SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
โครงงานสือการเรียนการสอนชีววิทยาชันมัธยมศึกษาตอนปลาย
่
้
(Biology for high school)
เรือง อาณาจักรสัตว์
่
ชือผูจดทาโครงงาน
่ ้ั
1.นางสาวสุทธิภา คาใส เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 2
2.นางสาวทักษพร จันทาพูน เลขที่ 47 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชืออาจารย์ทปรึกษาโครงงาน
่
ี่
คุณครูเขือนทอง มูลวรรณ์
่
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
้
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศกาลังมีบทบาทอย่างกว้างขวางในด้านต่างๆ โดยเฉพาะ
ด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การบริการสังคม สิ่งแวดล้อม ไปจนถึงด้านการศึกษา เหตุที่
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ Information Technology มีบทบาทมากมาย เช่นนี้ เพราะ
เป็นเสมือนเครื่องจักรที่ขับดันให้ทุกสิ่งทุกอย่างที่มาเกี่ยวข้องด้วยการก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วใน
ด้านการศึกษาบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้
กับการศึกษาในลักษณะต่างๆ ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ระบบสื่อประสม ระบบ
สารสนเทศ ระบบฐานข้อมูล ระบบปัญญาประดิษฐ์ และระบบ Internet เป็นต้น
ในปัจจุบันจึงได้มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นการประยุกต์นาคอมพิวเตอร์มาช่วย
ในการเรียนการสอน โดยมีการพัฒนาโปรแกรมขึ้นเพื่อนาเสนอเนื้อหาในรูปแบบต่างๆ เช่น
การเสนอแบบติวเตอร์ (Tutorial) แบบจาลองสถานการณ์ (Simulations) หรือแบบการ
แก้ไขปัญหา (Problem Solving) เป็นต้น
BACK
NEXT
การเสนอเนื้อหาดังกล่าวเป็นการเสนอโดยตรงไปยังผู้เรียนผ่านทางจอภาพหรือแป้นพิมพ์ โดย
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม วัสดุทางการสอนคือโปรแกรมหรือ Courseware ซึ่งปกติ
จะถูกจัดเก็บไว้ในแผ่นดิสก์หรือหน่วยความจาของเครื่อง พร้อมที่จะเรียกใช้ได้ตลอดเวลา การ
เรียนในลักษณะนี้ ในบางครั้งผู้เรียนจะต้องโต้ตอบ หรือตอบคาถามเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยการ
พิมพ์ การตอบคาถามจะถูกประเมินโดยคอมพิวเตอร์ และจะเสนอแนะขั้นตอนหรือระดับในการ
เรียนขั้นต่อๆ ไป กระบวนการเหล่านี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ให้ผู้เรียนมีอิสระและความคล่องตัว
ในการเลือกเรียนในเรื่องที่ตนสนใจได้ทุกเวลาหรือ สถานที่ในการศึกษา สามารถแลกเปลี่ยน
แนวคิดผู้เรียน หรือกับผู้สอน รวมทั้งยังช่วยแก้ปัญหาพื้นฐานความรู้ เพียงแค่ผู้เรียนมีเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้มีความคิด ที่จะพัฒนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาชีววิทยา เรื่อง
อาณาจักรสัตว์ ทั้งนี้เพราะชีววิทยาเป็นวิชาพื้นฐานที่สาคัญเนื่องจากยังขาดสื่อการเรียนการ
สอนที่ช่วยให้เข้าใจง่าย

BACK

NEXT
วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดทาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาชีววิทยา เรื่องอาณาจักรสัตว์
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองเวลาใดก็ได้ตามต้องการ
3. เพื่อช่วยลดต้นทุนในด้านการจัดการเรียนการสอนได้ เพราะการเรียนด้วย
CAI ไม่ต้องใช้ครูผู้สอน เมื่อสร้างบทเรียนแล้ว การทาซ้าเพื่อการเผยแพร่ใช้ต้นทุนต่ามาก
และสามารถใช้กับผู้เรียนได้เป็นจานวนมาก เมื่อเทียบการสอนโดยใช้ครูผู้สอน
4. เพื่อเป็นมีแรงจูงใจให้ผู้เรียนสนใจเรียนเพิ่มขึ้น เนื่องจากบทเรียน CAI ใช้
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ในการนาเสนอบทเรียน เป็นสิ่งแปลกใหม่ มีการปฏิสัมพันธ์กับ
บทเรียนตลอดเวลา ผู้เรียนไม่เบื่อหน่าย ทาให้ช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนด้วย
5. เพื่อให้ผลย้อนกลับ (Feedback) แก่ผู้เรียนได้
อย่างรวดเร็ว ผู้เรียนทราบความก้าวหน้าของตนเองได้ทันที

BACK

NEXT
6. บทเรียน CAI สะดวกต่อการติดตามประเมินผลการเรียน โดยมีการ
ออกแบบสร้างโปรแกรมให้ส ามารถเก็ บข้อมู ล คะแนนหรือผลการเรียนของผู้ เรียนแต่ล ะคนไว้
สามารถนามาวิเคราะห์เพื่อประเมินผลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องเมื่อเปรียบเทียบกับครูผู้สอน
7. เพื่อจาทาเนื้อหาที่คงสภาพแน่นอน เนื่องจากเนื้อหาของบทเรียน CAI ได้ผ่าน
การตรวจสอบให้มีเนื้อหาที่ครอบคลุม จัดลาดับความสัมพันธ์ของเนื้อหาอย่างถูกต้อง มีความคง
สภาพเหมือนเดิมทุกครั้งที่เรียน ทาให้เชื่อมั่นได้ว่าผู้เรียนเมื่อได้เรียนบทเรียน CAI ทุกครั้งจะ
ได้เรียนเนื้อหาที่คงสภาพเดิมไว้ทุกประการ ต่างจากการสอนด้วยครูผู้สอนที่มีโอกาสที่การสอนแต่
ละครั้งของครูผู้สอนในเนื้อหาเดียวกัน อาจมีลาดับเนื้อหาไม่เหมือนกันหรือข้ามเนื้อหาบางส่วนไป

BACK

NEXT
ขอบเขตโครงงาน
ส่วนของผู้ดูแลระบบ
- สามารถแก้ไขเนื้อหาได้
- สามารถสร้างข้อสอบและอัพเดตข้อสอบใหม่ได้ตลอดเวลา
- สามารถสร้างเพื่อเป็นแรงจูงใจให้คนเรียนได้
ส่วนของนักเรียน
- สามารถเจรจาโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้เรียนพอใจมาก
- สามารถควบคุมวิธีการเรียนของตัวเองได้
- สามารถกาหนดวิธีสอนให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียนได้
เพราะคาตอบที่ผู้เรียนใช้ อาจเป็นแนวให้กาหนดบทเรียนให้ไปช้า
เร็ว หรือมีความแตกต่างอย่างนั้นอย่างนี้ได้

BACK

NEXT
หลักการและทฤษฎี
1. CAI ทาให้ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนสูงขึ้น แม้จะมีบางแห่งไม่แสดงความแตกต่างมากนัก เมื่อ
เทียบกับการเรียนในห้องเรียน
2. CAI จะลดเวลาเรียนลง เมื่อเทียบกับการเรียนในห้องเรียน
3. ผู้เรียนจะสนใจการเรียนมากขึ้นเมื่อเรียนด้วย CAI
4. พัฒนาการของ CAI เท่าที่เป็นมา เป็นที่ยอมรับกันมากในวงการศึกษาและ วงการครู
5. ผู้เรียนที่ค่อนข้างช้า จะมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้นมากกว่าผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนปกติ แม้ว่าสิ่งที่คงเหลือ
จากการเรียนรู้จะต่ากว่า เมื่อเทียบกับการเรียนจากห้องเรียนปกติ
6. ไม่ว่า CAI จะมีลักษณะใด (ทบทวน ฝึกหัด เกม สร้างสถานการณ์จาลอง) ความแตกต่าง
ทางด้านผลสัมฤทธิ์มีไม่มากนัก ไม่ว่าผู้เรียนจะอยู่ในชั้นประถม มัธยม หรือผู้ใหญ่ที่มารับการ
อบรม ผู้เรียนส่วนใหญ่ต้องการพบครูผู้สอนเป็นครั้งคราวหรือไม่ก็ต้องการให้ครูอยู่ในชั้นเรียนด้วย
เพราะบางทีอยากอภิปรายในเรื่องบางเรื่องเป็นพิเศษ แต่ผลการวิจัยกลับพบว่า การมีครูเข้าไปยุ่ง
ด้วยมากเท่าใด ยิ่งทาให้การเรียนช้าลง มหาวิทยาลัยบางแห่งจึงกาลังทาการวิจัยอยู่ว่า ครูควรเข้า
ไปมีบทบาทร่วมด้วยมากน้อยเพียงใดจึงจะพอดี
BACK
NEXT
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
การดาเนินงานจะเริ่มจากค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมที่ใช้ในการทา
สื่อ ทั้งวิธีการติดตั้ง การใช้งาน และรูปแบบลักษณะของโปรแกรม รวมถึงรวบรวมเนื้อหาวิชา
ฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อนามาจัดทาสื่อการเรียนการสอน
เครืองมือและอุปกรณ์ที่ใช้
่
- เครื่องคอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊ค
- หนังสือคู่มือแนะนาการใช้งานโปรแกรมที่นามาทาสื่อการเรียนการสอน เช่น
โปรแกรม Power point, photo shop
งบประมาณ
50 บาท
BACK

NEXT
ขันตอนและแผนดาเนินงาน
้
ลาดับที่

ขั้นตอน

1
2
3
4
5
6
7
8

สัปดาห์ที่ (พฤศจิกายน 2556 – มกราคม 2557)
ผูรับผิดชอบ
้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

คิดหัวข้อโครงงาน
ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
จัดทาโครงร่างงาน
ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
ปรับปรุงทดสอบ
การทาเอกสารรายงาน
ประเมินผลงาน
นาเสนอโครงงาน

สุทธิภา
ทักษพร
ทักษพร
สุทธิภา
สุทธิภา
ทักษพร

BACK

NEXT
ผลทีคาดว่าจะได้รบ
่
ั
1. เป็นแหล่งให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่ผู้ที่สนใจ
2. ส่งเสริมการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน
3. ผู้ใช้โปรแกรมมีความรู้ ความเข้าใจเนื้อหาในบทเรียน
สถานทีดาเนินการ
่
- ร้านคอมพิวเตอร์
- บ้าน/หอพักของผู้จัดทาโครงงาน
กลุมสาระการเรียนรู้ที่เกียวข้อง
่
่
- ชีววิทยา
- ศิลปะ

BACK

NEXT
แหล่งอ้างอิง
http://bunmamint9.blogspot.com/
http://www.baanmaha.com/community/thread16649.html
http://blogdeksiamkingdomanimalia.blogspot.com/
http://kingdomanimal.weebly.com/3629363436033634359236333585361936
26363336053623366036173637-9-36523615362136333617.html
http://www.deqp.go.th/website/25/index.php?option=com_content&vie
w=article&id=3754%3A2011-03-04-02-45-24&catid=69%3A2011-06-2706-00-59&lang=th
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยาเล่ม 5
BACK

NEXT
กาเนิดของสัตว์
ลักษณะของสัตว์
เกณฑ์การจาแนกสัตว์
กลุมที่ไม่มีเนือเยือที่แท้จริง
่
้ ่
กลุมที่มเี นือเยือทีแท้จริง
่
้ ่ ่
- ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
- ไฟลัมแพลทีเฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes)
- ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
- ไฟลัมแอนเนลิดา(Phylum Annelida)
- ไฟลัมนีมาโทดา (Phylum Nematoda)
- ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthorpada)
• คลาสเมอโรสโตมาตา (Class Merostomata)
• คลาสอะแรคนิดา (Class Arachnida)
HOME
• คลาสไดโพลโพดา (Class Diplopoda)

NEXT
• คลาสชิโลโพดา (Class Chilopoda)
• คลาสอินเซ็คตา (Class Insecta)
• คลาสครัสเทเชีย (Class Crustacea)
- ไฟลัมแอไคโนเดอมาตา
(Phylum Echinodermata)
- ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)
• สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
- เซฟาโลคอร์เดต
(Cephalochordate)
- ยูโรคอร์เดต (Urochordate)
• สัตว์มีกระดูกสันหลัง
- Subphylum Vertebrata
- Class Cyclostomata หรือ
Agnatha
- Class Chondrichthyes

-

Class Osteicthyes
Class Amphibia
Class Reptilia
Class Aves
Class Mammalia
- Monotremes
- Marsupials

BACK
กาเนิดของสัตว์
นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า สัตว์น่าจะมีวิวัฒนาการเกิดขึ้นใน
ช่วงเวลาประมาณ 1,000 ถึง 580 ล้านปีที่ผ่านมา แต่พบหลักฐานจากซาก
ดึกดาบรรพ์น้อยมาก อาจเป็นไปได้ว่าสัตว์ที่เกิดขึ้นในยุคแรกๆ น่าจะมี
ร่างกายอ่อนนุ่ม ไม่มีโครงร่างแข็งจึงไม่ปรากฏร่องรอยในซากดึกดาบรรพ์
แต่จะพบซากดึกดาบรรพ์จานวนมากในช่วงเวลาประมาณ 540 ล้านปี
ระหว่างปลายมหายุคพรีแคมแบรียนและตอนต้นของยุคแคมเบรียน

MENU

NEXT
ลักษณะของสัตว์
สั ต ว์ เ ป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต กลุ่ ม ยู ค าริ โ อตที่ มี ห ลายเซลล์ ไม่ มี ผ นั ง เซลล์
เซลล์จัดเรียงตัวกันเป็นเนื้อเยื่อ เป็นพวกเฮเทอโรโทรป (heterotroph) ที่
ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ต้องอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น

MENU

BACK

NEXT
ปัจจุบนได้จดกลุมสัตว์ออกเป็นไฟลัมต่างๆ ดังภาพ
ั ั ่
MENU

BACK

NEXT
เกณฑ์การจาแนกสัตว์ โดยพิจารณาลักษณะต่างๆ ของสัตว์
1. เนื้อเยื่อ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง ได้แก่
ฟองน้า และกลุ่มที่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง ซึ่งเป็นลักษณะของสัตว์ส่วนใหญ่
2. ลักษณะสมมาตร (symmetry)
แบ่งออกเป็นสมมาตรตามรัศมี
(radial symmetry) ส่วนใหญ่จะ
ดารงชีวิติแบบอยู่กับที่ เช่น ปะการัง
และสมมาตรด้านข้าง (bilateral
symmetry) ส่วนหัวเป็นส่วนรวมของ
เนื้อเยื่อประสาท
MENU

BACK

NEXT
3. การเปลี่ยนแปลงของบลาสโทพอร์ พบเฉพาะสัตว์ที่มีสมมาตรด้านข้าง มี
2 แบบ คือ แบบโพรโทสโทเมีย (protostomia) คือพวกที่มี
บลาสโทพอร์เปลี่ยนเป็นช่องปาก และแบบดิวเทอโรสโทเมีย คือพวกที่
มีบลาสโทพอร์เปลี่ยนเป็นทวารหนัก

MENU

BACK

NEXT
4. การเจริญตัวในระยะตัวอ่อน พบในกลุ่ม
สั ต ว์ ที่มี ช่ องปากแบบโพรโทสโทเมี ย ซึ่ ง
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีระยะตัว
อ่ อ นแบบโทรโคฟอร์ (trochophore)
พบในสัตว์พวกหนอนตัวแบน ไส้เดือนดิน
ปลิง หอยและหมึก เป็นต้น และเอ็กไดโซ
ซัว (ecdysozoa) เป็นกลุ่มที่มีการลอก
คราบขณะเจริ ญ เติ บ โต พบในหนอนตั ว
กลมและอาร์โทพอด
MENU

BACK

NEXT
กลุมที่ไม่มเี นือเยือที่แท้จริง
่
้ ่
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
สัตว์ในไฟลัมนี้ได้แก่ สัตว์จาพวกฟองน้า (Sponge)
มี ลั ก ษณะส าคั ญ คื อ ร่ า งกายสามารถแบ่ ง ได้ แ บบ
Radial symmetry มีลาตัวพรุน ประกอบด้วยกลุ่ม
เซลล์หลายชนิด โดยแบ่งกันทาหน้าที่โดยเฉพาะ ไม่มี
การประสานงานกั น ระหว่ า งเซลล์ ล าตั ว มี ช่ อ งเล็ ก ๆ
รอบตัวเรียก (Ostia) เพื่อให้น้าหรืออาหารไหลเข้าไป
ในลาตัวได้ และตอนบนมีช่องเปิดให้น้าออก (Ostia)
MENU

BACK

NEXT
ผนังลาตั วประกอบด้ วยเซลล์ร วมกันเป็นสองชั้ น เซลล์ข้างในมี แ ฟลก
เจลลัม (Flagellum) ทาหน้าที่พัดน้า และมีเซลล์พิเศษที่ทาหน้าที่ดูดอาหารเข้า
ไปและย่อยอาหารคือ Choanocyte (Collar cell) ตรงกลางมีของเหลวคล้าย
วุ้นเรียก Amebocyte ฟองน้าเป็นสัตว์ที่ไม่เคลื่อนที่ (Sessile Animal) จะ
เกาะติดกับโขดหินหรือของแข็งใต้น้า บางชนิดมีโครงร่างแข็งเรียก spicule บางชนิด
อ่อนนุ่มเรียก spongin

MENU

BACK

NEXT
กลุมที่มีเนือเยือที่แท้จริง
่
้ ่
ก. กลุ่มที่มีสามมาตรตามรัศมี
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria) มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น มี
รูปร่าง 2 แบบ คือ แบบโพลิบ (polyp) คล้ายทรงกระบอก และแบบเมดู
ซ่า (medusa) คล้ายร่มหรือระฆัง ลักษณะที่สาคัญคือ ที่แทนทาเคิลมี
เซลล์พิเศษ (cnidocyte) ภายในมีเข็มพิษ (nematocyst) สาหรับ
ป้องกันตัวหรือล่าเหยื่อ ตัวอย่างสัตว์ในไฟลัมนี้ เช่น ปะการัง กัลปังหา
แมงกะพรุน ไฮดรา
MENU

BACK

NEXT
ข. กลุ่มที่มีสามมาตรด้านข้าง
• กลุ่มโพรโทสโทเมีย
กลุ่มโพรโทสโทเมียและมีตัวอ่อนแบบโทรโคฟอร์
ไฟลัมแพลทีเฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes) สัตว์ไฟลัม
นี้มีลาตัวแบนบางจึงเรียกว่า หนอนตัวแบน มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น มีทางเดินอาหาร
ไม่สมบูรณ์และไม่มีโพรงลาตัว เช่น พลานาเรีย พยาธิตัวตืด

MENU

BACK

NEXT
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca) สัตว์ไฟลัมนี้เป็นสัตว์ที่มี
ลาตัวนิ่มแต่สามารถสร้างเปลือกแข็งที่มีสารประกอบแคลเซียมคาร์บอนเนต
หุ้มลาตัว มีแมนเทิล (mantle) ทาหน้าที่สร้างเปลือกหุ้มลาตัว มีการ
ไหลเวียนของน้าเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้เหงือก มีทวารหนักและรูขับถ่าย
ได้แก่ หอยทาก ทากเปลือย หอยนางรม หอยกาบ หอยงาช้าง หมึกยักษ์
หมึกกระดองและหมึกกล้วย

MENU

BACK

NEXT
MENU

โครงสร้างของสัตว์ไฟลัมมอลัสกา

BACK

NEXT
ไฟลัมแอนเนลิดา(Phylum Annelida) สัตว์ในไฟลัมนี้ส่วนใหญ่
ลาตัวกลมยาวคล้ายวงแหวนต่อกัน เป็นปล้อทั้งอวัยวะภายในและภายนอกมี
การจัดเป็นชุดซ้าๆ กันในแต่ละปล้องไป ตลอดตัว มีเยื่อกั้นระหว่างปล้อง
ผิวหนังปกคลุมด้วยเยื่อ คิวทิเคิล (cuticle)บางๆ มีต่อมสร้าง เมือกทาให้
ลาตัวชุ่มชื้นอยู่เสมอ ผิวหนังเป็นที่แลกเปลี่ยนแก๊ส มีระบบเลือดสาหรับ
ลาเลีย งสารในร่างกายและมีเส้นใยประสาทอยู่ด้านท้อ ง เช่น แม่เพรีย ง
ไส้เดือนดิน ปลิงน้าจืด ทากดูดเลือด เป็นต้น

MENU

BACK

NEXT
โครงสร้างของสัตว์ไฟลัม
แอนเนลิดา

MENU

BACK

NEXT
กลุ่มโพรโทสโทเมียและตัวอ่อนมีการลอกคราบ
ไฟลัมนีมาโทดา (Phylum Nematoda) มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
(Triploblastica animal) ลาตัวกลม ยาวเรียวหัว-ท้าย ไม่มีข้อปล้อง (non
metameric) ไม่มีรยางค์ ผิวลาตัวปกคลุมด้วยสารคิวติน (Cuticle) เพื่อ
ป้องกันน้าย่อยจาก Host มีสมมาตรแบบ Bilateral symmetry มีช่องว่าง
ในลาตัวแบบไม่แท้จริง (Psudocoelom) ยังไม่มีระบบเลือด ไม่มีระบบหายใจ
พวกที่เป็นปรสิตจะหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน เช่น พยาธิไส้เดือน พยาธิ
ปากขอ พยาธิเส้นด้าย ไส้เดือนฝอย เป็นต้น

MENU

BACK

NEXT
MENU

BACK

NEXT
ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthorpada)
- มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica animal)
- มีสมมาตรแบบ Bilateral symmetry
- มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ (Complete digestive tract)
- มีช่องว่างในลาตัวแบบแท้จริง (True coelom)
- ลาตัวแบ่งเป็นส่วนๆ ชัดเจน คือ หัว (Head), อก (Thorax) และท้อง
(Abdomen) หรือหัวเชือมกับอก (Cephalothorax) เช่น กุง
่
้
- อกเชื่อมกับท้อง มีรยางค์หรือขาต่อกันเป็นข้อ ๆ (Jointed-leg animal)
- ร่างกายมีเปลือกแข็งหุ้มภายนอก (Exoskeleton)
- เป็นสารจาพวกไคติน (Chitin)
MENU

BACK

NEXT
ไฟลัมอาร์โทรโพดา แบ่งเป็นคลาสดังนี้
• คลาสเมอโรสโตมาตา (Class Merostomata) มีส่วนของหัวเชื่อมกับ
ส่วนอก มีขา 5 คู่ ไม่มีหนวด ได้แก่ แมงดาทะเล แมงดาถ้วย แมงดาจาน

MENU

BACK

NEXT
• คลาสอะแรคนิดา (Class Arachnida) ส่วนมากจะอยู่บนบก สัตว์ใน
คลาสนี้ไม่มีหนวด มีขา 4 คู่ ส่วนของหัวเชื่อมกับส่วนอก ได้แก่ แมงมุม
แมงป่อง บึ้ง เห็บ

MENU

BACK

NEXT
• คลาสไดโพลโพดา (Class Diplopoda) มีขาจานวนมาก ลาตัวค่อนข้าง
กลม ยาว ประกอบด้วยส่วนหัว และส่วนอกสั้นๆ ไม่มีต่อมพิษ มีหนวด 1
คู่ มีขาปล้องละ 2คู่ มีตาเดี่ยว ได้แก่ กิ้งกือ กระสุนพระอินทร์

MENU

BACK

NEXT
• คลาสชิโลโพดา (Class Chilopoda) สัตว์ในคลาสนี้เรียกว่า เซนติบิด
มีขาจานวนมาก ปล้องละ 1 คู่ ลาตัวประกอบด้วยส่วนหัวและลาตัวยาวของ
อกติดกับท้องที่หัวมีรยางค์ที่มีพิษอยู่ 1 คู่ มีหนวด 1 คู่ มีตาเดี่ยว เรียกว่า
โอเซลลัส (Ocelles) หายใจทางท่อลม ได้แก่ ตะขาบ

MENU

BACK

NEXT
• คลาสอินเซ็คตา (Class Insecta) เป็นคลาสที่มีจานวนชนิดมากที่สุด
ประมาณ 1 ล้าน 5 แสนชนิด ได้แก่พวกแมลงต่างๆ

MENU

BACK

NEXT
แมลงมีลาตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง มี
หนวด 1 คู่ มีขา 3 คู่ อยู่บริเวณส่วนอก บางชนิดอาจมีปีก 1-2 คู่

MENU

BACK

NEXT
• คลาสครัสเทเชีย (Class Crustacea) ส่วนมากจะอยู่ในน้า
มีหนวด 2คู่ มีขา 5คู่ ส่วนของหัวเชื่อมกับส่วนอก เช่น กุ้ง ปู กั้ง ไรน้า

ไรน้า

MENU

BACK

NEXT
2.ดิวเทอโรสโทเมีย ประกอบด้วย
ไฟลัมเอไคโดเดมาตา
สัตว์พวกเอไคโนเดิร์ม ( echinoderm )
- ได้เเก่ ดาวทะเล เม่นทะเล ( หอยเม่น ) ปลิงทะเล อีเเปะทะเล พลับพลึงทะเล
- ทั้งหมดเป็นสัตว์ทะเล อาศัยอยู่พื้นทะเลลึก
- ปลิงทะเลไข่เม่นทะเลใช้เป็นอาหารได้
- ดาวมงกุฎหนาม เป็นโทษ ทาลายปะการังเเละหอย

MENU

BACK

NEXT
ลักษณะร่างกายทัวไป
่
- สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นแบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยมีเมแทมอร์โฟซิสกลายเป็น
สมมาตรแบบรัศมี
- ลาตัวแบ่งเป็น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยื่นออกมาจากแผ่นกลมที่เป็นศูนย์กลาง
มีโครงร่างแข็งภายใน มีแผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้วยกล้ามเนื้อหรือผิวหนังทีปกคลุม
่
อยู่บางชนิด เช่น เม่นทะเลมีโครงร่างเป็นหนามแหลมยื่นออกมา มีผิวหนังหยาบและ
ขรุขระ

MENU

BACK

NEXT
ระบบทางเดินอาหาร
- เป็นเเบบสมบูรณ์
- มีปากอยู่ด้านล่างของเเผ่นกลมตรงกลาง ทวารหนักอยู่ด้านบน
- ไม่มีระบบขับถ่าย
ระบบหมุนเวียนเลือด เป็นเเบบวงจรปิด ลาเลียงสารไปกับเลือดที่ไหลเวียนในซีลอมหายใจด้วยเหงือก
(dermal skin) ลักษณะคล้ายนิ้วมือเล็กๆ ยื่นออกมาจากผิวหนังทั่วไป
ระบบประสาท
- มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน
- ไม่มีสมอง ซึ่งเป็นศูนย์ประสานงาน
การเคลือนไหว
่
- ใช้ระบบท่อน้า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย
- เเรงดันน้า ทาให้ท่อขา ( tube feet ) ซึ่งยื่นออกมาจากด้านล่างของเเขนดาวทะเลยืดเเละหดได้
ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวเเละจับอาหาร
MENU
BACK
NEXT
การสืบพันธุ์
- แบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก
- แบบไม่อาศัยเพศบางชนิด เช่น การขาดของแขนใดแขนหนึ่ง ส่วนที่ขาดก็จะเจริญไป
เป็นตัวเต็มอีกทีหนึ่ง
เอไคโนเดิรม เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีความสัมพันธ์กับสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
์
มากกว่าสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่นๆ เพราะมี แบแผนการดารงชีวิตคล้ายคลึงกัน

MENU

BACK

NEXT
ไฟลัมคอร์ดาตา
ลักษณะเฉพาะของพวกคอร์เดต
- มีโนโตคอร์ด ( notocord ) เป็นเเกนพยุงร่างกายซึ่งมีอยู่ตลอดชีวิตหรือระยะตัวอ่อนก็ได้
- มีเส้นประสาทใหญ่เป็นหลอดยาวกลวงอยู่ด้านหลังของลาตัว ( dosal hollow nerve cord ) ซึ่ง
ในสัตว์มีกระดูกสันหลังเรียกว่า ไขสันหลัง
( spinal cord )
- มีช่อเหงือกที่คอหอย ( pharynx with gill slit ) ช่องเหงือกในปลาเปลี่ยนเเปลงเป็นช่องเปิด
สาหรับเหงือก เเละในคนพบเฉพาะระยะเอมบริโอ
- มีหาง ( tail ) เป็นท่อนกล้ามเนื้อรอบกระดูกเเกนอยู่เหนือทวารหนัก
MENU

BACK

NEXT
คอร์เดตเเบ่งย่อยได้เป็น 2 กลุ่ม
- พวกโพรโทคอร์เดต ( protochordate ) มี 2 ซับไฟลัม ซับ
ไฟลัมเซฟาโลคอร์ดาตาเเละซับไฟลัมยูโรคอร์ดาตา
- พวกสัตว์มีกระดูกสันหลัง คือ ซับไฟลัมเวอร์ทีบราตา

MENU

BACK

NEXT
ซับไฟลัมเซฟาโลคอร์ดาตา ( Cephalochordata )
- ได้เเก่เเอมฟิออกซัส ( amphioxus ) หรือ Branchiostoma เป็นสัตว์ทะเล
เล็กๆรูปร่างเหมือนเเผ่นใบไม่ยาวๆ
- มีโนโตคอร์ดตลอดชีวิต เเละตลอดความยาวของลาตัว
- มีเส้นประสาทใหญ่กลวงอยู่ด้านหลังของลาตัว
- มีช่องเหงือก เเละมีหาง

MENU

BACK

NEXT
ซับไฟลัมยูโรคอร์ดาตา ( Urochordata )
- ได้เเก่ เพรียงลอย เพรียงหัวหอม ( พวก tunicate )
- มีโนโตคอร์ดค่อนมาทางหาง เมื่อโตเต็มวัยหางเเละโนโตคอร์ดจะหลุดหายไป
- มีเส้นประสาทใหญ่กลวงอยู่ด้านหลังของลาตัว ซึ่งบางส่วนจะหลุดไปพร้อมหาง
- มีช่องเหงือก

MENU

BACK

NEXT
ซับไฟลัมเวอร์ทบราตา ( Vertebrata )
ี
- พวกสัตว์มีกระดูกสันหลัง
- มีโนโตคอร์ดเฉพาะระยะเอมบริโอ เมื่อเจริญเติบโตขึ้น มีกระดูกสันหลังเป็นชิ้นๆต่อ
กันมาแทนที่
- มีเส้นประสาทไขสันหลัง ถูกโอบล้อมไว้ในกระดูกสันหลัง
- ปลายด้านบนของไขสันหลัง เป็นสมองอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ
- มีอวัยวะรับความรู้สึกหลายชนิดเป็นคู่ๆอยู่บริเวณหัว ( ตา หู จมูก )
- ส่วนใหญ่มีหางหรือร่องรอยแสดงว่าเป็นหาง

MENU

BACK

NEXT
สัตว์มีกระดูกสันหลัง แบ่งย่อยออกเป็น 7 คลาส ได้แก่
- พวกปลา 3 คลาส
- สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอย่างละ 1 คลาส
สัตว์มีกระดูกสันหลัง (ซับไฟลัมเวอร์ทบราตา) แบ่งเป็น 7 คลาส
ี
1. คลาสไซโคลสโตมาตา (Cyclostomata หรือ Agnatha )
ได้เเก่ ปลาปากกลม - กระดูกอ่อน - ไม่มีขากรรไกร
- ไม่มีเกล็ด
- มีเเต่ครีบเดี่ยว ไม่มีครีบคู่
- หางเเบน
- มีช่องเหงือก / คู่
-เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังเพียงชนิดเดียวที่ระยะ
ตัวเต็มวัยยังคงมีโนโตคอร์ด
MENU

BACK

NEXT
2. คลาสคอนดริคไทอิส ( Condrichthyes ) ได้เเก่
ปลากระดูกอ่อนต่างๆ เช่น ปลาฉลาม ปลากระเบน ปลากระต่าย ปลาฉนาก
- กระดูกอ่อน
- มีช่องเหงือกเห็นชัด
- ไม่มีกระเพาะลม
- มีทั้งครีบเดี่ยวเเละครีบคู่ ( ครีบอกเเละครีบตะโพก )
- ผิวหนังคล้ายกระดาษทราย
- มีการปฏิสนธิภายในร่างกายเเละออกลูกเป็นตัว

MENU

BACK

NEXT
3. คลาสออสติอิคไทอิส (Osteicthyes ) ได้เเก่ ปลากระดูกแข็งต่างๆ รวมทั้งปลามี
ปอด ปลาตีน ปลานกกระจอก และม้าน้า
- กระดูกแข็ง
- มีแผ่นแข็งปิดเหงือก (operculum) ทาให้มองไม่เห็นช่องเหงือก
- มีครีบคู่ 2 คู่ (ครีบอกและครีบตะโพก)
- มีกระเพาะลมช่วยการลอยตัว
- ปฏิสนธิภายนอกร่างกายเเละออกลูกเป็นไข่

MENU

BACK

NEXT
4. คลาสเเอมฟิเบีย ( Amphibia )
ได้เเก่ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าต่างๆเช่น กบ คางคก
เขียด งูดิน กะท่าง ซาลามานเดอร์ ( จิ้งจกน้า )
- วางไข่ในน้า ไข่มีวุ้นหุ้ม
- ปฏิสนธินอกร่างกาย
- ตัวอ่อนดารวชีวิตในน้า เเละหายใจทางเหงือก
- มีเมเเทมอโฟซิสเป็นตัวเต็มวัยที่ดารงชีวิต
บนบกหายใจด้วยปอดเเละผิวหนังที่เปียกชื้น
- เป็นสัตว์เลือดเย็น
- มี 4 ขา หัวใจ 3 ห้อง เส้นประสาทสมอง 10 คู่
- มีกล่องเสียง
MENU

BACK

NEXT
5. คลาสเรปทีเลีย ( Reptilia )ได้เเก่ สัตว์เลื้อยคลานต่างๆ เช่น เต่า งู
จระเข้
- ปฏิสนธิภายในร่างกาย
- วางไข่บนบก ไข่ขนาดใหญ่ มีเปลือกแข็งเหนียวหุ้ม
- ผิวหนังแห้งมีเกล็ดปกคลุม
- หายใจทางปอดหัวใจ 3 ห้อง ( ยกเว้นจระเข้มี 4 ห้อง )
- มีขา 2 คู่
- มีเส้นประสาทสมอง 12 คู่
- เป็นสัตว์พวกแรกที่มีถุงน้าคร่า

MENU

BACK

NEXT
6. คลาสเอวีส ( Aves )
ได้เเก่ พวกนกต่างๆ รวมทั้งเป็ด ไก่ ห่าน หงส์
นกที่ใกล้สูญพันธุ์ นกเเต้วเเร้วท้องดา เเร้ง นกเงือก นกทีสูญพันธุ์ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร
่
- ปฏิสนธิภายในร่างกาย
- เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังพวกเเรกที่เป็นสัตว์เลือดอุ่น
- มีขนลักษณะเป็นเเผง ( feather )
- ขา 1 คู่ ปีก 1 คู่ ( เปลี่ยนเเปลงมาจากขาหน้า )
- หายใจด้วยปอดมีถุงลมหลายถุงติดต่อ
กับปอดทาหน้าที่เก็บอากาศหายใจ เเละระบายความร้อน
- กระดูกกลวง
- ออกลูกเป็นไข่ที่มีเปลือกหุ้ม ไข่เเดงมีปริมาณมาก
- หัวใจ 4 ห้อง มีเส้นประสาทสมอง 12 คู่
MENU

BACK

NEXT
7. คลาสเเมมมาเลีย ( Mammalia ) ได้เเก่สัตว์เลี้ยวลูกด้วยนมซึ่งเเบ่งเป็น 3 พวกคือ
- เป็นสัตว์เลือดอุ่น
- ตัวเมียมีต่อมน้านม ผลิตน้านมสาหรับเลี้ยงลูกอ่อน
- มีขนเป็นเส้นๆ ( hair )
- เม็ดเลือดเเดงไม่มนิวเครียส
ี
- มีต่อมเหงือก
- มีกล่องเสียงเเละสายเสียง
- หัวใจ 4 ห้อง
- หายใจด้วยปอดมีกระบังลม ( diphragm )
- สมองขนาดใหญ่มีเส้นประสาท สมอง 12 คู่
MENU

BACK

NEXT
พวกที่ออกลูกเป็นไข่ ( montremes ) ได้เเก่ตุ่นปากเป็ดเเละตัวกินมดคล้ายเม่น
- ออกลูกเป็นไข่
- ไม่มีมดลูก ไม่มีรก

MENU

BACK

NEXT
พวกมีถุงหน้าท้อง ( marsupials ) ได้เเก่ จิงโจ้ หมี
โคอะลา โอปอสซัม ฯลฯ
- ออกลูกเป็นตัวขนาดเล็ก ลูกอ่อนอาศัยอยู่ในถุงหน้าท้อง
- มีมดลูก
- ไม่มีรก
- พวกที่มีรก ได้แเก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
- ออกลูกเป็นตัวขนาดใหญ่
- มีมดลูก
- มีรก เป็นกลุมเส้นเลือดที่ติดต่อระหว่างแม่กับลูก ลูกจะ
่
ได้รับอาหารและก๊าซและขับถ่ายของเสียผ่านทางรก
MENU

BACK

More Related Content

Similar to งานนำเสนอ1

ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 Thakhantha
 
ยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับwithawat na wanma
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)saruta38605
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย ผศ.ดร.ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย ผศ.ดร.ชลลดา พงศ์พัฒนโยธินการจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย ผศ.ดร.ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย ผศ.ดร.ชลลดา พงศ์พัฒนโยธินAssociation of Thai Information Science Education
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around usAlisaYamba
 

Similar to งานนำเสนอ1 (14)

ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
 
ยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับ
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย ผศ.ดร.ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย ผศ.ดร.ชลลดา พงศ์พัฒนโยธินการจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย ผศ.ดร.ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย ผศ.ดร.ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around us
 
Fertilization
FertilizationFertilization
Fertilization
 
Intro bio m5_61
Intro bio m5_61Intro bio m5_61
Intro bio m5_61
 

งานนำเสนอ1

  • 1. โครงงานสือการเรียนการสอนชีววิทยาชันมัธยมศึกษาตอนปลาย ่ ้ (Biology for high school) เรือง อาณาจักรสัตว์ ่ ชือผูจดทาโครงงาน ่ ้ั 1.นางสาวสุทธิภา คาใส เลขที่ 42 ชั้น ม.6 ห้อง 2 2.นางสาวทักษพร จันทาพูน เลขที่ 47 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชืออาจารย์ทปรึกษาโครงงาน ่ ี่ คุณครูเขือนทอง มูลวรรณ์ ่ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ้
  • 2. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศกาลังมีบทบาทอย่างกว้างขวางในด้านต่างๆ โดยเฉพาะ ด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การบริการสังคม สิ่งแวดล้อม ไปจนถึงด้านการศึกษา เหตุที่ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ Information Technology มีบทบาทมากมาย เช่นนี้ เพราะ เป็นเสมือนเครื่องจักรที่ขับดันให้ทุกสิ่งทุกอย่างที่มาเกี่ยวข้องด้วยการก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วใน ด้านการศึกษาบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ กับการศึกษาในลักษณะต่างๆ ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ระบบสื่อประสม ระบบ สารสนเทศ ระบบฐานข้อมูล ระบบปัญญาประดิษฐ์ และระบบ Internet เป็นต้น ในปัจจุบันจึงได้มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นการประยุกต์นาคอมพิวเตอร์มาช่วย ในการเรียนการสอน โดยมีการพัฒนาโปรแกรมขึ้นเพื่อนาเสนอเนื้อหาในรูปแบบต่างๆ เช่น การเสนอแบบติวเตอร์ (Tutorial) แบบจาลองสถานการณ์ (Simulations) หรือแบบการ แก้ไขปัญหา (Problem Solving) เป็นต้น BACK NEXT
  • 3. การเสนอเนื้อหาดังกล่าวเป็นการเสนอโดยตรงไปยังผู้เรียนผ่านทางจอภาพหรือแป้นพิมพ์ โดย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม วัสดุทางการสอนคือโปรแกรมหรือ Courseware ซึ่งปกติ จะถูกจัดเก็บไว้ในแผ่นดิสก์หรือหน่วยความจาของเครื่อง พร้อมที่จะเรียกใช้ได้ตลอดเวลา การ เรียนในลักษณะนี้ ในบางครั้งผู้เรียนจะต้องโต้ตอบ หรือตอบคาถามเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยการ พิมพ์ การตอบคาถามจะถูกประเมินโดยคอมพิวเตอร์ และจะเสนอแนะขั้นตอนหรือระดับในการ เรียนขั้นต่อๆ ไป กระบวนการเหล่านี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ให้ผู้เรียนมีอิสระและความคล่องตัว ในการเลือกเรียนในเรื่องที่ตนสนใจได้ทุกเวลาหรือ สถานที่ในการศึกษา สามารถแลกเปลี่ยน แนวคิดผู้เรียน หรือกับผู้สอน รวมทั้งยังช่วยแก้ปัญหาพื้นฐานความรู้ เพียงแค่ผู้เรียนมีเครื่อง คอมพิวเตอร์ ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้มีความคิด ที่จะพัฒนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาชีววิทยา เรื่อง อาณาจักรสัตว์ ทั้งนี้เพราะชีววิทยาเป็นวิชาพื้นฐานที่สาคัญเนื่องจากยังขาดสื่อการเรียนการ สอนที่ช่วยให้เข้าใจง่าย BACK NEXT
  • 4. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดทาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาชีววิทยา เรื่องอาณาจักรสัตว์ 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองเวลาใดก็ได้ตามต้องการ 3. เพื่อช่วยลดต้นทุนในด้านการจัดการเรียนการสอนได้ เพราะการเรียนด้วย CAI ไม่ต้องใช้ครูผู้สอน เมื่อสร้างบทเรียนแล้ว การทาซ้าเพื่อการเผยแพร่ใช้ต้นทุนต่ามาก และสามารถใช้กับผู้เรียนได้เป็นจานวนมาก เมื่อเทียบการสอนโดยใช้ครูผู้สอน 4. เพื่อเป็นมีแรงจูงใจให้ผู้เรียนสนใจเรียนเพิ่มขึ้น เนื่องจากบทเรียน CAI ใช้ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ในการนาเสนอบทเรียน เป็นสิ่งแปลกใหม่ มีการปฏิสัมพันธ์กับ บทเรียนตลอดเวลา ผู้เรียนไม่เบื่อหน่าย ทาให้ช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนด้วย 5. เพื่อให้ผลย้อนกลับ (Feedback) แก่ผู้เรียนได้ อย่างรวดเร็ว ผู้เรียนทราบความก้าวหน้าของตนเองได้ทันที BACK NEXT
  • 5. 6. บทเรียน CAI สะดวกต่อการติดตามประเมินผลการเรียน โดยมีการ ออกแบบสร้างโปรแกรมให้ส ามารถเก็ บข้อมู ล คะแนนหรือผลการเรียนของผู้ เรียนแต่ล ะคนไว้ สามารถนามาวิเคราะห์เพื่อประเมินผลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องเมื่อเปรียบเทียบกับครูผู้สอน 7. เพื่อจาทาเนื้อหาที่คงสภาพแน่นอน เนื่องจากเนื้อหาของบทเรียน CAI ได้ผ่าน การตรวจสอบให้มีเนื้อหาที่ครอบคลุม จัดลาดับความสัมพันธ์ของเนื้อหาอย่างถูกต้อง มีความคง สภาพเหมือนเดิมทุกครั้งที่เรียน ทาให้เชื่อมั่นได้ว่าผู้เรียนเมื่อได้เรียนบทเรียน CAI ทุกครั้งจะ ได้เรียนเนื้อหาที่คงสภาพเดิมไว้ทุกประการ ต่างจากการสอนด้วยครูผู้สอนที่มีโอกาสที่การสอนแต่ ละครั้งของครูผู้สอนในเนื้อหาเดียวกัน อาจมีลาดับเนื้อหาไม่เหมือนกันหรือข้ามเนื้อหาบางส่วนไป BACK NEXT
  • 6. ขอบเขตโครงงาน ส่วนของผู้ดูแลระบบ - สามารถแก้ไขเนื้อหาได้ - สามารถสร้างข้อสอบและอัพเดตข้อสอบใหม่ได้ตลอดเวลา - สามารถสร้างเพื่อเป็นแรงจูงใจให้คนเรียนได้ ส่วนของนักเรียน - สามารถเจรจาโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้เรียนพอใจมาก - สามารถควบคุมวิธีการเรียนของตัวเองได้ - สามารถกาหนดวิธีสอนให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียนได้ เพราะคาตอบที่ผู้เรียนใช้ อาจเป็นแนวให้กาหนดบทเรียนให้ไปช้า เร็ว หรือมีความแตกต่างอย่างนั้นอย่างนี้ได้ BACK NEXT
  • 7. หลักการและทฤษฎี 1. CAI ทาให้ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนสูงขึ้น แม้จะมีบางแห่งไม่แสดงความแตกต่างมากนัก เมื่อ เทียบกับการเรียนในห้องเรียน 2. CAI จะลดเวลาเรียนลง เมื่อเทียบกับการเรียนในห้องเรียน 3. ผู้เรียนจะสนใจการเรียนมากขึ้นเมื่อเรียนด้วย CAI 4. พัฒนาการของ CAI เท่าที่เป็นมา เป็นที่ยอมรับกันมากในวงการศึกษาและ วงการครู 5. ผู้เรียนที่ค่อนข้างช้า จะมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้นมากกว่าผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนปกติ แม้ว่าสิ่งที่คงเหลือ จากการเรียนรู้จะต่ากว่า เมื่อเทียบกับการเรียนจากห้องเรียนปกติ 6. ไม่ว่า CAI จะมีลักษณะใด (ทบทวน ฝึกหัด เกม สร้างสถานการณ์จาลอง) ความแตกต่าง ทางด้านผลสัมฤทธิ์มีไม่มากนัก ไม่ว่าผู้เรียนจะอยู่ในชั้นประถม มัธยม หรือผู้ใหญ่ที่มารับการ อบรม ผู้เรียนส่วนใหญ่ต้องการพบครูผู้สอนเป็นครั้งคราวหรือไม่ก็ต้องการให้ครูอยู่ในชั้นเรียนด้วย เพราะบางทีอยากอภิปรายในเรื่องบางเรื่องเป็นพิเศษ แต่ผลการวิจัยกลับพบว่า การมีครูเข้าไปยุ่ง ด้วยมากเท่าใด ยิ่งทาให้การเรียนช้าลง มหาวิทยาลัยบางแห่งจึงกาลังทาการวิจัยอยู่ว่า ครูควรเข้า ไปมีบทบาทร่วมด้วยมากน้อยเพียงใดจึงจะพอดี BACK NEXT
  • 8. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน การดาเนินงานจะเริ่มจากค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมที่ใช้ในการทา สื่อ ทั้งวิธีการติดตั้ง การใช้งาน และรูปแบบลักษณะของโปรแกรม รวมถึงรวบรวมเนื้อหาวิชา ฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อนามาจัดทาสื่อการเรียนการสอน เครืองมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ่ - เครื่องคอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊ค - หนังสือคู่มือแนะนาการใช้งานโปรแกรมที่นามาทาสื่อการเรียนการสอน เช่น โปรแกรม Power point, photo shop งบประมาณ 50 บาท BACK NEXT
  • 9. ขันตอนและแผนดาเนินงาน ้ ลาดับที่ ขั้นตอน 1 2 3 4 5 6 7 8 สัปดาห์ที่ (พฤศจิกายน 2556 – มกราคม 2557) ผูรับผิดชอบ ้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คิดหัวข้อโครงงาน ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล จัดทาโครงร่างงาน ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปรับปรุงทดสอบ การทาเอกสารรายงาน ประเมินผลงาน นาเสนอโครงงาน สุทธิภา ทักษพร ทักษพร สุทธิภา สุทธิภา ทักษพร BACK NEXT
  • 10. ผลทีคาดว่าจะได้รบ ่ ั 1. เป็นแหล่งให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่ผู้ที่สนใจ 2. ส่งเสริมการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน 3. ผู้ใช้โปรแกรมมีความรู้ ความเข้าใจเนื้อหาในบทเรียน สถานทีดาเนินการ ่ - ร้านคอมพิวเตอร์ - บ้าน/หอพักของผู้จัดทาโครงงาน กลุมสาระการเรียนรู้ที่เกียวข้อง ่ ่ - ชีววิทยา - ศิลปะ BACK NEXT
  • 12.
  • 13. กาเนิดของสัตว์ ลักษณะของสัตว์ เกณฑ์การจาแนกสัตว์ กลุมที่ไม่มีเนือเยือที่แท้จริง ่ ้ ่ กลุมที่มเี นือเยือทีแท้จริง ่ ้ ่ ่ - ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria) - ไฟลัมแพลทีเฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes) - ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca) - ไฟลัมแอนเนลิดา(Phylum Annelida) - ไฟลัมนีมาโทดา (Phylum Nematoda) - ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthorpada) • คลาสเมอโรสโตมาตา (Class Merostomata) • คลาสอะแรคนิดา (Class Arachnida) HOME • คลาสไดโพลโพดา (Class Diplopoda) NEXT
  • 14. • คลาสชิโลโพดา (Class Chilopoda) • คลาสอินเซ็คตา (Class Insecta) • คลาสครัสเทเชีย (Class Crustacea) - ไฟลัมแอไคโนเดอมาตา (Phylum Echinodermata) - ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata) • สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง - เซฟาโลคอร์เดต (Cephalochordate) - ยูโรคอร์เดต (Urochordate) • สัตว์มีกระดูกสันหลัง - Subphylum Vertebrata - Class Cyclostomata หรือ Agnatha - Class Chondrichthyes - Class Osteicthyes Class Amphibia Class Reptilia Class Aves Class Mammalia - Monotremes - Marsupials BACK
  • 15. กาเนิดของสัตว์ นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า สัตว์น่าจะมีวิวัฒนาการเกิดขึ้นใน ช่วงเวลาประมาณ 1,000 ถึง 580 ล้านปีที่ผ่านมา แต่พบหลักฐานจากซาก ดึกดาบรรพ์น้อยมาก อาจเป็นไปได้ว่าสัตว์ที่เกิดขึ้นในยุคแรกๆ น่าจะมี ร่างกายอ่อนนุ่ม ไม่มีโครงร่างแข็งจึงไม่ปรากฏร่องรอยในซากดึกดาบรรพ์ แต่จะพบซากดึกดาบรรพ์จานวนมากในช่วงเวลาประมาณ 540 ล้านปี ระหว่างปลายมหายุคพรีแคมแบรียนและตอนต้นของยุคแคมเบรียน MENU NEXT
  • 16. ลักษณะของสัตว์ สั ต ว์ เ ป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต กลุ่ ม ยู ค าริ โ อตที่ มี ห ลายเซลล์ ไม่ มี ผ นั ง เซลล์ เซลล์จัดเรียงตัวกันเป็นเนื้อเยื่อ เป็นพวกเฮเทอโรโทรป (heterotroph) ที่ ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ต้องอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น MENU BACK NEXT
  • 18. เกณฑ์การจาแนกสัตว์ โดยพิจารณาลักษณะต่างๆ ของสัตว์ 1. เนื้อเยื่อ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง ได้แก่ ฟองน้า และกลุ่มที่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง ซึ่งเป็นลักษณะของสัตว์ส่วนใหญ่ 2. ลักษณะสมมาตร (symmetry) แบ่งออกเป็นสมมาตรตามรัศมี (radial symmetry) ส่วนใหญ่จะ ดารงชีวิติแบบอยู่กับที่ เช่น ปะการัง และสมมาตรด้านข้าง (bilateral symmetry) ส่วนหัวเป็นส่วนรวมของ เนื้อเยื่อประสาท MENU BACK NEXT
  • 19. 3. การเปลี่ยนแปลงของบลาสโทพอร์ พบเฉพาะสัตว์ที่มีสมมาตรด้านข้าง มี 2 แบบ คือ แบบโพรโทสโทเมีย (protostomia) คือพวกที่มี บลาสโทพอร์เปลี่ยนเป็นช่องปาก และแบบดิวเทอโรสโทเมีย คือพวกที่ มีบลาสโทพอร์เปลี่ยนเป็นทวารหนัก MENU BACK NEXT
  • 20. 4. การเจริญตัวในระยะตัวอ่อน พบในกลุ่ม สั ต ว์ ที่มี ช่ องปากแบบโพรโทสโทเมี ย ซึ่ ง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีระยะตัว อ่ อ นแบบโทรโคฟอร์ (trochophore) พบในสัตว์พวกหนอนตัวแบน ไส้เดือนดิน ปลิง หอยและหมึก เป็นต้น และเอ็กไดโซ ซัว (ecdysozoa) เป็นกลุ่มที่มีการลอก คราบขณะเจริ ญ เติ บ โต พบในหนอนตั ว กลมและอาร์โทพอด MENU BACK NEXT
  • 21. กลุมที่ไม่มเี นือเยือที่แท้จริง ่ ้ ่ ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera) สัตว์ในไฟลัมนี้ได้แก่ สัตว์จาพวกฟองน้า (Sponge) มี ลั ก ษณะส าคั ญ คื อ ร่ า งกายสามารถแบ่ ง ได้ แ บบ Radial symmetry มีลาตัวพรุน ประกอบด้วยกลุ่ม เซลล์หลายชนิด โดยแบ่งกันทาหน้าที่โดยเฉพาะ ไม่มี การประสานงานกั น ระหว่ า งเซลล์ ล าตั ว มี ช่ อ งเล็ ก ๆ รอบตัวเรียก (Ostia) เพื่อให้น้าหรืออาหารไหลเข้าไป ในลาตัวได้ และตอนบนมีช่องเปิดให้น้าออก (Ostia) MENU BACK NEXT
  • 22. ผนังลาตั วประกอบด้ วยเซลล์ร วมกันเป็นสองชั้ น เซลล์ข้างในมี แ ฟลก เจลลัม (Flagellum) ทาหน้าที่พัดน้า และมีเซลล์พิเศษที่ทาหน้าที่ดูดอาหารเข้า ไปและย่อยอาหารคือ Choanocyte (Collar cell) ตรงกลางมีของเหลวคล้าย วุ้นเรียก Amebocyte ฟองน้าเป็นสัตว์ที่ไม่เคลื่อนที่ (Sessile Animal) จะ เกาะติดกับโขดหินหรือของแข็งใต้น้า บางชนิดมีโครงร่างแข็งเรียก spicule บางชนิด อ่อนนุ่มเรียก spongin MENU BACK NEXT
  • 23. กลุมที่มีเนือเยือที่แท้จริง ่ ้ ่ ก. กลุ่มที่มีสามมาตรตามรัศมี ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria) มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น มี รูปร่าง 2 แบบ คือ แบบโพลิบ (polyp) คล้ายทรงกระบอก และแบบเมดู ซ่า (medusa) คล้ายร่มหรือระฆัง ลักษณะที่สาคัญคือ ที่แทนทาเคิลมี เซลล์พิเศษ (cnidocyte) ภายในมีเข็มพิษ (nematocyst) สาหรับ ป้องกันตัวหรือล่าเหยื่อ ตัวอย่างสัตว์ในไฟลัมนี้ เช่น ปะการัง กัลปังหา แมงกะพรุน ไฮดรา MENU BACK NEXT
  • 24. ข. กลุ่มที่มีสามมาตรด้านข้าง • กลุ่มโพรโทสโทเมีย กลุ่มโพรโทสโทเมียและมีตัวอ่อนแบบโทรโคฟอร์ ไฟลัมแพลทีเฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes) สัตว์ไฟลัม นี้มีลาตัวแบนบางจึงเรียกว่า หนอนตัวแบน มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น มีทางเดินอาหาร ไม่สมบูรณ์และไม่มีโพรงลาตัว เช่น พลานาเรีย พยาธิตัวตืด MENU BACK NEXT
  • 25. ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca) สัตว์ไฟลัมนี้เป็นสัตว์ที่มี ลาตัวนิ่มแต่สามารถสร้างเปลือกแข็งที่มีสารประกอบแคลเซียมคาร์บอนเนต หุ้มลาตัว มีแมนเทิล (mantle) ทาหน้าที่สร้างเปลือกหุ้มลาตัว มีการ ไหลเวียนของน้าเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้เหงือก มีทวารหนักและรูขับถ่าย ได้แก่ หอยทาก ทากเปลือย หอยนางรม หอยกาบ หอยงาช้าง หมึกยักษ์ หมึกกระดองและหมึกกล้วย MENU BACK NEXT
  • 27. ไฟลัมแอนเนลิดา(Phylum Annelida) สัตว์ในไฟลัมนี้ส่วนใหญ่ ลาตัวกลมยาวคล้ายวงแหวนต่อกัน เป็นปล้อทั้งอวัยวะภายในและภายนอกมี การจัดเป็นชุดซ้าๆ กันในแต่ละปล้องไป ตลอดตัว มีเยื่อกั้นระหว่างปล้อง ผิวหนังปกคลุมด้วยเยื่อ คิวทิเคิล (cuticle)บางๆ มีต่อมสร้าง เมือกทาให้ ลาตัวชุ่มชื้นอยู่เสมอ ผิวหนังเป็นที่แลกเปลี่ยนแก๊ส มีระบบเลือดสาหรับ ลาเลีย งสารในร่างกายและมีเส้นใยประสาทอยู่ด้านท้อ ง เช่น แม่เพรีย ง ไส้เดือนดิน ปลิงน้าจืด ทากดูดเลือด เป็นต้น MENU BACK NEXT
  • 29. กลุ่มโพรโทสโทเมียและตัวอ่อนมีการลอกคราบ ไฟลัมนีมาโทดา (Phylum Nematoda) มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica animal) ลาตัวกลม ยาวเรียวหัว-ท้าย ไม่มีข้อปล้อง (non metameric) ไม่มีรยางค์ ผิวลาตัวปกคลุมด้วยสารคิวติน (Cuticle) เพื่อ ป้องกันน้าย่อยจาก Host มีสมมาตรแบบ Bilateral symmetry มีช่องว่าง ในลาตัวแบบไม่แท้จริง (Psudocoelom) ยังไม่มีระบบเลือด ไม่มีระบบหายใจ พวกที่เป็นปรสิตจะหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน เช่น พยาธิไส้เดือน พยาธิ ปากขอ พยาธิเส้นด้าย ไส้เดือนฝอย เป็นต้น MENU BACK NEXT
  • 31. ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthorpada) - มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica animal) - มีสมมาตรแบบ Bilateral symmetry - มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ (Complete digestive tract) - มีช่องว่างในลาตัวแบบแท้จริง (True coelom) - ลาตัวแบ่งเป็นส่วนๆ ชัดเจน คือ หัว (Head), อก (Thorax) และท้อง (Abdomen) หรือหัวเชือมกับอก (Cephalothorax) เช่น กุง ่ ้ - อกเชื่อมกับท้อง มีรยางค์หรือขาต่อกันเป็นข้อ ๆ (Jointed-leg animal) - ร่างกายมีเปลือกแข็งหุ้มภายนอก (Exoskeleton) - เป็นสารจาพวกไคติน (Chitin) MENU BACK NEXT
  • 32. ไฟลัมอาร์โทรโพดา แบ่งเป็นคลาสดังนี้ • คลาสเมอโรสโตมาตา (Class Merostomata) มีส่วนของหัวเชื่อมกับ ส่วนอก มีขา 5 คู่ ไม่มีหนวด ได้แก่ แมงดาทะเล แมงดาถ้วย แมงดาจาน MENU BACK NEXT
  • 33. • คลาสอะแรคนิดา (Class Arachnida) ส่วนมากจะอยู่บนบก สัตว์ใน คลาสนี้ไม่มีหนวด มีขา 4 คู่ ส่วนของหัวเชื่อมกับส่วนอก ได้แก่ แมงมุม แมงป่อง บึ้ง เห็บ MENU BACK NEXT
  • 34. • คลาสไดโพลโพดา (Class Diplopoda) มีขาจานวนมาก ลาตัวค่อนข้าง กลม ยาว ประกอบด้วยส่วนหัว และส่วนอกสั้นๆ ไม่มีต่อมพิษ มีหนวด 1 คู่ มีขาปล้องละ 2คู่ มีตาเดี่ยว ได้แก่ กิ้งกือ กระสุนพระอินทร์ MENU BACK NEXT
  • 35. • คลาสชิโลโพดา (Class Chilopoda) สัตว์ในคลาสนี้เรียกว่า เซนติบิด มีขาจานวนมาก ปล้องละ 1 คู่ ลาตัวประกอบด้วยส่วนหัวและลาตัวยาวของ อกติดกับท้องที่หัวมีรยางค์ที่มีพิษอยู่ 1 คู่ มีหนวด 1 คู่ มีตาเดี่ยว เรียกว่า โอเซลลัส (Ocelles) หายใจทางท่อลม ได้แก่ ตะขาบ MENU BACK NEXT
  • 36. • คลาสอินเซ็คตา (Class Insecta) เป็นคลาสที่มีจานวนชนิดมากที่สุด ประมาณ 1 ล้าน 5 แสนชนิด ได้แก่พวกแมลงต่างๆ MENU BACK NEXT
  • 37. แมลงมีลาตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง มี หนวด 1 คู่ มีขา 3 คู่ อยู่บริเวณส่วนอก บางชนิดอาจมีปีก 1-2 คู่ MENU BACK NEXT
  • 38. • คลาสครัสเทเชีย (Class Crustacea) ส่วนมากจะอยู่ในน้า มีหนวด 2คู่ มีขา 5คู่ ส่วนของหัวเชื่อมกับส่วนอก เช่น กุ้ง ปู กั้ง ไรน้า ไรน้า MENU BACK NEXT
  • 39. 2.ดิวเทอโรสโทเมีย ประกอบด้วย ไฟลัมเอไคโดเดมาตา สัตว์พวกเอไคโนเดิร์ม ( echinoderm ) - ได้เเก่ ดาวทะเล เม่นทะเล ( หอยเม่น ) ปลิงทะเล อีเเปะทะเล พลับพลึงทะเล - ทั้งหมดเป็นสัตว์ทะเล อาศัยอยู่พื้นทะเลลึก - ปลิงทะเลไข่เม่นทะเลใช้เป็นอาหารได้ - ดาวมงกุฎหนาม เป็นโทษ ทาลายปะการังเเละหอย MENU BACK NEXT
  • 40. ลักษณะร่างกายทัวไป ่ - สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นแบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยมีเมแทมอร์โฟซิสกลายเป็น สมมาตรแบบรัศมี - ลาตัวแบ่งเป็น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยื่นออกมาจากแผ่นกลมที่เป็นศูนย์กลาง มีโครงร่างแข็งภายใน มีแผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้วยกล้ามเนื้อหรือผิวหนังทีปกคลุม ่ อยู่บางชนิด เช่น เม่นทะเลมีโครงร่างเป็นหนามแหลมยื่นออกมา มีผิวหนังหยาบและ ขรุขระ MENU BACK NEXT
  • 41. ระบบทางเดินอาหาร - เป็นเเบบสมบูรณ์ - มีปากอยู่ด้านล่างของเเผ่นกลมตรงกลาง ทวารหนักอยู่ด้านบน - ไม่มีระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด เป็นเเบบวงจรปิด ลาเลียงสารไปกับเลือดที่ไหลเวียนในซีลอมหายใจด้วยเหงือก (dermal skin) ลักษณะคล้ายนิ้วมือเล็กๆ ยื่นออกมาจากผิวหนังทั่วไป ระบบประสาท - มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน - ไม่มีสมอง ซึ่งเป็นศูนย์ประสานงาน การเคลือนไหว ่ - ใช้ระบบท่อน้า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย - เเรงดันน้า ทาให้ท่อขา ( tube feet ) ซึ่งยื่นออกมาจากด้านล่างของเเขนดาวทะเลยืดเเละหดได้ ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวเเละจับอาหาร MENU BACK NEXT
  • 42. การสืบพันธุ์ - แบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก - แบบไม่อาศัยเพศบางชนิด เช่น การขาดของแขนใดแขนหนึ่ง ส่วนที่ขาดก็จะเจริญไป เป็นตัวเต็มอีกทีหนึ่ง เอไคโนเดิรม เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีความสัมพันธ์กับสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง ์ มากกว่าสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่นๆ เพราะมี แบแผนการดารงชีวิตคล้ายคลึงกัน MENU BACK NEXT
  • 43. ไฟลัมคอร์ดาตา ลักษณะเฉพาะของพวกคอร์เดต - มีโนโตคอร์ด ( notocord ) เป็นเเกนพยุงร่างกายซึ่งมีอยู่ตลอดชีวิตหรือระยะตัวอ่อนก็ได้ - มีเส้นประสาทใหญ่เป็นหลอดยาวกลวงอยู่ด้านหลังของลาตัว ( dosal hollow nerve cord ) ซึ่ง ในสัตว์มีกระดูกสันหลังเรียกว่า ไขสันหลัง ( spinal cord ) - มีช่อเหงือกที่คอหอย ( pharynx with gill slit ) ช่องเหงือกในปลาเปลี่ยนเเปลงเป็นช่องเปิด สาหรับเหงือก เเละในคนพบเฉพาะระยะเอมบริโอ - มีหาง ( tail ) เป็นท่อนกล้ามเนื้อรอบกระดูกเเกนอยู่เหนือทวารหนัก MENU BACK NEXT
  • 44. คอร์เดตเเบ่งย่อยได้เป็น 2 กลุ่ม - พวกโพรโทคอร์เดต ( protochordate ) มี 2 ซับไฟลัม ซับ ไฟลัมเซฟาโลคอร์ดาตาเเละซับไฟลัมยูโรคอร์ดาตา - พวกสัตว์มีกระดูกสันหลัง คือ ซับไฟลัมเวอร์ทีบราตา MENU BACK NEXT
  • 45. ซับไฟลัมเซฟาโลคอร์ดาตา ( Cephalochordata ) - ได้เเก่เเอมฟิออกซัส ( amphioxus ) หรือ Branchiostoma เป็นสัตว์ทะเล เล็กๆรูปร่างเหมือนเเผ่นใบไม่ยาวๆ - มีโนโตคอร์ดตลอดชีวิต เเละตลอดความยาวของลาตัว - มีเส้นประสาทใหญ่กลวงอยู่ด้านหลังของลาตัว - มีช่องเหงือก เเละมีหาง MENU BACK NEXT
  • 46. ซับไฟลัมยูโรคอร์ดาตา ( Urochordata ) - ได้เเก่ เพรียงลอย เพรียงหัวหอม ( พวก tunicate ) - มีโนโตคอร์ดค่อนมาทางหาง เมื่อโตเต็มวัยหางเเละโนโตคอร์ดจะหลุดหายไป - มีเส้นประสาทใหญ่กลวงอยู่ด้านหลังของลาตัว ซึ่งบางส่วนจะหลุดไปพร้อมหาง - มีช่องเหงือก MENU BACK NEXT
  • 47. ซับไฟลัมเวอร์ทบราตา ( Vertebrata ) ี - พวกสัตว์มีกระดูกสันหลัง - มีโนโตคอร์ดเฉพาะระยะเอมบริโอ เมื่อเจริญเติบโตขึ้น มีกระดูกสันหลังเป็นชิ้นๆต่อ กันมาแทนที่ - มีเส้นประสาทไขสันหลัง ถูกโอบล้อมไว้ในกระดูกสันหลัง - ปลายด้านบนของไขสันหลัง เป็นสมองอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ - มีอวัยวะรับความรู้สึกหลายชนิดเป็นคู่ๆอยู่บริเวณหัว ( ตา หู จมูก ) - ส่วนใหญ่มีหางหรือร่องรอยแสดงว่าเป็นหาง MENU BACK NEXT
  • 48. สัตว์มีกระดูกสันหลัง แบ่งย่อยออกเป็น 7 คลาส ได้แก่ - พวกปลา 3 คลาส - สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอย่างละ 1 คลาส สัตว์มีกระดูกสันหลัง (ซับไฟลัมเวอร์ทบราตา) แบ่งเป็น 7 คลาส ี 1. คลาสไซโคลสโตมาตา (Cyclostomata หรือ Agnatha ) ได้เเก่ ปลาปากกลม - กระดูกอ่อน - ไม่มีขากรรไกร - ไม่มีเกล็ด - มีเเต่ครีบเดี่ยว ไม่มีครีบคู่ - หางเเบน - มีช่องเหงือก / คู่ -เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังเพียงชนิดเดียวที่ระยะ ตัวเต็มวัยยังคงมีโนโตคอร์ด MENU BACK NEXT
  • 49. 2. คลาสคอนดริคไทอิส ( Condrichthyes ) ได้เเก่ ปลากระดูกอ่อนต่างๆ เช่น ปลาฉลาม ปลากระเบน ปลากระต่าย ปลาฉนาก - กระดูกอ่อน - มีช่องเหงือกเห็นชัด - ไม่มีกระเพาะลม - มีทั้งครีบเดี่ยวเเละครีบคู่ ( ครีบอกเเละครีบตะโพก ) - ผิวหนังคล้ายกระดาษทราย - มีการปฏิสนธิภายในร่างกายเเละออกลูกเป็นตัว MENU BACK NEXT
  • 50. 3. คลาสออสติอิคไทอิส (Osteicthyes ) ได้เเก่ ปลากระดูกแข็งต่างๆ รวมทั้งปลามี ปอด ปลาตีน ปลานกกระจอก และม้าน้า - กระดูกแข็ง - มีแผ่นแข็งปิดเหงือก (operculum) ทาให้มองไม่เห็นช่องเหงือก - มีครีบคู่ 2 คู่ (ครีบอกและครีบตะโพก) - มีกระเพาะลมช่วยการลอยตัว - ปฏิสนธิภายนอกร่างกายเเละออกลูกเป็นไข่ MENU BACK NEXT
  • 51. 4. คลาสเเอมฟิเบีย ( Amphibia ) ได้เเก่ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าต่างๆเช่น กบ คางคก เขียด งูดิน กะท่าง ซาลามานเดอร์ ( จิ้งจกน้า ) - วางไข่ในน้า ไข่มีวุ้นหุ้ม - ปฏิสนธินอกร่างกาย - ตัวอ่อนดารวชีวิตในน้า เเละหายใจทางเหงือก - มีเมเเทมอโฟซิสเป็นตัวเต็มวัยที่ดารงชีวิต บนบกหายใจด้วยปอดเเละผิวหนังที่เปียกชื้น - เป็นสัตว์เลือดเย็น - มี 4 ขา หัวใจ 3 ห้อง เส้นประสาทสมอง 10 คู่ - มีกล่องเสียง MENU BACK NEXT
  • 52. 5. คลาสเรปทีเลีย ( Reptilia )ได้เเก่ สัตว์เลื้อยคลานต่างๆ เช่น เต่า งู จระเข้ - ปฏิสนธิภายในร่างกาย - วางไข่บนบก ไข่ขนาดใหญ่ มีเปลือกแข็งเหนียวหุ้ม - ผิวหนังแห้งมีเกล็ดปกคลุม - หายใจทางปอดหัวใจ 3 ห้อง ( ยกเว้นจระเข้มี 4 ห้อง ) - มีขา 2 คู่ - มีเส้นประสาทสมอง 12 คู่ - เป็นสัตว์พวกแรกที่มีถุงน้าคร่า MENU BACK NEXT
  • 53. 6. คลาสเอวีส ( Aves ) ได้เเก่ พวกนกต่างๆ รวมทั้งเป็ด ไก่ ห่าน หงส์ นกที่ใกล้สูญพันธุ์ นกเเต้วเเร้วท้องดา เเร้ง นกเงือก นกทีสูญพันธุ์ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร ่ - ปฏิสนธิภายในร่างกาย - เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังพวกเเรกที่เป็นสัตว์เลือดอุ่น - มีขนลักษณะเป็นเเผง ( feather ) - ขา 1 คู่ ปีก 1 คู่ ( เปลี่ยนเเปลงมาจากขาหน้า ) - หายใจด้วยปอดมีถุงลมหลายถุงติดต่อ กับปอดทาหน้าที่เก็บอากาศหายใจ เเละระบายความร้อน - กระดูกกลวง - ออกลูกเป็นไข่ที่มีเปลือกหุ้ม ไข่เเดงมีปริมาณมาก - หัวใจ 4 ห้อง มีเส้นประสาทสมอง 12 คู่ MENU BACK NEXT
  • 54. 7. คลาสเเมมมาเลีย ( Mammalia ) ได้เเก่สัตว์เลี้ยวลูกด้วยนมซึ่งเเบ่งเป็น 3 พวกคือ - เป็นสัตว์เลือดอุ่น - ตัวเมียมีต่อมน้านม ผลิตน้านมสาหรับเลี้ยงลูกอ่อน - มีขนเป็นเส้นๆ ( hair ) - เม็ดเลือดเเดงไม่มนิวเครียส ี - มีต่อมเหงือก - มีกล่องเสียงเเละสายเสียง - หัวใจ 4 ห้อง - หายใจด้วยปอดมีกระบังลม ( diphragm ) - สมองขนาดใหญ่มีเส้นประสาท สมอง 12 คู่ MENU BACK NEXT
  • 55. พวกที่ออกลูกเป็นไข่ ( montremes ) ได้เเก่ตุ่นปากเป็ดเเละตัวกินมดคล้ายเม่น - ออกลูกเป็นไข่ - ไม่มีมดลูก ไม่มีรก MENU BACK NEXT
  • 56. พวกมีถุงหน้าท้อง ( marsupials ) ได้เเก่ จิงโจ้ หมี โคอะลา โอปอสซัม ฯลฯ - ออกลูกเป็นตัวขนาดเล็ก ลูกอ่อนอาศัยอยู่ในถุงหน้าท้อง - มีมดลูก - ไม่มีรก - พวกที่มีรก ได้แเก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม - ออกลูกเป็นตัวขนาดใหญ่ - มีมดลูก - มีรก เป็นกลุมเส้นเลือดที่ติดต่อระหว่างแม่กับลูก ลูกจะ ่ ได้รับอาหารและก๊าซและขับถ่ายของเสียผ่านทางรก MENU BACK