนาไชย โรงเรียนยโสธรพิทยาคมโรงเรียนยโสธรพิทยาคม
  • 3. การขาย บริการทาง เพศมีความหมายตามพระ ราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการ ค้าประเวณี พ.ศ. 2539 ว่า การยอมรับ การกระทำาชำาเรา หรือการยอมรับการ ทำาอื่นใด เพื่อสำาเร็จ ความใคร่ทางอารมณ์ ของผู้อื่นอันเป็นการ
  • 5. จัดเก็บข้อมูลแบบสุ่ม เลือกเฉพาะอย่างเฉพาะ เจาะจงในจังหวัดที่เป็น แหล่งท่องเที่ยว และเป็น ตัวแทนภาค ได้แก่ เชียงใหม่ พิษณุโลก สุรินทร์ ขอนแก่น ชลบุรี (เมืองพัทยา) และสงขลา ( อำาเภอหาดใหญ่) ระหว่างช่วงเดือน กุมภาพันธ์-มิถุนายน 2547 โดยการสัมภาษณ์ผู้ ขายบริการทางเพศทั้ง หญิงและชายจากแหล่งค้า
  • 7. การศึกษามุ่งเน้นไปที่ เด็กชายขายบริการทาง เพศเป็นสำาคัญโดย คัด เลือกเด็กที่เป็นเด็กชาย เร่ร่อนจำานวน 10 คน ที่ มีอายุตำ่ากว่า 18 ปี เคย ใช้บริการทางเพศมา แล้ว ไม่ตำ่ากว่า 6 เดือน ในขณะทำาการศึกษา โสเภ ณีชาย
  • 10. กระแสบริโภคนิยมต่อปัญหา การขายบริการทางเพศ กระแสบริโภคนิยมต่อปัญหาการขาย บริการทางเพศ เนื่องจากการเร่งรัด พัฒนาประเทศอุตสาหกรรม ทำาให้ทุก คนต่างดิ้นรนในการหาเลี้ยงชีพ ตนเองและครอบครัว ความห่างเหิน ภายในครอบครัวเพิ่มมากขึ้น ต่างคน ต่างแยกกันทำางาน พ่อแม่ไม่มีเวลา อบรมเลี้ยงดูเด็ก หน้าที่ในการเลี้ยง ดูถูกส่งผ่านไปยังโรงเรียน สำาหรับ เด็กในครอบครัวยากจนที่ไม่สามารถ
  • 11. เด็กที่เกิดในสภาพแวดล้อม วัฒนธรรม และวิธีชีวิตที่บีบคั้น อาจขาดการเลี้ยงดูที่ เหมาะสม ด้วยสภาวะที่บีบคั้นจาก ครอบครัวหรือโรงเรียน บางคนถูกพ่อแม่ ทอดทิ้ง หรือถูกทุบตี ทารุณ จึงหา ทางออกด้วยการหนีออกจากบ้าน รวม กลุ่มประพฤติตนไม่เหมาะสมกับวัย เมื่อ เด็กเหล่านี้ มีปัญหาก็มักจะหาทางออกใน ทางที่ผิด เช่น มั่วสุม ลักเล็กขโมยน้อย กระแสบริโภคนิยมต่อปัญหาการ ขายบริการทางเพศ วัฒนธรรมและวิธีชีวิตบีบคั้นนำาไป สู่ธุรกิจการค้าประเวณี
  • 13. Space and Time กับปัญหา ขายบริการทางเพศ Space Time สถานให้บริการ กลางคืน สถานให้บริการแอบแฝง เช่น ห้างสรรพสินค้า ,อินเทอร์เนต สนามหลวง วังสราญรมย์ สีลม ฯล กลางวัน + กลางคืน
  • 14. การค้าประเวณี ในประเทศไทย ธุรกิจถือกำาเนิดขึ้นมาในช่วงคริสต์ ศตวรรษที่ 16-17 โดยไม่ได้ถูกนำาเข้ามา จากชาติตะวันตกตามเรื่องเล่ากัน การค้า ประเวณีในไทยเริ่มเป็นที่แพร่หลายกับ ชาวตะวันตก ในช่วงที่มีการติดต่อความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศกับชาวตะวันตก  มีหลักฐานเป็นศัพท์ในสมัย สมเด็จพระ    นารายณ์มหาราช เรียกว่า รับจ้างทำา  ชำาเราแก่บุรุษ ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ ใน ประมวลกฎหมายตรา 3 ดวง – บท
  • 15.  และสมัยสมัย พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า  อยู่หัว มีสถานประกอบการ  เรียกว่า โรงหญิงนคร  โสเภณี โดยทั่วไปมีโคมสี เขียวตั้งข้างหน้า จึงเรียก  กันว่า สำานักโคม    เขียว ทั้งนี้ก่อนปี พ.ศ. 2499 การค้าประเวณีไม่ ถือว่า ผิดกฎหมาย แต่  เริ่ม พระราชบัญญัติปราม การค้าประเวณี พ.ศ. 2503 กำาหนดว่าการค้าประเวณี
  • 16. ชนิดของการ ค้าประเวณีโสเภณีในปัจจุบันมีรูปแบบการติดต่องานดังนี้  ยืนรอข้างถนน โดยการยืนรอคอยลูกค้า บริเวณหัวริมถนน และขายบริการทางเพศต่อ    ในบริเวณโรงแรม หรือโรงแรมม่านรูด ใน    กรุงเทพ มีมากบริเวณรอบสวนลุมพินี รอบ สนามหลวง       อาบอบนวด หรือ ซ่อง เป็นสถานบริการ ทางเพศโดยตรง โดยผู้ขายบริการจะนั่งรอ ภายในสถานบริการและรอลูกค้าเข้ามาเลือก โดยในสถานบริการจะมีบริการจัดห้องไว้ รับรอง ในต่างจังหวัดบางที่ผู้ให้บริการ จะยืน รวมตัวรอบกองไฟ และมีห้องบริการไว้
  • 17.  สถานบันเทิง คาเฟ่ ร้านคาราโอเกะ สปา หรือร้าน ตัดผม บางแห่ง มีการบริการพิเศษแอบแฝงเพิ่ม เติมสำาหรับลูกค้า  หอพักของผู้ขายบริการ ในหลายประเทศการขาย บริการประเภทนี้เป็นประเภทเดียวไม่ผิดกฎหมาย โดยเป็นที่นิยมใน ประเทศเยอรมนี เบลเยียม สวิต เซอร์แลนด์ และสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยทาง ผู้ขายบริการจะประกาศโฆษณาตามใบปลิว หรือ เว็บไซต์ต่าง ๆ  การโทรเรียก โดยลูกค้าติดต่อทางนายหน้า ( แมงดา หรือ มาม่าซัง) เพื่อเรียกมาใช้บริการทาง ที่พักของลูกค้า หรือทางโรงแรมที่เตรียมไว้ ราคา การให้บริการจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสถานที่และ ชนิด ประมาณ 2,000 บาท ต่อชั่วโมง ได้รับจากผู้
  • 18. สำาหรับการแสดงภาพยนตร์ ลามกนั้น ถึงแม้ว่าผู้แสดงจะมี รายได้จากกิจกรรมทางเพศ และเป็นการกระทำาที่น่า รังเกียจในบางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับการค้าประเวณี แต่หากไม่ได้มีการขาย บริการทางเพศให้กับบุคคล ทั่วไป หรือไม่ได้ขายสิทธิใน การร่วมแสดงหนังให้กับ บุคคลอื่นใด ก็อาจไม่ถูก ถือว่าเป็นการค้าประเวณี อย่างไรก็ตาม ในหนังโป๊บาง
  • 19. กฎหมา ย ในหลายประเทศ การขายและการซื้อบริการ ทางเพศถือว่าเป็นเรื่องที่ผิดกฎหมาย แต่กิจการ อย่างอื่นที่เกี่ยวข้องถือว่าถูกกฎหมาย รวมทั้ง การเรียกเก็บเงินจากผู้ให้บริการ การทำางานใน สถานบริการทางเพศ ในประเทศมุสลิมบาง ประเทศ มีการลงโทษประหารชีวิตสำาหรับผู้ให้ บริการทางเพศ ในประเทศไทย การค้าประเวณีเป็นเรื่องผิด กฎหมาย แต่อย่างไรก็ตามเป็นเรื่องที่ยอมให้ใน สังคมไทยบางส่วน เช่นเดียวกับหลายประเทศ  ในทวีปเอเชีย การเปิดสถานบริการอาบอบนวด ในประเทศไทย ถูกจัดให้อยู่ในส่วนของสถาน
  • 20. พระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็นปี ที่ ๕๑ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศ ว่าโดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่า ด้วยการปรามการค้าประเวณีจึงทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ไว้โดยคำาแนะนำาและยินยอมของรัฐสภา ดัง
  • 21. • มาตรา ๑ “พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ”๒๕๓๙ • มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้น กำาหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป • มาตรา ๓ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติปรามการค้า ประเวณี พ.ศ. ๒๕๐๓ • มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “ ”การค้าประเวณี หมายความว่า การยอมรับการกระทำา ชำาเราหรือการยอมรับการกระทำาอื่นใด หรือการกระ ทำาอื่นใดเพื่อสำาเร็จความใคร่ในทางกามารมณ์ของผู้ อื่น อันเป็นการสำาส่อนเพื่อสินจ้างหรือประโยชน์อื่นใด ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ยอมรับการกระทำาและผู้กระทำาจะเป็น
  • 22. • “ ”สถานแรกรับ หมายความว่า สถานที่ที่ทางราชการจัดให้มี ขึ้น หรือสถานที่ที่มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่นจัดตั้งขึ้น ตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อรับผู้รับการคุ้มครองและพัฒนา อาชีพไว้เป็นการชั่วคราวเพื่อพิจารณาวิธีการคุ้มครองและ พัฒนาอาชีพให้เหมาะสมสำาหรับแต่ละบุคคล • “ ”สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ หมายความว่า สถานที่ ที่ทางราชการจัดให้มีขึ้น หรือสถานที่ที่มูลนิธิ สมาคม หรือ สถาบันอื่นจัดตั้งขึ้นเพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพและพัฒนาอาชีพ แก่ผู้รับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพตามพระราชบัญญัตินี้ • “ ”การคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ หมายความว่า การอบรม ฟื้นฟูจิตใจ การบำาบัดรักษาโรค การฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพ ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิต • “ ”กรรมการ หมายความว่า กรรมการคุ้มครองและพัฒนา อาชีพ หรือกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพประจำาจังหวัด แล้วแต่กรณี •
  • 23. • มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าติดต่อ ชักชวน แนะนำาตัว ติดตาม หรือรบเร้าบุคคลตามถนนหรือ สาธารณสถาน หรือกระทำาการดังกล่าวในที่ อื่นใด เพื่อการค้าประเวณีอันเป็นการเปิดเผย และน่าอับอายหรือเป็นที่เดือนร้อนรำาคาญแก่ สาธารณชน ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่ง พันบาท • มาตรา ๖ ผู้ใดเข้าไปมั่วสุมในสถานการค้า ประเวณีเพื่อประโยชน์ในการค้าประเวณีของ ตนเองหรือผู้อื่น ต้องระวางโทษจำาคุกไม่เกิน หนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้ง จำาทั้งปรับ ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรค หนึ่งได้กระทำาเพราะถูกบังคับ หรือตกอยู่ภาย ใต้อำานาจซึ่งไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงหรือ
  • 24. • มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำาชำาเราหรือกระทำาอื่น ใดเพื่อสำาเร็จความใคร่ของตนเองหรือผู้อื่น แก่บุคคลอายุกว่าสิบห้าปีแต่ยังไม่เกินสิบ แปดปีในสถานการค้าประเวณี โดยบุคคล นั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม ต้องระวาง โทษจำาคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสามปี และปรับ ตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงหกหมื่นบาท ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็นการกระทำาแก่เด็กอายุไม่เกินสิบห้าปี ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่สองปีถึงหกปีและ ปรับตั้งแต่สี่หมื่นบาทถึงหนึ่งแสนสองหมื่น บาท
  • 25. • มาตรา ๙ ผู้ใดเป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือชักพาไป ซึ่งบุคคลใดเพื่อให้บุคคลนั้นกระทำาการค้าประเวณี แม้บุคคลนั้นจะยินยอมก็ตาม และไม่ว่าการกระทำา ต่างๆ อันประกอบเป็นความผิดนั้นจะได้กระทำา ภายในหรือนอกราชอาณาจักร ต้องระวางโทษจำา คุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปีและปรับตั้งแต่สองหมื่นบาท ถึงสองแสนบาท ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรค หนึ่ง เป็นการกระทำาแก่บุคคลอายุกว่าสิบห้าปีแต่ยัง ไม่เกินสิบแปดปี ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่ ห้าปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสาม แสนบาท ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็นการกระทำาแก่เด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีผู้กระทำา ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบปีและปรับ ตั้งแต่สองแสนบาทถึงสี่แสนบาท ถ้าการกระ ทำาความผิดตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง หรือวรรคสาม
  • 26. • • มาตรา ๑๐ ผู้ใดเป็นบิดา มารดา หรือผู้ปกครองของ บุคคลซึ่งมีอายุยังไม่เกินสิบแปดปีรู้ว่ามีการกระ ทำาความผิดตามมาตรา ๙ วรรคสอง วรรคสาม หรือ วรรคสี่ ต่อผู้อยู่ในความปกครองของตน และมีส่วน ร่วมรู้เห็นเป็นใจให้มีการกระทำาความผิดนั้น ต้อง ระวางโทษจำาคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปีและปรับตั้งแต่แปด หมื่นบาทถึงสี่แสนบาท • มาตรา ๑๑ ผู้ใดเป็นเจ้าของกิจการการค้าประเวณี ผู้ดูแล หรือผู้จัดการกิจการการค้าประเวณีหรือสถาน การค้าประเวณี หรือเป็นผู้ควบคุมผู้กระทำาการค้า ประเวณีในสถานการค้าประเวณี ต้องระวางโทษจำา คุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปีและปรับตั้งแต่หกหมื่นบาท ถึงสามแสนบาท ถ้ากิจการหรือสถานการค้าประเวณีตามวรรคหนึ่งมี บุคคลซึ่งมีอายุกว่าสิบห้าปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปี
  • 27. • มาตรา ๑๒ ผู้ใดหน่วงเหนี่ยว กักขัง กระทำาด้วย ประการใดให้ผู้อื่นปราศจากเสรีภาพในร่างกายหรือ ทำาร้ายร่างกาย หรือขู่เข็ญด้วยประการใดๆ ว่าจะใช้ กำาลังประทุษร้ายผู้อื่นเพื่อข่มขืนใจให้ผู้อื่นนั้น กระทำาการค้าประเวณี ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่ สิบปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงสี่แสน บาท ถ้าการกระทำาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นเหตุให้ผู้ ถูกกระทำา (๑) ได้รับอันตรายสาหัส ผู้กระทำาต้องระวางโทษจำา คุกตลอดชีวิต (๒) ถึงแก่ความตาย ผู้กระทำาต้องระวางโทษ ประหารชีวิต หรือจำาคุกตลอดชีวิต ผู้ใดสนับสนุนในการกระทำาความผิดตามวรรคหนึ่ง
  • 28. •  มาตรา ๑๓ ถ้าบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง ของผู้กระทำาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ หรือมาตรา ๗ มีส่วนร่วมรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลผู้ อยู่ในความปกครอง กระทำาการค้าประเวณี เมื่อ คณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพมีคำาขอ ให้พนักงานอัยการยื่นคำาร้องต่อศาลให้ถอน อำานาจปกครองของบิดามารดา หรือผู้ปกครอง ของผู้นั้นเสีย และแต่งตั้งผู้ปกครองแทนบิดา มารดา หรือผู้ปกครองนั้น ในกรณีที่ศาลจะตั้งผู้ปกครองตามวรรคหนึ่ง และศาลเห็นว่าไม่มีผู้เหมาะสมที่จะปกครองผู้ กระทำาความผิด ศาลจะตั้งผู้อำานวยการสถาน แรกรับหรือผู้อำานวยการสถานคุ้มครอง และ
  • 29. • มาตรา ๑๔  ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ เรียกโดยย่อว่า ก.ค.อ. ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์* เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรม พัฒนาสังคมและสวัสดิการ* อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการ จัดหางาน อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน อธิบดีกรมการศึกษานอก โรงเรียน อธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ อธิบดีกรมตำารวจ อธิบดีกรม พัฒนาฝีมือแรงงาน อธิบดีกรมสามัญศึกษา อธิบดีกรมอาชีวศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ผู้อำานวยการ สำานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ* หรือรองอธิบดีหรือรองเลขาธิการซึ่งอธิบดี หรือเลขาธิการดังกล่าวข้างต้นมอบหมาย ผู้แทนศาลเยาวชนและ ครอบครัวกลาง ผู้แทนคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานสตรี แห่งชาติ และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกินเจ็ดคน เป็น กรรมการ ผู้อำานวยการสำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองและ พัฒนาอาชีพ เป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ประธาน กรรมการแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการได้ไม่เกินสองคน
  • 30. • มาตรา ๑๕  ให้ ก.ค.อ. มีอำานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) กำาหนดนโยบายการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ รวมทั้งการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ค้าประเวณี ๒) ประสานแผนงาน โครงการ ระบบงาน และกำาหนดแนวทาง ปฏิบัติร่วมกันกับส่วนราชการและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องในการ ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี (๓) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับ การปรับปรุงการปฏิบัติราชการหรือแผนงานของส่วนราชการที่ เกี่ยวข้องในเรื่องที่เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการค้า ประเวณี (๔) เสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ และ การจัดตั้งสถานแรกรับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพของ ทางราชการ (๕) เสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณเพื่อ สนับสนุนการดำาเนินการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ (๖) เสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการกำาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขในการปฏิบัติตามมาตรา ๒๖
  • 31. •  มาตรา ๑๖ ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองและ พัฒนาอาชีพประจำาจังหวัด เรียกโดยย่อว่า ก.ค.อ. จังหวัด ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรองผู้ ว่าราชการจังหวัดซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบ หมาย เป็นประธานกรรมการ ปลัดจังหวัดหรือผู้ แทน จัดหางานจังหวัดหรือผู้แทน หัวหน้าตำารวจ จังหวัดหรือผู้แทน พัฒนาการจังหวัดหรือผู้แทน ศึกษาธิการจังหวัดหรือผู้แทน สามัญศึกษาจังหวัด หรือผู้แทน ผู้อำานวยการการประถมศึกษาจังหวัด หรือผู้แทน ผู้อำานวยการศูนย์การศึกษานอก โรงเรียนจังหวัดหรือผู้แทน สาธารณสุขจังหวัด หรือผู้แทน แรงงานและสวัสดิการสังคมจังหวัด หรือผู้แทน อัยการจังหวัดหรือผู้แทน และผู้ทรง คุณวุฒิซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งไม่เกินเจ็ดคน เป็นกรรมการ และให้พัฒนาสังคมและสวัสดิการ
  • 32. •  มาตรา ๑๗ ให้ ก.ค.อ. จังหวัดมีอำานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นศูนย์กลางในการประสานงานระหว่าง ภาครัฐบาลและภาคเอกชน ทั้งในด้านข้อมูล ทรัพยากร และการปฏิบัติงานในการป้องกันและ ปราบปรามการค้าประเวณีของจังหวัด (๒) ส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานในการ ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีทั้งของ ภาครัฐบาลและภาคเอกชนในพื้นที่ของจังหวัด (๓) พิจารณาเสนอแนะต่อ ก.ค.อ. เพื่อแก้ไข ปรับปรุง หรือวางระเบียบ ข้อบังคับ และคำาสั่งที่ เกี่ยวข้องในการป้องกันและปราบปรามการค้า ประเวณีของจังหวัด(๔) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ ก.ค.อ. มอบหมาย
  • 33. • มาตรา ๑๙ นอกจากการพ้นจากตำาแหน่งตามวาระ ตามมาตรา ๑๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำาแหน่ง เมื่อ • (๑) ตาย • (๒) ลาออก • (๓) รัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งมีอำานาจแต่ง ตั้ง แล้วแต่กรณี ให้ออก • (๔) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความ สามารถ หรือ • (๕) ได้รับโทษจำาคุกโดยคำาพิพากษาถึงที่สุดให้จำาคุก เว้นแต่เป็นโทษสำาหรับความผิดที่ได้กระทำาโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ • มาตรา ๒๐ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้น จากตำาแหน่งก่อนวาระและมีการแต่งตั้งผู้อื่นเป็น
  • 34. •    มาตรา ๒๑ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ดำารงตำาแหน่งครบวาระแล้ว แต่ยังมิได้มีการแต่ง ตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำาแหน่งตามวาระปฏิบัติ หน้าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการแต่งตั้ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ • มาตรา ๒๒  การประชุมของ ก.ค.อ. หรือ ก.ค.อ. จังหวัด ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่ง ในสามของจำานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือ ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการซึ่งมาประชุม เลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมมี
  • 35. • มาตรา ๒๔  ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ ก.ค.อ. หรือ ก.ค.อ. จังหวัด หรือคณะอนุกรรมการที่ ก.ค.อ. หรือ ก.ค.อ. จังหวัดมอบหมายมีอำานาจออกคำาสั่งเป็นหนังสือเรียก บุคคลใดมาให้ถ้อยคำาหรือให้ส่งเอกสารหรือวัตถุใดๆ มาเพื่อ ประกอบการพิจารณาได้ตามความจำาเป็น • มาตรา ๒๕  ให้จัดตั้งสำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองและ พัฒนาอาชีพขึ้นในกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ* กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์* และให้สำานักงาน คณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพมีอำานาจหน้าที่ ดังต่อ ไปนี้ (๑) รับผิดชอบในงานธุรการของ ก.ค.อ. (๒) ประสานงานและร่วมมือกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้องในการดำาเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครอง การพัฒนาอาชีพ และการป้องกันและปราบปรามการค้า ประเวณี (๓) จัดให้มีการฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพ
  • 36. • มาตรา ๒๖  มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่นตามที่ กำาหนดในกฎกระทรวงที่ประสงค์จะจัดตั้งสถานแรก รับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพตามพระราช บัญญัตินี้ ให้ยื่นคำาขออนุญาตต่ออธิบดี การขออนุญาตและการอนุญาต ให้เป็นไปตามหลัก  เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำาหนดในกฎ  กระทรวง •    มาตรา ๒๗ เมื่ออธิบดีอนุญาตให้ตั้งสถานแรก รับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพแล้วให้ ดำาเนินการตามมาตรา ๒๘ ในกรณีที่อธิบดีไม่อนุญาต ให้ผู้ขออนุญาตมีสิทธิ อุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันน แต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งการไม่อนุญาตคำาวินิจฉัย ของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
  • 37. •    มาตรา ๒๙ เมื่อปรากฏว่ามูลนิธิ สมาคม หรือ สถาบันอื่นที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๒๖ ฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับของทาง ราชการ ให้อธิบดีมีอำานาจสั่งเป็นหนังสือให้มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่นดังกล่าวระงับการกระทำา ปรับปรุง แก้ไข หรือปฏิบัติให้ถูกต้องตามที่แจ้งไป ภายในเวลาที่กำาหนด ในกรณีที่มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่นไม่ปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติตามคำาสั่งแต่ไม่ทันภายในเวลาที่กำาหนดตาม วรรคหนึ่งโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้อธิบดีมีอำานาจสั่ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เข้ากระทำาการแทนเพื่อให้เป็นไป ตามคำาสั่งนั้นได้ และให้มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่น นั้นเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการนี้ ค่าใช้จ่ายตามวรรค สอง ให้หมายความรวมถึงค่าใช้จ่ายตามความจำาเป็น และสมควรตามที่อธิบดีกำาหนด ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ เห็นว่าไม่อาจกระทำาการตามวรรคสองได้ หรือแม้ว่าจะ
  • 38. •  มาตรา ๓๐ มูลนิธิ สมาคม หรือสถาบันอื่นที่ได้รับ อนุญาตตามมาตรา ๒๖ ซึ่งถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ตามมาตรา ๒๙ มีสิทธิอุทธรณ์คำาสั่งเพิกถอนใบ อนุญาตต่อรัฐมนตรีเป็นหนังสือภายในสิบห้าวันนับแต่ วันที่ได้รับแจ้งคำาสั่งเพิกถอนใบอนุญาต และใน ระหว่างรอการวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้ดำาเนินการต่อ ไปได้ คำาวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด •  มาตรา ๓๑ ในกรณีที่รัฐมนตรีมีคำาวินิจฉัยเป็นที่สุด ให้เพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา ๒๖ ให้พนักงานเจ้า หน้าที่โดยได้รับอนุมัติจากอธิบดีดำาเนินการส่งผู้รับการ คุ้มครองและพัฒนาอาชีพไปยังสถานแรกรับหรือสถาน คุ้มครองและพัฒนาอาชีพอื่น ในกรณีที่ส่งผู้รับการ คุ้มครองและพัฒนาอาชีพไปยังสถานแรกรับหรือสถาน คุ้มครองและพัฒนาอาชีพของมูลนิธิ สมาคม หรือ สถาบันอื่น ต้องได้รับความยินยอมจากสถานแรกรับ หรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพนั้นด้วย
  • 39. •  มาตรา ๓๓  ในกรณีที่ผู้กระทำาความผิดตาม มาตรา ๕ หรือมาตรา ๖ เป็นบุคคลอายุยังไม่เกิน สิบแปดปี และไม่ปรากฏว่าต้องหาหรืออยู่ใน ระหว่างถูกดำาเนินคดีในความผิดฐานอื่นซึ่งเป็น ความผิดที่มีโทษจำาคุก หรือต้องคำาพิพากษาให้จำา คุก ให้พนักงานสอบสวนในกรณีที่ได้เปรียบเทียบ คดีแล้วแจ้งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ*เพื่อ ดำาเนินการจัดส่งตัวผู้นั้นไปเพื่อรับการดูแลใน สถานแรกรับที่มีเขตรับผิดชอบ  กรณีตามวรรคหนึ่งหากเป็นบุคคลอายุกว่าสิบแปด ปี ถ้าบุคคลนั้นประสงค์ที่จะได้รับการคุ้มครองและ พัฒนาอาชีพในสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ ให้พนักงานสอบสวนแจ้งกรมพัฒนาสังคมและ
  • 40. •  มาตรา ๓๔ ในกรณีที่ผู้กระทำาความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ หรือมาตรา ๗ เป็นบุคคลอายุยังไม่เกินสิบแปดปี เมื่อ ศาลได้พิจารณาถึงประวัติความประพฤติ สติปัญญา การศึกษา อบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต อาชีพ และสิ่งแวดล้อมของผู้นั้นแล้ว เห็นว่าไม่สมควรพิพากษาลงโทษแต่ควรให้ผู้กระทำาความผิดได้ รับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพแทนการลงโทษก็ให้กรมพัฒนา สังคมและสวัสดิการ*รับตัวผู้กระทำาความผิดเพื่อดำาเนินการจัด ส่งตัวผู้นั้นไปเพื่อรับการดูแลในสถานแรกรับที่มีเขตรับผิดชอบ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ศาลมีคำาพิพากษา •  กรณีตามวรรคหนึ่งหากเป็นบุคคลอายุกว่าสิบแปดปี ถ้าบุคคล นั้นประสงค์ที่จะได้รับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพในสถาน คุ้มครองและพัฒนาอาชีพ และศาลเห็นสมควรให้กรมพัฒนา สังคมและสวัสดิการ*รับตัวผู้กระทำาความผิดเพื่อดำาเนินการจัด ส่งตัวผู้นั้นไปเพื่อรับการดูแลในสถานแรกรับที่มีเขตรับผิดชอบ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ศาลมีคำาพิพากษา •  ในกรณีที่ศาลพิพากษาลงโทษผู้กระทำาความผิดตามวรรคหนึ่ง และศาลเห็นสมควรให้ผู้กระทำาความผิดรับการคุ้มครองและ พัฒนาอาชีพก็ให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ*รับตัวผู้กระทำา ความผิดเพื่อดำาเนินการจัดส่งตัวผู้นั้นไปเพื่อรับการดูแลในสถาน
  • 41. •    มาตรา ๓๕ ให้สถานแรกรับพิจารณา บุคลิกภาพ พื้นฐานการศึกษาอบรม สาเหตุการกระ ทำาความผิด และทดสอบแนวถนัด แล้วพิจารณาจัด ส่งตัวผู้อยู่ในความดูแลตามมาตรา ๓๓ หรือมาตรา ๓๔ ไปยังสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพที่เหมาะ สมเพื่อให้การคุ้มครองและพัฒนาอาชีพภายใน ระยะเวลาตามระเบียบที่ ก.ค.อ. กำาหนดแต่ต้องไม่ เกินหกเดือนนับแต่วันที่รับตัวผู้นั้นไว้ ภายใต้บังคับมาตรา ๓๔ วรรคสาม ในกรณีที่สถาน แรกรับพิจารณาแล้วเห็นว่ายังไม่มีความจำาเป็นจะ ต้องส่งผู้นั้นไปรับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพจะ ไม่ส่งตัวผู้นั้นไปยังสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ ก็ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ค.อ. กำาหนด •    มาตรา ๓๖ หลักเกณฑ์และวิธีการส่งตัวบุคคล
  • 42. • มาตรา ๓๘  ในระหว่างที่รับการดูแลในสถานแรกรับ หรือรับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพในสถานคุ้มครองและ พัฒนาอาชีพ ถ้าผู้ใดหลบหนีออกนอกสถานแรกรับ หรือ สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ ให้เจ้าหน้าที่ของสถาน แรกรับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพมีอำานาจหน้าที่ ออกติดตามตัวผู้นั้นเพื่อส่งตัวกลับไปยังสถานแรกรับหรือ สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพได้ แล้วแต่กรณี ในการนี้ สถานแรกรับหรือสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพจะ ร้องขอให้เจ้าหน้าที่ตำารวจช่วยดำาเนินการให้ด้วยก็ได้ เมื่อบุคคลใดได้รับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพครบ กำาหนดเวลาแล้วให้เจ้าหน้าที่ของสถานแรกรับหรือสถาน คุ้มครองและพัฒนาอาชีพดำาเนินการจัดส่งบุคคลนั้นกลับ ไปยังถิ่นที่อยู่หรือภูมิลำาเนาของผู้นั้น เว้นแต่ ก.ค.อ. เห็น สมควรจะดำาเนินการเป็นอย่างอื่น • มาตรา ๓๙  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำานาจหน้าที่ ดัง ต่อไปนี้
  • 43. •  มาตรา ๔๐ ให้กรรมการ อนุกรรมการ และ พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้เป็นเจ้า พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา •    มาตรา ๔๑ ผู้ใดฝ่าฝืนไม่อำานวยความสะดวกแก่ พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติตามมาตรา ๓๙ ต้อง ระวางโทษจำาคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกิน หนึ่งพันบาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ •    มาตรา ๔๒ ในระหว่างที่ยังมิได้จัดตั้ง สำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ ให้กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ*มีอำานาจหน้าที่ ตามมาตรา ๒๕ •  มาตรา ๔๓ ให้สถานสงเคราะห์ที่จัดตั้งขึ้น ตามพระราชบัญญัติปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๐๓ เป็นสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพตามพระ
  • 44. •  มาตรา ๔๔ บรรดาประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำาสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัติปรามการค้า ประเวณี พ.ศ. ๒๕๐๓ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่า ที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้จนกว่าจะ มีประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำาสั่งที่ออกตามพ ระราชบัญญัตินี้ •    มาตรา ๔๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์* รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำานาจแต่งตั้ง พนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวง และ ประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราช กิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
  • 45. หมายเหตุ - เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๐๓ ได้ประกาศ ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน บทบัญญัติที่มีอยู่โดยเฉพาะอย่างยิ่งบท กำาหนดโทษไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และโดยที่การค้า ประเวณีมีสาเหตุสำาคัญมาจากสภาพเศรษฐกิจและสังคม ผู้กระทำาการ ค้าประเวณีส่วนมากเป็นผู้ซึ่งด้อยสติปัญญาและการศึกษา สมควรลด โทษผู้กระทำาการค้าประเวณี และเปิดโอกาสให้บุคคลเหล่านั้นได้รับ การคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ ไม่ว่าจะเป็นการให้การอบรมฟื้นฟู จิตใจ การบำาบัดรักษาโรค การฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพตลอดจน พัฒนาคุณภาพชีวิตและในขณะเดียวกันเพื่อเป็นการปราบปรามการ ค้าประเวณีและเพื่อคุ้มครองบุคคลโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่อาจ ถูกล่อลวงหรือชักพาไปเพื่อการค้าประเวณี สมควรกำาหนดโทษบุคคล ซึ่งกระทำาชำาเราโสเภณีเด็กในสถานการค้าประเวณี บุคคลซึ่งหาราย ได้จากการค้าประเวณีของเด็กและเยาวชน และบิดา มารดา หรือผู้ ปกครอง ซึ่งมีส่วนร่วมรู้เห็นเป็นใจในการจัดหาผู้อยู่ในความ ปกครอง ไปเพื่อการค้าประเวณีกับให้อำานาจศาลที่จะถอนอำานาจ ปกครองของบิดา มารดา หรือผู้ปกครองของผู้กระทำาความผิดซึ่งเป็น
  • 46. ผลการจับกุมโสเภณีในเมือง พัทยา เดือน โสเภณี เด็ก ชาย โสเภ ณี หญิง รวม มีนาคม 2536 30 20 50 เมษายน 2536 10 3 13 พฤษภาคม 2536 9 1 10 มิถุนายน 2536 15 1 16 กรกฏาคม 2536 15 17 32 สิงหาคม2536 3 5 8 กันยายน 2536 - 2 2 ตุลาคม 2536 3 - 3มานพ มณีจันทร์ , “ชำาแหละ โสเภณีเด็ก” ปัญหาเด็กเมืองพัทยา , “มติชนรายวัน 21” (พฤ
  • 47. ปัญหาการขายบริการทางเพศ เป็นเรื่อง ที่จับตามองของต่างประเทศ เนื่องจาก ปัญหานี้ นับได้ว่าส่งผลกระทบต่อ ภาพพจน์ของประเทศไทยเป็นอย่างมาก รวมถึงผลกระทบต่างๆ คือ ปัญหาโรค เอดส์ ปัญหาการเพิ่มงบประมาณทางด้าน สวัสดิการสังคม
  • 50. สรุป กระแสบริโภคนิยมกำาลังสร้างมายาคติให้ กับมนุษย์ทุกคนในสังคมไทย เมื่อคนถูก กระแสบริโภคนิยมครอบงำาย่อมแสวงหา อำานาจแห่งการซื้อเพื่อสนองความ ต้องการของตน การขายบริการทางเพศ เป็นอีกหนทางหนึ่งที่มนุษย์ในสังคมไทย บางกลุ่มบางพวกเลือกใช้ จนก่อให้เกิด ปัญหาต่างๆมากมายต่อตนเองและสังคม หากทุกคนในสังคมเลือกบริโภคเพื่อยังชีพ ตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานของ
  • 51. ขอ ขอบคุณ วิทยานิพนธ์เรื่อง “ “โสเภณีเด็กชาย นายกิตติคุณ อาง คาสัย : สังคมสงเคราะห์ ศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ : นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์