SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
บทที่ 6
การเลือกอุปกรณสําหรับประกอบเครื่องคอมพิวเตอร
หัวขอการสอน
1. การดูสเปคเครื่องจากใบเสนอสินคา
2. การเลือกซีพียู
3. การเลือกเมนบอรด
4. การเลือกแรม
5. การเลือกฮารดดิสก
6. การเลือกการดแสดงผล
7. การเลือกจอแสดงผล
8. การเลือกการดเสียง
9. การเลือกไดรฟซีดี / ดีวีดี
10. การเลือกโมเด็ม
11. การเลือกเครื่องพิมพ
12. การเลือกเคส
13. การเลือกเพาเวอรซัพพลาย
วัตถุประสงค
1. สามารถอานสเปคเครื่องคอมพิวเตอรจากใบโบชัวรสินคาได
2 สามารถพิจารณาเลือกชิปซีพียูมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม
3. สามารถพิจารณาเลือกเมนบอรดมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม
4. สามารถพิจารณาเลือกแรม และฮารดดิสกมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไดอยาง
เหมาะสม
5. สามารถพิจารณาเลือกการดแสดงผล และจอภาพมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรได
อยางเหมาะสม
6. สามารถพิจารณาเลือกการดเสียงมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม
7. สามารถพิจารณาเลือกไดรฟซีดี / ดีวีดีมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไดอยาง
เหมาะสม
8. สามารถพิจารณาเลือกโมเด็มเครื่องพิมพ และอุปกรณอื่น ๆ มาใชสําหรับการประกอบเครื่อง
คอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม
2
2
สาระสําคัญ
ในบทนี้ขอแนะนําหลักการที่สําคัญสําหรับการซื้ออุปกรณคอมพิวเตอรแตละชิ้นเพื่อนํามาประกอบ
เครื่อง โดยเลือกสเปคตามระดับการใชงาน พรอมแนะนํารุนที่เหมาะสมเพื่อใหสามารถใชเปนแนวทางในการ
เลือกอุปกรณแตละชิ้น
1. การดูสเปคเครื่องจากใบเสนอสินคา
การดูสเปคเครื่อง จากใบโบชัวรรานคา วามีสิ่งใดบางที่ควรพิจารณาในการเลือกซื้อกอนที่จะเขาดู
รายละเอียดของอุปกรณฮารดแวรแตละชิ้นตอไป
ตารางตอไปนี้จะแสดงรายละเอียดสเปคเครื่องจากโบรชัวสินคา
สเปคเครื่อง คําอธิบาย
Intel Core 2 Duo Processor E6550
(2.33 GHz / 2 MB L2 Cache / 1333
MHz FSB / EM64T)
2 GB DDR 2 Up to 4 GB
320 GB SATA 7200 RPM HDD
DVD / RW 16x SuperMultiFunction
Nvidia Geforoe 8400 GS Up to 512
MB TV-Out + DVI Port
Intel G31 Express Chip Set
9-IN-1 Media Card Reader
Integrated Intel Graphic Media
Accelerator (GMA) 3100 With
Dynamic Video Memory
Technology (DVMT) 4.0
Embeded high-definaion audio with
7.1 channel audio suppert
ซีพียู อินเทลรุน Core 2 Duo
ความเร็ว 2.33 GHz มี L2 cache 2 MB Font side bus
เทากับ 1333 MHz รองรับการทํางาน 64 บิต (EM 64T)
หนวยความจํา RAM ชนิด DDR2 – SDRAM ความจุ 2
GB สามารถขยายเพิ่มเติมไดถึง 4 GB
ฮารดดิสก ชนิด S-ATA ความจุ 320 GB ความเร็วรอบ
7200 rpm
ดีวีดีไดรฟแบบ DVD / RW ความเร็ว 16x
การดจอภาพของ nVidia มีชองตอ TV และ DVI
Chipset ของ Intel G31
ชองอานการดทั้งหมด 9 ชนิด
มี Chip การฟก GMA 3100
มี Chip เสียง แบบ high – definition รองรับ 7.1 channel
3
สเปคเครื่อง คําอธิบาย
IEEE 1394 port , Gigabyte Ethernet
Internal 56 K Fax / modem
LCD 19 ” wide screen monitor
Warranty 3 year Parts & Labor
มีพอรต IEEE 1394 และ พอรตเครือขายรองรับความเร็ว
1 Gbps
โมเด็มแบบภายใน 56 Kbps
จอภาพ LCD แบบ wide screen ขนาด 19 ”
รับประกัน 3 ป อะไหลและคาแรง
ใบเสนอราคาเครื่องคอมพิวเตอรมักจะเปนภาษาอังกฤษทั้งหมด วิธีการอานสเปคเครื่องก็คือ การหาชื่อ
อุปกรณ ซึ่งชื่ออุปกรณจะใชคําหลัก ๆ เหลานี้เสมอ เชนCPU , Processor , RAM , Hard disk , Monitor เปนตน
สวนรายละเอียดอื่น ๆ ที่มีเพิ่มเติม(ถาเปนตัวอักษร)ก็จะเปนชื่อยี่หอของอุปกรณนั้น (ถาเปนตัวเลข) ก็จะเปน
ความเร็ว ความจุ และขนาดของอุปกรณนั้น
2. การเลือกซีพียู
อันดับแรกที่ควรใหความสําคัญในการเลือกซื้อคอมพิวเตอรไมวานํามาประกอบเองหรือซื้อเครื่อง
คอมพิวเตอรเปนเซตก็ตาม คือการเลือกซีพียูนั่นเอง ไมวาจะเปนรุนและความเร็วของซีพียูตามระดับการใชงาน
เพื่อจะไดทราบรูปแบบอินเทอรเฟส (Socket) สําหรับติดตั้งบนเมนบอรด เพื่อเลือกซื้อเมนบอรดที่ตรงรุนของ
ซีพียูตอไป
2.1 เลือกความเร็วของซีพียู
ความเร็วของซีพียูในปจจุบันถูกพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ชิปซีพียูของ Intel Core 2 Duo ความเร็วสูง
ถึง 2.4 GHz หลายคนคงถามวาจะเลือกซีพียูรุนที่ความเร็วเทาไรดี? คําตอบคือ เลือกรุนที่ตรงกับประสิทธิภาพ
ของงาน และเร็วที่สุดเทาที่สามารถซื้อได โดยแบงออกตามความเหมาะสมตามลักษณะของงานที่ทําไดดังนี้
4
ลักษณะของงานที่ตองการ ความเร็วซีพียู
งานพิมพเอกสาร ดูหนัง ฟงเพลง และเลน
อินเทอรเน็ต
งานกราฟก ตกแตงภาพความละเอียดสูง
งานสรางมัลติมีเดีย ตัดตอเสียง และวีดีโอ
ใชความเร็ว 1.66 GHz
ใชความเร็ว 1.8 - 2.0 GHz
ใชความเร็ว 2.0 GHz ขึ้นไป
2.2 เลือกยี่หอของซีพียู
หากถามวาจะเลือกซื้อซีพียูคายไหนดี เทาที่นิยมกันสวนใหญในปจจุบันก็มี Intel และ AMD
เทานั้น (นอกจากนี้ยังมี VIA ซึ่งออกมาสําหรับตลาดระดับลาง)
(1) ซีพียูจากคาย intel
ซีพียูจาก Intel ผลิตทั้งรุนออกมาสําหรับตลาดระดับลางอยาง Celeron
และรุน Pentuim Duo Core และ Core 2 Duo สําหรับตลาดระดับบนที่ตองการ
ประสิทธิภาพในการทํางานสูง โดยมากแลวชิปซีพียูจากคาย Intel จะไดรับความ
นิยมสูงกวาคายอื่น ๆ เพราะมีเสถียรภาพสูงกวา และรอนนอยกวาเมื่อเทียบกับ
AMD
ปจจุบัน Intel ผลิตชิปซีพียู Pentium Duo Core และ ชิปซีพียู Core 2 Duo สําหรับตลาด
ระดับบน และ Celeron D สําหรับตลาดระดับลาง โดยจุดเดนของ Intel อยูที่เทคโนโลยี Hyper Treading ที่
ชวยใหระบบการทํางานเสมือนมีซีพียูถึง 2 ตัว และความเร็วบัสที่สูงถึง 800 MHz
เรื่องความเร็วในการทํางานของซีพียูจากคาย Intel ถือวาเหนือกวาคาย AMD อยูพอสมควร ซึ่ง
ปจจุบันซีพียู Core 2 Duo ความเร็วสูงสุดถึง 2.4 GHz แลว สวนตลาดระดับลางที่เลือกใชซีพียู Celeron D
ความเร็วที่มีการเปดตัวก็ถือวาอยูในระดับสูงเชนกัน คือ 1.8 GHz
(2) ซีพียูจากคาย AMD
AMD ถือเปนคูแขงตลอดกาลของ Intel โดยมีชิปซีพียุรุน Sempron
สําหรับตลาดราคาประหยัด และ Athlon 64 และ Athlon 64 Fx สําหรับตลาดบน
โดยรวมแลวชิปซีพียู AMD มีราคาต่ํากวาพอสมควร เปนทางเลือกของผูที่ตองการ
ประหยัดคาใชจาย และในดานประสิทธิภาพก็ถือวาไมดอยกวากัน
จุดพลิกผันของ AMD อยูที่การเปดตัวชิปซีพียูที่ทํางานแบบ 64 บิต
(เครื่องคอมพิวเตอรทั่วไปจะทํางานอยูที่ 32 บิต) ซึ่งถือเปนชวงเวลาแหงการปฏิวัติการทํางานของซีพียูไปอีก
กาวหนึ่ง โดยใชชื่อวา Athlon 64 นั้นถูกผลิตขึ้นมาเพื่อใชกับเครื่องเดสกท็อปโดยเฉพาะ ซึ่งแมวาแอพพลิเคชั่น
5
สวนใหญยังคงทํางานแบบ 32 บิต แตในอนาคตคงไดเห็นโปรแกรมตาง ๆ ที่ทํางานในระบบ 64 บิตมากขึ้น เพื่อ
รองรับซีพียูในระดับนี้
AMD เปดตัว Athlon 64 ในการเปนชิปซีพียูที่ทํางานในแบบ 64 บิต พรอมกับ Athlon 64 FX ที่
มุงเนนไปที่ตลาดระดับสูงและAMD Sempron ซึ่งเนนตลาดระดับลาง โดยไมไดมีความสามารถการทํางานแบบ
64 บิตแบบ Athlon 64
AMD เปดตัว AMD Sempron ที่จะมาแทนที่ชิปซีพียูตลาดระดับลางอยาง AMD Duron ซึ่งเคยเปน
ทางเลือกของผูที่เลือกใชคอมพิวเตอรราคาประหยัด โดยเปดตัวตั้งแตที่ความเร็ว 1.5 GHz ไปจนถึง 2.0 GHz
สวนชิปซีพียูในระดับ 64 บิตที่ทํางานไดทั้งบนแอพพิเคชั่น 32 บิต 64 บิตอยาง Athlon 64 และ Athlon 64 FX
ปจจุบัน AMD ยังมีการเปดตัวที่จะกาวไปสูยุคที่ใชเทคโนโลยีการผลิตในระดับ 0.09 นาโนเมตร ที่มีแนวโนมจะ
พัฒนาความเร็วของซีพียูใหสูงขึ้นไปไดอีก ซึ่งถือเปนการแขงขันครั้งสําคัญของ AMD ตอ Intel เลยทีเดียว
2.3 เลือกฮีตซิงกระบายความรอนซีพียู
จุดสําคัญของการระบายความรอนออกจากซีพียู ก็คือ ทําอยางไร
ใหไลความรอนออกจากซีพียูจนเหลือความรอนไมมากพอที่จะทําอันตรายแก
ตัวซีพียูเอง ฮีตชิงคก็คืออุปกรณที่เปนตัวระบายความรอนออกจากตัวซีพียู
โดยตรง การเลือกฮิตชิงคเพื่อใชรวมกับซีพียู ควรดูคุณสมบัติตางๆ ดังนี้
(1) วัสดุที่ใชผลิตฮีตซิงค
โลหะที่ถูกนํามาใชทําฮีตซิงคในปจจุบันจะแตกตางกันไป โดยชนิดของโลหะที่นํามาทําฮีต
ซิงคจะมีผลตอการนําความรอน เงินจะนําความรอนไดดีที่สุด รองลงมาคือทองแดง และอลูมิเนียม นอกจากนี้ยัง
ตองดูขนาดพัดลมที่ใชคูกับฮีตซิงคดวย
สําหรับเรื่องราคา ฮีตซิงคที่ทําจากอลูมิเนียมจะมีราคาต่ําที่สุด ดังนั้นฮีตซิคจึงทําดวยอลูมิเนียม
เปนสวนใหญในปจจุบัน สวนทองแดงซึ่งมีราคาสูงกวาแตนําความรอนไดเร็วกวานั้น ปจจุบันก็มีการนํามา
รวมกันเพื่อทําเปนฮีตซิงค โดยใหทองแดงเปนตัวนําความรอนออกจากตัวซีพียู
(2) เลือกใหตรงกับช็อคเก็ตที่ใช
หากเปนกรณีที่เราเลือกซื้ออุปกรณคอมพิวเตอรมาประกอบเอง การเลือกซื้อฮีตซิงคเพื่อมาใช
งานรวมกับซีพียูนั้น เราตองเลือกใหตรงกับขนาดของช็อคเก็ตของซีพียูบนเมนบอรดดวย เพราะฮีตซิงคแตละ
แบบก็จะถูกออกแบบมาใชงานกับช็อคเก็ตชนิดนั้น ๆ โดยเฉพาะ
3. การเลือกเมนบอรด
การเลือกเมนบอรด นาจะเปนอุปกรณลําดับที่ 2 หลังจากเลือกรุน
ซีพียูที่ตองการไดแลว โดยนอกจากเลือกรุนที่รองรับกับช็อกเก็ตของซีพียูแลว
อีกหลาย ๆ สิ่งที่ตองมองก็คือ จํานวนของสล็อตสําหรับติดตั้งการดตาง ๆ
6
บนเมนบอรด เชน การดแสดงผล การดเสียง หรือการดเครือขาย หรืออาจเลือกแบบใหมีชิปสําหรับทํางานดาน
ตาง ๆ ติดตั้งอยูบนเมนบอรดเลยก็ได (On Board) เพื่อเปนการประหยัดพื้นที่ และคาใชจาย
3.1 เลือกชองติดตั้งซีพียูบนเมนบอรด
ซีพียูที่มีวางจําหนายในปจจุบันนั้นเปนแบบช็อกเก็ตทั้งซีพียูของคาย Intel , AMD , VIA สวนเรื่อง
รายละเอียดของซีพียูวาจะตองใช Socket แบบใด (เชน Socket A , Socket 478) ก็ขึ้นอยูกับซีพียูที่ใช วิธีที่งาย
ที่สุดคือ ดูบนกลองสินคาของเมนบอรดวาเปนเมนบอรดสําหรับซีพียูช็อกเก็ตแบบใด
รุนของซีพียูและรูปแบบของ Socket สําหรับติดตั้ง
ช็อกเก็ต/สล็อต รุนซีพียู
Socket 370
Socket 423
Socket 478
Socket A (Socket 462)
Socket 775
Socket 393
Socket LGA 1207
Intel Pentium III
Intel Celeron (Coppermine) , (Tualatin)
Intel Pentium 4 (Willamette)
Intel Pentium 4 (Northwood)
Intel Celeron (Willamette)
AMD Ahlon Thunderbird
AMD Duron
AMD AthlonXP
Intel Celeron รุนใหม ๆ เชน Celeron D,
Intel Pentium D, Pentium Duo Core,
และ Core 2 Duo
Athlon 64 FX, Athlon 64 X2
Athlon 64 Quad FX
นอกจากนั้นยังตองดูเรื่องความเร็วบัส (มักเรียกวา FSB : Front Side Bus ) ของเมนบอรดกับซีพียู
ดวยวาตรงกันหรือไม หรือสามารถรองรับการอัพเกรดซีพียูรุนใหมในอนาคตไดหรือไม
7
3.2 เลือกชิปเซ็ตบนเมนบอรด
นอกจากเลือก socket สําหรับติดตั้งซีพียูบนเมนบอรดที่ตองการไดแลว อีกสิ่งหนึ่งที่ควบคูกันไปก็
คือ ชิปเซ็ต (chipset) ที่ใชบนเมนบอรด ที่เปนสวนควบคุมการทํางานบนเมนบอรด ทําหนาที่ติดตอกับอุปกรณ
ตาง ๆ ซึ่งชิปเซ็ตที่เลือกควรมีความนาเชื่อถือไดดวย
(1) ชิปเซ็ตจากคาย VIA : เนื่องจากเปนผูผลิตรายใหญที่สุด วางตลาดชิปเซ็ตเร็วที่สุด
และมีประสิทธิภาพ อยูในเกณฑดี ชิปเซ็ต VIA จึงไดรับความนิยมสูงที่เดียว
(2) ชิปเซ็ตจากคาย Intel : ผลิตชิปเซ็ตใหกับซีพียูของตัวเองเทานั้น แมจะมี
ประสิทธิภาพ แตราคาก็มักสูงตามไปดวย
ในปจจุบันซีพียูจากคาย Intel มักจะใช
ชิปเซ็ตของ Intel และ SIS เปนหลัก
(3) ชิปเซ็ตจากคาย SIS : มีชื่อเสียงดานการนําไปใชบนเมนบอรดแบบ Build-in คือ
บนเมนบอรดจะประกอบดวยชิปแสดงผล , ชิปเสียง และเครือขาย LAN อยูจน
เกือบครบแทบไมตองเสียเงินซื้ออุปกรณเหลานี้มาติดตั้งเพิ่ม
3.3 เลือกชองเสียบการดบนเมนบอรด
อีกสิ่งหนึ่งที่สําคัญมาก ๆ ในการเลือกเมนบอรดก็คือ การวางแผนสําหรับติดตั้งการดตาง ๆ
ภายหลัง เชน การดแสดงผล การดเครือขาย การดโมเด็ม เปนตน ซึ่งตองลองคํานวณดูวาจะตองใชกับสล็อต
ใดบาง และตองใชกี่สล็อต หรือจะเลือกแบบ OnBoard ซึ่งสล็อตตาง ๆ ที่อยูบนเมนบอรดในปจจุบัน ไดแก
สวนประกอบ คําอธิบาย
สล็อตแบบ PCI เปนชองเสียบการดชนิดอื่น ๆ ซึ่งทํางานที่ความเร็วต่ํากวาสล็อตแบบ AGP
คือ 33 MHz สําหรับการดที่ใชรวมกับสล็อตนี้มีหลายชนิด เชน การดเสียง ,
การดเครือขาย , การดโมเด็ม , การดแสดงผลรุนเกา ๆ เปนตน
8
สวนประกอบ คําอธิบาย
สล็อตแบบ AGP สําหรับการติดตั้งการดแสดงผลโดยมีความเร็วหลาย ๆ ระดับ เชน 2x, 4x
และ 8x (ทํางานไดที่ความเร็ว 133 MHz 266 MHz และ 533 MHz
ตามลําดับ) และตองเลือกใหตรงกับมาตรฐานของการดแสดงผลตัวที่จะ
นํามาใชดวย (แบบ 2x , 4x, 8x)
สล็อตแบบ PCI
Express x16
สําหรับติดตั้งการดแสดงผลแทนสล็อตแบบ AGP มีความกวางของบัสเปน
64 บิต รับสงขอมูลไดแบบสองทิศทาง (Full - Duplex) มีความเร็วในการ
รับสงขอมูลสูงที่ x16 มีความเร็ว 8 GB / s
ตองตรวจสอบดูวามีอะไรติดตั้งแบบ OnBoard มาใหดวยหรือเปลา เชน มี Sound On Board , VGA
on Board หรือเปลา เพราะหากมีอยูแลวก็ไมจะเปนตองติดตั้งการดเสียงหรือการดแสดงผลภายหลังอีก หรืออาจ
เลือกเมนบอรดรุนอื่นที่ไมมี On Board เหลานี้ และซื้อการดคุณภาพที่ตองการมาติดตั้งไดเชนกัน
3.4 เลือกสล็อตติดตั้งแรม
การเลือกสเปคสําหรับเมนบอรดที่เหลือก็มีสล็อตสําหรับติดตั้ง
แรมซึ่งเปนตัวกําหนดวาเราตองเลือกซื้อแรมประเภทใดมาใช (ซึ่งตองดูควบคู
กับความเร็วบัสของเมนบอรดดวย) โดยในปจจุบันนั้นมีแรมที่นิยมใชอยู 3
ประเภท คือ
สวนประกอบ คําอธิอบาย
SDRAM
DDR-SDRAM
DDR II SDRAM
สล็อตแรมแบบเกา ปจจุบันเลิกใชแลว
พัฒนามาจาก SDRAM
เปนแรมรุนใหมที่มีความเร็ว เมนบอรดรุนใหม ๆ จะมี Slot แบบนี้
นอกจากการเลือกประเภทของแรมแลว ในชั้นตอนการซื้อแรมควรเลือกรุนที่มีความเร็วที่รองรับกับ
ความเร็วบัสของเมนบอรดดวย เพราะหากซื้อแรมที่ความเร็วสูงกวาก็ไมสามารถใชงานไดเต็มประสิทธิภาพ แต
ความจริงเมนบอรดมักจะบอกรุนของแรมที่สนับสนุนมาใหอยูแลว
9
3.5 เลือกชองเชื่อมตอภายนอก
สวนสุดทายที่ตองดูกันก็คือ ชองตออุปกรณภายนอกวามีขั้วตอใดมาใหบางและมีใหเพียงพอ
หรือไม เชน ชองตอเมาสและคียบอรด (แบบ PS/2) พอรตขนาน (Parallel Port) พอรตอนุกรม (Serial Port)
พอรต USB เปนตน ซึ่งตองดูวาอุปกรณภายนอกใชรูปแบบการเชื่อมตอใดบาง
4. การเลือกแรม
สําหรับการเลือกซื้อแรม คุณสมบัติที่ควรนํามาพิจารณาก็คือ ประเภทของแรม ความเร็วแรม และขนาด
ความจุ โดยประเภทและความเร็วของแรมก็มาจากการเลือกเมนบอรดในขั้นตอนที่ผานมานั่นเองเพราะ
เมนบอรดที่เราเลือกจะกําหนดสล็อตแรมไวแลวรวมทั้งความเร็วของแรมที่เมนบอรดสนับสนุนดวย (ตาม
ความเร็วบัสของเมนบอรด)
4.1 คุณสมบัติของแรมแตละรุน
ปจจุบันถาเรียงตามลําดับความเร็วในการทํางานของแรมแนนอนวา DDR II SDRAM จะถูกจัด
มาเปนอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ RDRAM, DDR-SDRAM และ SDRAM ตามลําดับ แตแรมที่เปนที่นิยมก็คือ
DDR- II SDRAM ตารางดานลางแสดงสวนประกอบพื้นฐานของแรมแตละประเภท ไมวาจะเปนดานความเร็ว
และรุนซีพียูที่รองรับการทํางานดวย
คุณสมบัติ/ชนิดแรม DDR-SDRAM DDR II SDRAM RDRAM
ความเร็ว (MHz)
รุนซีพียูของเมนบอรดที่
สนับสนุน
200(PC1600)
266(PC2100)
333(PC2700)
400(PC3200)
433(PC3500)
Intel Celeron
Intel Pentium 4
AMD Duron
400 MHz
533 MHz
677 MHz
Intel Celeron D
Intel Pentium Duo
Core
Core 2 Duo
600 , 700 , 800 ,
1066 MHz
Intel Pentium 4
4.2 สิ่งที่ตองพิจารณาในการเลือกซื้อแรม
ในสวนนี้จะขอสรุปหลักสําคัญ ที่จําเปนตองนํามาพิจารณาเมื่อตองการเลือกซื้อแรมมาใช โดยสิ่ง
ที่ตองพิจารณาก็คือ ประเภทของแรม ,ขนาดของแรม และความเร็วของแรม ดังรายการตอไปนี้
10
คุณสมบัติตาง ๆ ที่ควรคํานึงถึงในการเลือกซื้อแรม
คุณสมบัติ ความหมาย
ชนิดของแรม
ขนาดของแรม
ความเร็วของแรม
เลือกใหตรงกับสล็อตติดตั้งบนเมนบอรด ซึ่งปจจุบันมีอยู 2 ประเภท คือ
แรมชนิด DDR-SDRAM และ DDR II SDRAM ซึ่งเปนมาตรฐานของแรม
ในปจจุบัน
ขนาดแรมในปจจุบันมีอยูหลายขนาด ไดแก 256, 512 และ 1024 MB ให
พิจารณาจากความตองการการใชงานของเครื่อง สําหรับเครื่องทั่วไปเลือก
ขนาด 512 MB ก็เพียงพอ แตสําหรับเครื่องที่ทํางานดานมัลติมีเดีย/กราฟก
ระดับสูงก็ควรใชแรมขนาด 1024 MB ขึ้นไป
ความเร็วในการทํางานแรมแตละประเภทจะแตกตางกันไป เชน มีความเร็ว
DDR-SDRAM มีความเร็วที่ 200 (PC1600) , 266 (PC2100), 333 (PC2700),
400 (PC3200) หรือ 433 (PC3500) MHz และ DDR II SDRAM จะทํางานที่
ความเร็วสูงถึง 533 MHz และ 667 MHz ซึ่งความเร็วนี้ตองรองรับซีพียูที่ใช
งานดวยวาทํางานที่ระบบบัสเทาไร
5. การเลือกฮารดดิสก
ในแผนโฆษณาของรานคอมพิวเตอร นิยม
แสดงคาความจุขอมูลและความเร็วในการทํางาน
สงผานขอมูลของฮารดดิสกมาเปนจุดขาย เชน Ultra
ATA/100 , 7200 RPM (รอบตอนาที) วิธีการเลือกซื้อ
ฮารดดิสกที่เหมาะสมนั้น ตองคํานึงถึงความจุ
ฮารดดิสกกับปริมาณขอมูลที่ใชพรอมทั้งเผื่อพื้นที่
สําหรับอนาคตดวย สวนเรื่องความเร็วนาจะเลือกซื้อ
รุนความเร็วที่สุดที่สามารถซื้อได
5.1 สิ่งที่ตองพิจารณาในการเลือกฮารดดิสก
นอกจากการดูที่ขนาดความจุของฮารดดิสกแลว สิ่งอื่น ๆ ที่ควรมองเพื่อเลือกฮารดดิสกใหได
ตรงตามตองการ ยังมีอีกหลาย ๆ องคประกอบ เชน ความเร็วรอบในการทํางานของฮารดดิสก , อัตราการสงผาน
ขอมูล เปนตน ดังรายละเอียดตอไปนี้
11
คุณสมบัติตาง ๆที่ควรคํานึงถึงในการเลือกฮารดดิสก
คุณสมบัติ ความหมาย
ขนาดความจุ
อัตราการสงผานขอมูล
ความเร็วรอบ
เวลาในการเขาถึงขอมูล
ขนาดของบัฟเฟอร
ปจจุบันฮารดดิสกมีขนาดเปน GB (กิกะไบต) หรือพันลานไบต ความจุ
ของฮารดดิสกยิ่งสูงก็ยิ่งมีเนื้อที่เก็บขอมูลมากขึ้น การเลือกขนาดของ
ฮารดดิสกนั้นเราตองคิดเผื่อถึงขนาดขอมูลที่จะทํางานในอนาคตดวย ความ
จุฮารดดิสกที่มีใหเลือกในปจจุบันมีตั้งแต 80 , 160 , 250, 320 ไปจนถึง
500GB
อัตราการสงขอมูลของฮารดดิสกมีหนวยเปน MB/s (ลานไบตตอวินาที)
ปจจุบันฮารดดิสกที่มีวางขายอยูจะเปนแบบ Ultra ATA/66 , ATA/100 และ
ATA/133 แตเมนบอรดจะตองสนับสนุนกับคาความเร็วเหลานี้ดวย
ความเร็วรอบ (RPM ; Round Per Minute) หรือรอบตอนาที ยิ่งจํานวนรอบ
ยิ่งสูงอัตราการอานขอมูลตอนาทีก็ยิ่งมาก ฮารดดิสกที่มีวางขายในตลาดจะ
มีอยู 3 รุน คือรุน 5400 RPM , 7200 RPM และ10000 RPM แนะนําใหซื้อ
ฮารดดิสกแบบ 7200 RPM โดยเฉพาะถางานที่ใชตองเขียนหรืออานไฟล
จากฮารดดิสกบอย ๆ
ตัวแปรนี้เกี่ยวของกับความเร็วในการอาน/เขียนขอมูลโดยตรง ยิ่งคานี้
นอยมากเทาไร ก็ทําใหการทํางานกับฮารดดิสกเร็วยิ่งขึ้น เวลาในการเขาถึง
ขอมูลโดยเฉลี่ยในปจจุบันอยูที่ 8 – 12 มิลลิวินาที (ms) สวนระยะเวลาที่
แนะนําคือ 8-9 มิลลิวินาที
ขนาดของบัฟเฟอรของฮารดดิสกทั่วไปจะอยูที่ 2-8 MB ยิ่งบัฟเฟอรมี
ขนาดใหญก็ยิ่งดี เพราะในเวลาอานขอมูล ฮารดดิสกจะอานขอมูลไปเก็บไว
ที่บัฟเฟอรกอน แลวจึงคอยสงขอมูลออกไป สวนในกรณีรับขอมูลเขามา
ก็จะเก็บไวที่บัฟเฟอรกอนแลวจึงคอยเขียนลงแผนดิสกจริง ๆ
12
5.2 ยี่หอฮารดดิสกชื่อดังในปจจุบัน
ฮารดดิสกชื่อดังที่มีวางจําหนายในปจจุบันนั้น คอนขางไวใจไดในเรื่องการบริการ และก็มีใหเลือก
หลากหลายรุน หลายขนาด
(1) IBM : เปนผูผลิตฮารดดิสกที่ไวใจไดมานาน มีคุณภาพ ถือไดวาเปนเจาแหงฮารดดิสก IDE
ความเร็วสูง มีความจุใหเลือกกันตั้งแต 20 GB ไปถึง 180 GB
(2) Maxtor : เปนฮารดดิสกราคาถูก แตเรื่องความจุนี่เรียกไดวานําคายอื่น ๆ ทําใหถือไดวาคุมคา
นาซื้อมาใชงาน กับราคาที่คอนขางถูกกวา
(3) Seagate : หากวากันถึงเรื่องบริการหลังการขาย และการรับประกันแลว คงตองยกใหกับ
ฮารดดิสกของทางคาย Seagate มีผูนิยมใชคอนขางมาก รวมถึงราคาที่ไมสูงมากอีกดวย
(4) Quantum : อีกหนึ่งบริษัทผูผลิตฮารดดิสกชั้นนํา เปนผูคิดคนอินเทอรเฟสแบบ Ultra
ATA/100 นับเปนผูผลิตฮารดดิสกความเร็วสูงอีกบริษัทหนึ่งเชนกัน
(5) Western : บริษัทผูผลิตฮารดดิสกคุณภาพ โอนถายขอมูลไดดวยความเร็วสูง ดวยราคาที่ไม
สูงเกินไป และมีความทนทาน เปนฮารดดิสกที่คุนเคยอีกคายหนึ่ง
6. การเลือกการดแสดงผล
ปจจุบันการดแสดงผลมีราคาถูกลง จึงมีคนหันมานิยมใชการดแสดงผลคุณภาพดี ๆ กันมาก แตกอนที่
จะตัดสินใจเลือกซื้อการด ตองดูกอนวาจะใชงานโปรแกรมที่ตองการความสามารถของการด 3 มิติหรือไม ถา
ไมก็ไมจําเปนตองซื้อการด 3 มิติก็ได ใชการดแสดงผลแบบทั่วไป ซึ่งมีราคาถูก แตมีความสามารถเรื่อง 3
มิติใหใชงานอยูบาง
6.1 เลือกชิปบนการดแสดงผล
ความจริงชิปบนการดแสดงผลนั้นมีผูผลิตอยูหลาย ๆ รายดวยกัน แตผูที่ครองความนิยม และ
แขงขันกันมาหลาย ๆ ปในระยะหลังเห็นจะไดแกชิปแสดงผลจาก nVidia และจากทางคาย ATi นั่นเอง
สําหรับจุดเดนตาง ๆ ของแตละคายเพื่อเปนขอมูลในการตัดสินใจเลือกซื้อมีดังนี้
(1) ชิป nVidia : ถือเปนผูผลิตชิปแสดงผลที่ไดรับความนิยม
มากที่สุด มี การพัฒนาเทคโนโลยีดานตาง ๆ ใหเห็นอยางตอเนื่อง ชิปที่
เราคุนชื่อกันจากคาย nVidia ก็คือ ชิปในตระกูล GeForce และ TNT โดย
รุนลาสุดที่ออกมาก็คือ GeForce FX
(2) ชิป ATi : เปนผูผลิตชิปกราฟกคุณภาพสูง ที่มักมี
คุณสมบัติอื่น ๆ เพิ่มเติมเขามาดวย เชน รับสัญญาณวิดีโอ ตัดตอออกทีวี เปนตน
ATi กาวมายืนเปนผูนําคูกับ nVidia ในปจจุบัน โดยรุนที่ออกมาสรางความฮือฮา
ลาสุดก็คือ Redeon
13
6.2 สิ่งที่ตองพิจารณาในการเลือกซื้อการดแสดงผล
นอกจากการดูจากชิปแสดงผลบนการดแลว ยังมีสิ่งที่เราจําเปนตองคํานึงถึงในการเลือกซื้อ
การดแสดงผลอีกหลาย ๆ ตัว เชน อินเทอรเฟสของการด , ชนิดและขนาดของหนวยความจําบนการด เปนตน
ดังรายละเอียดตอไปนี้
คุณสมบัติตาง ๆ ที่เราควรคํานึงถึงในการเลือกซื้อการดแสดงผล
คุณสมบัติ ความหมาย
อินเทอรเฟสของการด การดแสดงผลใชกับสล็อต AGP ซึ่งมีอยู 3 มาตรฐานดวยกัน คือ AGP
2X , AGP 4X และ AGP 8X ซึ่งทํางานที่ความเร็ว 133 MHz , 266 MHz
และ 533 MHz ตามลําดับ ตองเลือกการดที่สนับสนุนการทํางานรวมกับ
เมนบอรดดวย เพราะหากซื้อการดที่ทํางานดวยความเร็วสูงกวาก็ไมสามารถ
ทํางานไดเต็มประสิทธิภาพอยูดีนั่นเอง
การดแสดงผลรุนใหมจะใช interface แบบ PCI Express x16 ซึ่งมี
ความเร็วสูงถึง 8 GB / s ความกวางของบัสเปน 64 บิต สามารถรับสง
ขอมูลได 2 ทิศทาง (Full - Duplex)
ชนิดของแรมบนการด แรมที่มีการนํามาใชบนการดแสดงผลคือ DDR SDRAM ซึ่งแบบ
เดียวกันกับที่ติดตั้งบนเมนบอรด และ DDR II - SDRAM ที่พัฒนาตอจาก
DDR SDRAM โดยทํางานไดที่ความเร็วสูงขึ้น
ขนาดแรมบนการด ขนาดความจุของแรมที่ใช ซึ่งเปนตัวกําหนดความเร็วในการทํางานของ
การดแสดงผลดวย ยิ่งแรมมากเทาไร ก็ชวยใหสามารถปรับความคมชัดของ
สี/คาความลึกของสีไดมากขึ้น (ปจจุบันอยูที่ 128 – 512 MB)
7. การเลือกจอแสดงผล
จอแสดงผล (monitor) เปนสวนประกอบของคอมพิวเตอรที่ตองนั่งทํางานดวยอยูตลอด ดังนั้นการ
เลือกใชจอแสดงผลที่เหมาะสม ก็จะทําใหการทํางานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และปองกันผลแทรกซอนที่
อาจเกิดขึ้นจากการทํางานอยูหนาจอคอมพิวเตอรเปนระยะเวลานาน ๆ ดวย
7.1 เลือกชนิดของจอแสดงผล
สิ่งแรกที่ควรใหความสนใจในการเลือกซื้อจอแสดงผลก็คือ ประเภทของจอแสดงผลนั่นเอง โดย
จอแตละชนิดก็จะมีขอดีและขอเสียตาง ๆ กันไปดังนี้
14
(1) จอแสดงผลแบบ CRT
จอ CRT ใชหลอดภาพเปนแหลงกําเนิดแสง โดยการยิงอิเล็กตรอนมาชน
ตะแกรงที่เคลือบสารเรืองแสงไวสารเรืองแสงที่อิเล็กตรอนชนก็จะสวางขึ้นมา จอแบบ CRT
นี้เราตางรูจักกันดีในชื่อของ จอมอมิเตอรทั่วไป , จอทีวี รวมทั้งจอแบบ Trinitron ดวย
ปจจุบันมีการพัฒนาใหหนาจอมีลักษณะแบนราบที่เรียกวา Flat Trinitron เพื่อใหสามารถมี
พื้นที่ในการมองไดมากกวา และมีสีสันสวยงามขึ้น จอประเภทนี้มีราคาต่ํา แตขอเสียคือเปลืองพื้นที่ในการวาง
หนาจอพอสมควร เมื่อเทียบกับจอแสดงผลแบบ LCD
(2) จอแสดงผลแบบ LCD
จอ LCD เปนจอแบบสะทอนแสง โดยอาศัยการเปลี่ยนคุณสมบัติการสะทอนแสงของผิว
หนาจอ ทําใหสะทอนเฉพาะแสงในสวนของสีที่ตองการเขาสูตาผูใช จอ LCD เปน
จอที่สามารถทํางานดวยไดเปนเวลานานไมทําใหสายตาเมื่อยลา และใชพื้นที่ในวาง
นอย แตขอเสียคือราคาสูงกวาจอ CRT
7.2 สิ่งที่ตองพิจารณาในการเลือกซื้อจอแสดงผล
นอกจากประเภทของจอแสดงผลแลว ยังมีปจจัยอีกหลาย ๆ ตัวที่ควรนํามาพิจารณาดวย เชน
ขนาดหนาจอ ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของงานนั่นเอง , อัตราการรีเฟรชของหนาจอ ถามีคามากก็จะชวยถนอม
สายตาไดเชนกัน เปนตน ดังรายละเอียดตอไปนี้
คุณสมบัติตาง ๆ ที่ควรคํานึงถึงในการเลือกจอแสดงผล
คุณสมบัติ ความหมาย
ประเภทของจอแสดงผล ถาจําเปนตองใชคอมพิวเตอรติดกันเปนเวลานาน ๆ 4-8 ช.ม. โดยมีเวลา
หยุดพักสายตาไมมาก แนะนําใหซื้อจอ CRT แบบ Flat Trinitron หรือจอ
LCD จะดีกวา แตถาไมมีงบพอ หรือมีชวงเวลาพักสายตาอยูบางก็ใชจอ
แบบ CRT ก็เพียงพอแลว
รังสีจากจอแสดงผล การเลือกจอมอนิเตอรแบบ CRT ควรเลือกแบบที่รังสีต่ํา (Low
Radiation) เพราะผลเสียจากรังสีมีตั้งแตทําใหปวดหัว, ปวดตา, เวียน
ศีรษะ , ทําใหสายตาสั้น และมีผลตอแกวตา สวนจอ LCD หรือจอ
Plasma Display จอประเภทนี้รังสีต่ํามาก
15
คุณสมบัติ ความหมาย
อัตราการแสดงภาพ เลือกรุนที่มี Refresh Rate สูง ๆ 75 Hz ขึ้นไป เนื่องจากถา Refresh
Rate ต่ํา ก็จะเห็นจอกระพริบอยูตลอด นั่นจะทําใหปวดหัว ปวดตาได
เหมือนกัน
ขนาดของจอภาพ มาตรฐานขนาดของจอภาพเชน 15 นิ้ว 17 นิ้ว หรือ 19 นิ้ว ขอดีของ
จอ 17 นิ้วก็คือเหมาะสําหรับงานออกแบบกราฟก เพราะมีพื้นที่มากกวา
แตมีราคาสูงกวาจอ 15 นิ้ว
8. การเลือกการดเสียง
การดเสียงกลายมาเปนอุปกรณหนึ่งที่ขาดไมไดสําหรับการใชงานคอมพิวเตอรเพราะความสามารถ
ทางดานเสียงของโปรแกรมตาง ๆ รวมทั้งสื่อบันเทิง และเกมที่ตองมีระบบเสียงเขามารวมดวยเสมอ การเลือก
ซื้อการดเสียงควรพิจารณาสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้
8.1 มาตรฐานของการดเสียง
การดเสียงในปจจุบันนั้น มีอยู 2 แบบดวยกัน คือ แบบที่ติดตั้งเปนชิปเสียงมาพรอมกับเมนบอรด
และแบบเปนการดเชื่อมตอมาตรฐานตาง ๆ ดังนี้
(1) แบบ Sound Onboard คือ การติดตั้งชิปเสียงมาพรอมกับตัวเมนบอรด ซึ่งคุณภาพของเสียง
ที่ไดในที่นี้จะอยูในระดับปานกลางเทานั้น แตขอดีก็คือราคาถูก ไมตองหาซื้อการดเสียงแยกมาติดตั้งเพิ่ม
ตางหากภายหลัง
(2) แบบการดเชื่อมตอ : หากตองการคุณภาพมากขึ้น หรือเมนบอรดไมไดติดตั้งการดเสียงมาให
ก็ตองซื้อการดเสียงมาติดตั้งเพิ่ม โดยมีมาตรฐานการเชื่อมตอ เชน การเชื่อมตอแบบ PCI
8.2 คุณภาพของการดเสียง
โดยสิ่งที่ตองคํานึงถึงสําหรับการเลือกซื้อการดเสียง ก็คือคุณภาพของเสียงวาตองการในระดับใด
เชน ทํางานกับการตัดตอเสียง หรือตองการสรางโฮมเธียรเตอร ก็คงตองเลือกการดเสียงที่มีคุณภาพดีซักหนอย
(1) การดเสียงสําหรับดูหนังฟงเพลงทั่วไป : หากตองการใชงานดานเสียงเกี่ยวกับงานทั่ว ๆ ไป
เชน ดูหนัง/ฟงเพลง/เลนเกม บันทึกเสียงผานไมโครโฟน เพื่อประกอบงานพรีเซนเตชั่น รองเพลงคาราโอเกะ
16
หรือสนทนาพูดคุยกับเพื่อนผานทางอินเทอรเน็ต ซึ่งอาจไมตองการคุณภาพเสียงที่สูงมากนักเปนระบบ
สเตอริโอแบบธรรมดา สวนใหญก็จะใชการดเสียงยี่หอ Yamaha ที่มีราคาไมเกิน 1 พันบาทหรือจะเลือกใช
ชิปเสียง Sound Onboard ที่มาพรอมกับเมนบอรดก็ได
(2) การดเสียงสําหรับโฮมเธียรเตอร : หลาย ๆ คนหันมาดูหนัง/ฟงเพลงผานทางคอมพิวเตอร
ดวยระบบเสียงและภาพที่ไดคุณภาพ ซึ่งมักจะรวมๆ วา โฮมเธียรเตอร โดยเฉพาะการเขามาของมาตรฐาน
DVD ที่ใหภาพเสียงคมชัด ระบบเสียงที่ใชบนเครื่องควรจะรองรับดวย (คูกับลําโพงที่ใชระบบเสียง 5.1
Channel ที่ใชลําโพง 6 ตัว)
การดเสียงที่เหมาะสําหรับระบบนี้ คือตองมีชอง Audio Out 3 ชอง (6 ลําโพง) และ
สนับสนุนการแปลงไฟลเสียงในระบบ PCM 96KHz/ 24Bit ที่ใชกับระบบเสียง 5.1 Channel เชน การด
เสียง ของคาย Creative
(2) การดเสียงสําหรับงานสรางดนตรี : นอกจากการแสดงเสียงซึ่งเปนหนาที่หลักของการดเสียง
แลวการสรางเสียงก็เปนอีกหนึ่งที่ถูกนํามาใชดวยเชนกัน การสรางเสียงดนตรีจากไฟล MIDI ดวยโปรแกรม
ดนตรีตาง ๆ เชน Cake Walk, Encore เปนตน การพิจารณาการดเสียงสําหรับงานประเภทสรางเสียงดนตรี
ควรพิจารณาใหลึกลงไปอีก ดังนี้
• ชองสัญญาณเขา/ออก : สําหรับงานสรางดนตรี นาจะมีชองสัญญาณครบถวน เชน
MIDI ,ไมโครโฟน , เสียงออกลําโพง 5.1 Channel และสัญญาณเขา
• คุณภาพเสียง : จะดูกันที่จํานวน Bit และ Sample Rate คือยิ่งมากยิ่งดี ถาเปนระดับ
ธรรมดาก็อยูที่ 16-20 Bit สวนความถี่ก็นาจะเปน 48 MHz ขึ้นไป หรือถาไดถึง 96
MHz ก็ดี
• ซอฟทแวรแถม : คาย Creative มักมีซอฟทแวรแถมมาดวย ซึ่งสามารถทํางานเขากันดี
กับการดเสียง ซึ่งทําใหดึงประสิทธิภาพของการดเสียงออกมาไดเต็มที่
9. การเลือกไดรฟซีดี / ดีวีดี
ไดรฟซีดีกลายมาเปนอุปกรณสําคัญที่ขาดไมไดสําหรับผูใชคอมพิวเตอร ซึ่งเมื่อเราพูดถึงไดรฟซีดี ใน
ภาพรวมอาจหมายถึงเครื่องอานแผนซีดีทั่วไป ซึ่งความจริงแลวไดรฟประเภทนี้แบงออกไดเปนหลาย ๆ
ประเภท ที่เราควรเลือกมาใชเหมาะสมกับงานของเรามากที่สุด
9.1 ประเภทของไดรฟซีดี / ดีวีดี
ไดรฟสําหรับอาน/เขียนแผนซีดี/ดีวีดี แบงออกเปนประเภทตาง ๆ ตามความสามารถของไดรฟได
ดังนี้
(1) ไดรฟซีดีรอม (CD-ROM Drive) เปนแบบที่อานแผนซีดีไดอยาง
เดียว ไมสามารถเขียนขอมูลลงบนแผนซีดีได
17
(2) ไดรฟซีดีอารดับบลิว (CD-RW Drive) เปนแบบที่สามารถเขียน
ขอมูลลงไดซ้ําๆ กันหลายครั้งลงบนแผนซีดีชนิดพิเศษ (แผน CD-R
และแผน CD-RW)และสามารถอานแผนซีดีตางๆ ไดตามปกติ
(3) ไดรฟดีวีดีรอม (DVD-ROM Drive) เปนแบบที่อานแผนแบบดีวีดี และแผนซีดีธรรมดาได
แตไมสามารถเขียนขอมูลลงบนแผนซีดี หรือแผนดีวีดีได
(4) ไดรฟคอมโบ (Combo Drive) เปนไดรฟที่รวมเอาความสามารถระหวางไดรฟ CD-RW กับ
DVD-ROM ไวดวยกัน คือสามารถเขียนขอมูลลงแผนซีดีได พรอมกับอานแผน DVD ไดดวย
(5) ไดรฟดีวีดีอารดับบลิว (DVD-RW Drive) เปนไดรฟที่
ราคาแพงที่สุด แตมากดวยความสามารถคือเขียนไดทั้งบนแผน
DVD-R/RW , CD-R/RW พรอมทั้งสามารถอานแผนซีดี และ
แผนดีวีดีไดตามปกติดวย
9.2 สิ่งที่ควรพิจารณาในการเลือกซื้อไดรฟซีดี/ดีวีดี
หลังจากเลือกประเภทของไดรฟที่ตองการแลว คุณสมบัติตางๆ ของไดรฟที่ตองนํามาพิจารณา
ประกอบมีหลายๆ ตัวดวยกัน เชน ความเร็วในการอาน/เขียนขอมูล ขนาดบัฟเฟอรของไดรฟที่จะชวยในการ
เขียนขอมูลทําไดเร็วขึ้น ดังรายละเอียดตอไปนี้
คุณสมบัติตางๆ ที่ควรคํานึงถึงในการเลือกซื้อไดรฟซีดี/ดีวีดี
คุณสมบัติ ความหมาย
ความเร็ว เปนตัวเลขที่ระบุไว เชน 52x 32x 52x เลขตัวแรกเปนความเร็วในการเขียน
แผน CD-R ตัวที่สองคือความเร็วในการเขียนแผน CD-RW และตัวเลข
สุดทายคือความเร็วในการอานขอมูล (โดย 1x มีความเร็วเทากับ 150 KB/s
แต 1x ของไดรฟดีวีดีจะเทากับ 1350 KB/s สําหรับแผนดีวีดี และ 600
KB / s สําหรับแผนซีดีธรรมดา) ความเร็วเปนปจจัยหลักที่ตองคํานึงในการ
เลือกซื้อ
18
คุณสมบัติ ความหมาย
ขนาดบัฟเฟอร โดยมากขนาดของบัฟเฟอร จะเทากับเครื่องหนึ่งของความเร็วในการเขียน
แผน CD-R บัฟเฟอรที่มีขนาดใหญ จะชวยทําใหการอานและเขียนขอมูลมี
ความเร็วยิ่งขึ้น
รูปแบบของไดรฟ ปจจุบันซีดีไดรฟมีใหเลือกทั้งแบบเชื่อมตอภายใน (Internal) และแบบ
เชื่อมตอภายนอก (External) ซึ่งแบบ External ขอดีของไดรฟแบบติดตั้ง
ภายนอกก็คือ สามารถติดตั้งและเคลื่อนยายไดงาย แตราคาแพงกวาและตอง
ใชเนื้อที่ในการวางไดรฟ
รูปแบบการเชื่อมตอ ปจจุบันไดรฟดีวีดีมีรูปแบบการเชื่อมตอใหเลือก 2 ประเภท คือ แบบ
IDE ดั้งเดิม และแบบ S-ATA ซึ่งเปนเทคโนโลยีใหมที่ไดรับความนิยมใน
ปจจุบันและมีความเร็วสูง
10. การเลือกโมเด็ม
โมเด็ม (Modem) เปนอีกอุปกรณหนึ่งที่คูกับคอมพิวเตอรใน
ปจจุบัน เนื่องจากการเขามาของโลกอินเทอรเน็ต และโมเด็มก็คือสิ่งที่
เชื่อมคอมพิวเตอรเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ตนั่นเอง
10.1 เลือกระหวางโมเด็ม Internal หรือ External
โมเด็มในปจจุบันแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ แบบติดตั้งภายใน (Internal Modem) และ
แบบติดตั้งภายนอก (External Modem) ซึ่งมีขอดี/ขอเสียแตกตางกันไป ดังนี้
สรุปขอดี/ขอเสียของโมเด็มแบบติดตั้งภายใน
ขอดี ขอเสีย
- ไมสิ้นเปลืองพื้นที่ เพราะติดตั้งไวอยู
ภายในตัวเคสของคอมพิวเตอร
- ราคาต่ํากวาโมเด็มแบบภายนอก
- ติดตั้งยาก เพราะตองเปดฝาเครื่อง และ
เชื่อมตอกับสล็อตบนเมนบอรด
- ไมมีไฟแสดงสถานการณทํางาน
- ดึงพลังงานซีพียูมาใช ซึ่งอาจทําให
ซีพียูทํางานไดชาลงไปบาง
19
สรุปขอดี/ขอเสียของโมเด็มแบบภายนอก
ขอดี ขอเสีย
- เคลื่อนยายไปใชงานระหวางเครื่องได
งาย
- มีไฟกระพริบแสดงสถานการณทํางาน
- ติดตั้งไดงายกวา เพื่อเชื่อมตอเขาทาง
พอรตเชื่อมตอของคอมพิวเตอรเทานั้น
- ราคาสูงกวาโมเด็มแบบติดตั้งภายใน
- ใชพื้นที่ในการวางตัวโมเด็มภายนอก
10.2 เลือกมาตรฐานเชื่อมตอ และคุณสมบัติพิเศษ
มาตรฐานของโมเด็มในปจจุบัน สวนใหญก็คือ V.90 และ V.92 คืออัตรารับขอมูลอยูที่ 56K
สวนคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ ในโมเด็ม ก็ขึ้นกับความตองการของผูใช เชน หากตองการใชรับ/สงแฟกซดวยก็
เลือก Fax/Modem หรือโมเด็มที่สามารถจัดการเสียงของสายเรียกเขาไดดวยก็เลือก Voice Modem เปนตน
11. การเลือกเครื่องพิมพ
เครื่องพิมพมีอยูหลายๆ ประเภท และเปนสิ่งที่ขาดไมไดสําหรับการใชงานรวมกับคอมพิวเตอรใน
ปจจุบัน การเลือกเครื่องพิมพที่เหมาะสมก็เปนอีกเรื่องหนึ่งที่ควรใหความสําคัญเชนกับการเลือกซื้อ
คอมพิวเตอร
11.1 เลือกเครื่องพิมพใหเหมาะกับการใชงาน
กอนเลือกเครื่องพิมพจะตองยอนกลับมาถามตัวเองวา ตองการเครื่องพิมพมาทํางานแบบใด
โดยสามารถแยกออกเปนงานตามชนิดของเครื่องพิมพ ไดดังนี้
(1) เครื่องพิมพเลเซอร : ใชพิมพงานเอสาร มีความละเอียดมาก
ที่สุด และมีความสูงสุดในบรรดาเครื่องพิมพทั้งหลาย
มี 2 แบบ คือแบบขาว/ดํา เหมาะสําหรับงานพิมพใน
สํานักงาน และแบบสี สําหรับงานพิมพชั้นสูง
(2) เครื่องพิมพอิงคเจ็ต : ใชพิมพงานสี มีความละเอียดนอย กวาเครื่องพิมพแบบเลเซอร
ราคาเครื่องถูก แตหมึกพิมพแพง เหมาะ
สําหรับงานสี อารตเวิรค สิ่งพิมพและรูปถาย
สติกเกอร หากจะใชในงานพิมพขาว/ดํา ราคา
หมึกตอแผนจะสูเครื่องพิมพแบบเลเซอรไมได
20
(3) เครื่องพิมพดอตเมทริกซ : มีความละเอียดต่ํา ราคาหมึก
ถูก แตพิมพชา เสียงดัง ปจจุบันถูกนํามาใชแคการพิมพ
กระดาษไขสําหรับโรเนียว หรือพิมพโดยซอนกระดาษ
คารบอนเทานั้น
11.2 เลือกคุณภาพของงานพิมพ
งานพิมพที่ออกมา (โดยเฉพาะภาพสี) นั้นจะดีมากหรือนอยมีผลมาจาก 3 สวนดวยกันคือ
ไฟลที่นํามาพิมพนั้นละเอียดแคไหน สีสวยแคไหน ตอจากนั้นก็ขึ้นอยูกับความละเอียดของเครื่องพิมพที่ตอง
นํามาพิจารณา (จํานวนพิกเซล) และสุดทายก็คือกระดาษที่นํามาใชในงานพิมพ
11.3 ราคาหมึกพิมพ
สังเกตดูหมึกพิมพที่ใชรวมกับเครื่องพิมพที่กําลังจะซื้อกอน วาราคาอยูที่เทาไร พิมพไดกี่
แผน/หมึกพิมพ เพราะราคาเครื่องพิมพสวนใหญจะไมสูงมาก แตจะมีปญหาที่เรื่องของหมึกนี่เอง หรือหมึก
พิมพบางรุนก็หาซื้อยาก ตองไปซื้อที่ศูนยบริการเทานั้น หรือเลือกแบบหมึกที่สามารถเติมได ซึ่งอาจชวย
ประหยัดราคาหมึกแตก็ตองเสี่ยงเรื่องอายุการใชงานของหัวพิมพ
12. การเลือกเคส
เคส (Case) หรือตัวถังของเครื่องคอมพิวเตอร เปนสวน
สําหรับติดตั้งเมนบอรด และมีชวงตออุปกรณภายนอกตางๆ อยูบริเวณดานหลัง
เพื่อปองกันสิ่งสกปรกเชาไปทําใหอุปกรณภายในเกิดความเสียหาย
ในการเลือกซื้อเคสตองดูเมนบอรดวาเปนแบบใด แบบ ATX หรือแบบ
MicroATX สั้นหรือยาวไหน โดยตองดูโครงสรางของเคสดวย ลักษณะของเคสที่ดี
ตองมีระบบระบายอากาศดีพอสมควร เพื่อไมใหอุปกรณที่ทํางานอยูภายในเกิดความ
รอนขึ้นมากเกินไป เคสในปจจุบันนั้นมีทั้งเคสที่ทําจากพลาสติก ที่ชวยปองกันไฟ
ดูดได และมีน้ําหนักเบากวาเคสที่ทําจากโลหะ ซึ่งมีความแข็งแรง และทนทานกวา
13. การเลือกเพาเวอรซัพพลาย
อีกสิ่งหนึ่งที่ควรพิจารณารวมดวยในการเลือกซื้อเคส ก็คือการเลือก Power Supply ซึ่งจะถูกติดตั้งมา
พรอมกับเคสดวยอยูแลว ซึ่งหากเลือกซื้อแบบนํามาประกอบเครื่องเอง ก็ควรเลือกใหตรงกับเมนบอรด และ
ซีพียูที่ใชดวย เชน เมนบอรดแบบ ATX ในปจจุบันนอกจากขั้วจายไฟของเมนบอรดแลว (ATX PWR) จะมี
ขั้วจายไฟสําหรับซีพียูขึ้นมาอีก 1 ตําแหนง (ATX 12V Connector) เปนตน

More Related Content

What's hot (11)

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
H wintegration
H wintegrationH wintegration
H wintegration
 
เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เทอม2คาบ3 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
Com
ComCom
Com
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 

Similar to Js unit 2

หน้า81 91
หน้า81 91หน้า81 91
หน้า81 91
kima203
 
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Uthaiwan Suantai
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Kuroba Kaito
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
paween
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
kruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
kruniid
 
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
flukiiez
 
ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Tay Chaloeykrai
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
Nattakan Wuttipisan
 

Similar to Js unit 2 (20)

หน้า81 91
หน้า81 91หน้า81 91
หน้า81 91
 
computer
computercomputer
computer
 
computer
computercomputer
computer
 
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
 
Ch08
Ch08Ch08
Ch08
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
งานโฟม
งานโฟมงานโฟม
งานโฟม
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
 
ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์ประกอบคอมพิวเตอร์
ประกอบคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 

Js unit 2

  • 1. บทที่ 6 การเลือกอุปกรณสําหรับประกอบเครื่องคอมพิวเตอร หัวขอการสอน 1. การดูสเปคเครื่องจากใบเสนอสินคา 2. การเลือกซีพียู 3. การเลือกเมนบอรด 4. การเลือกแรม 5. การเลือกฮารดดิสก 6. การเลือกการดแสดงผล 7. การเลือกจอแสดงผล 8. การเลือกการดเสียง 9. การเลือกไดรฟซีดี / ดีวีดี 10. การเลือกโมเด็ม 11. การเลือกเครื่องพิมพ 12. การเลือกเคส 13. การเลือกเพาเวอรซัพพลาย วัตถุประสงค 1. สามารถอานสเปคเครื่องคอมพิวเตอรจากใบโบชัวรสินคาได 2 สามารถพิจารณาเลือกชิปซีพียูมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม 3. สามารถพิจารณาเลือกเมนบอรดมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม 4. สามารถพิจารณาเลือกแรม และฮารดดิสกมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไดอยาง เหมาะสม 5. สามารถพิจารณาเลือกการดแสดงผล และจอภาพมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรได อยางเหมาะสม 6. สามารถพิจารณาเลือกการดเสียงมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม 7. สามารถพิจารณาเลือกไดรฟซีดี / ดีวีดีมาใชสําหรับการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไดอยาง เหมาะสม 8. สามารถพิจารณาเลือกโมเด็มเครื่องพิมพ และอุปกรณอื่น ๆ มาใชสําหรับการประกอบเครื่อง คอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม 2
  • 2. 2 สาระสําคัญ ในบทนี้ขอแนะนําหลักการที่สําคัญสําหรับการซื้ออุปกรณคอมพิวเตอรแตละชิ้นเพื่อนํามาประกอบ เครื่อง โดยเลือกสเปคตามระดับการใชงาน พรอมแนะนํารุนที่เหมาะสมเพื่อใหสามารถใชเปนแนวทางในการ เลือกอุปกรณแตละชิ้น 1. การดูสเปคเครื่องจากใบเสนอสินคา การดูสเปคเครื่อง จากใบโบชัวรรานคา วามีสิ่งใดบางที่ควรพิจารณาในการเลือกซื้อกอนที่จะเขาดู รายละเอียดของอุปกรณฮารดแวรแตละชิ้นตอไป ตารางตอไปนี้จะแสดงรายละเอียดสเปคเครื่องจากโบรชัวสินคา สเปคเครื่อง คําอธิบาย Intel Core 2 Duo Processor E6550 (2.33 GHz / 2 MB L2 Cache / 1333 MHz FSB / EM64T) 2 GB DDR 2 Up to 4 GB 320 GB SATA 7200 RPM HDD DVD / RW 16x SuperMultiFunction Nvidia Geforoe 8400 GS Up to 512 MB TV-Out + DVI Port Intel G31 Express Chip Set 9-IN-1 Media Card Reader Integrated Intel Graphic Media Accelerator (GMA) 3100 With Dynamic Video Memory Technology (DVMT) 4.0 Embeded high-definaion audio with 7.1 channel audio suppert ซีพียู อินเทลรุน Core 2 Duo ความเร็ว 2.33 GHz มี L2 cache 2 MB Font side bus เทากับ 1333 MHz รองรับการทํางาน 64 บิต (EM 64T) หนวยความจํา RAM ชนิด DDR2 – SDRAM ความจุ 2 GB สามารถขยายเพิ่มเติมไดถึง 4 GB ฮารดดิสก ชนิด S-ATA ความจุ 320 GB ความเร็วรอบ 7200 rpm ดีวีดีไดรฟแบบ DVD / RW ความเร็ว 16x การดจอภาพของ nVidia มีชองตอ TV และ DVI Chipset ของ Intel G31 ชองอานการดทั้งหมด 9 ชนิด มี Chip การฟก GMA 3100 มี Chip เสียง แบบ high – definition รองรับ 7.1 channel
  • 3. 3 สเปคเครื่อง คําอธิบาย IEEE 1394 port , Gigabyte Ethernet Internal 56 K Fax / modem LCD 19 ” wide screen monitor Warranty 3 year Parts & Labor มีพอรต IEEE 1394 และ พอรตเครือขายรองรับความเร็ว 1 Gbps โมเด็มแบบภายใน 56 Kbps จอภาพ LCD แบบ wide screen ขนาด 19 ” รับประกัน 3 ป อะไหลและคาแรง ใบเสนอราคาเครื่องคอมพิวเตอรมักจะเปนภาษาอังกฤษทั้งหมด วิธีการอานสเปคเครื่องก็คือ การหาชื่อ อุปกรณ ซึ่งชื่ออุปกรณจะใชคําหลัก ๆ เหลานี้เสมอ เชนCPU , Processor , RAM , Hard disk , Monitor เปนตน สวนรายละเอียดอื่น ๆ ที่มีเพิ่มเติม(ถาเปนตัวอักษร)ก็จะเปนชื่อยี่หอของอุปกรณนั้น (ถาเปนตัวเลข) ก็จะเปน ความเร็ว ความจุ และขนาดของอุปกรณนั้น 2. การเลือกซีพียู อันดับแรกที่ควรใหความสําคัญในการเลือกซื้อคอมพิวเตอรไมวานํามาประกอบเองหรือซื้อเครื่อง คอมพิวเตอรเปนเซตก็ตาม คือการเลือกซีพียูนั่นเอง ไมวาจะเปนรุนและความเร็วของซีพียูตามระดับการใชงาน เพื่อจะไดทราบรูปแบบอินเทอรเฟส (Socket) สําหรับติดตั้งบนเมนบอรด เพื่อเลือกซื้อเมนบอรดที่ตรงรุนของ ซีพียูตอไป 2.1 เลือกความเร็วของซีพียู ความเร็วของซีพียูในปจจุบันถูกพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ชิปซีพียูของ Intel Core 2 Duo ความเร็วสูง ถึง 2.4 GHz หลายคนคงถามวาจะเลือกซีพียูรุนที่ความเร็วเทาไรดี? คําตอบคือ เลือกรุนที่ตรงกับประสิทธิภาพ ของงาน และเร็วที่สุดเทาที่สามารถซื้อได โดยแบงออกตามความเหมาะสมตามลักษณะของงานที่ทําไดดังนี้
  • 4. 4 ลักษณะของงานที่ตองการ ความเร็วซีพียู งานพิมพเอกสาร ดูหนัง ฟงเพลง และเลน อินเทอรเน็ต งานกราฟก ตกแตงภาพความละเอียดสูง งานสรางมัลติมีเดีย ตัดตอเสียง และวีดีโอ ใชความเร็ว 1.66 GHz ใชความเร็ว 1.8 - 2.0 GHz ใชความเร็ว 2.0 GHz ขึ้นไป 2.2 เลือกยี่หอของซีพียู หากถามวาจะเลือกซื้อซีพียูคายไหนดี เทาที่นิยมกันสวนใหญในปจจุบันก็มี Intel และ AMD เทานั้น (นอกจากนี้ยังมี VIA ซึ่งออกมาสําหรับตลาดระดับลาง) (1) ซีพียูจากคาย intel ซีพียูจาก Intel ผลิตทั้งรุนออกมาสําหรับตลาดระดับลางอยาง Celeron และรุน Pentuim Duo Core และ Core 2 Duo สําหรับตลาดระดับบนที่ตองการ ประสิทธิภาพในการทํางานสูง โดยมากแลวชิปซีพียูจากคาย Intel จะไดรับความ นิยมสูงกวาคายอื่น ๆ เพราะมีเสถียรภาพสูงกวา และรอนนอยกวาเมื่อเทียบกับ AMD ปจจุบัน Intel ผลิตชิปซีพียู Pentium Duo Core และ ชิปซีพียู Core 2 Duo สําหรับตลาด ระดับบน และ Celeron D สําหรับตลาดระดับลาง โดยจุดเดนของ Intel อยูที่เทคโนโลยี Hyper Treading ที่ ชวยใหระบบการทํางานเสมือนมีซีพียูถึง 2 ตัว และความเร็วบัสที่สูงถึง 800 MHz เรื่องความเร็วในการทํางานของซีพียูจากคาย Intel ถือวาเหนือกวาคาย AMD อยูพอสมควร ซึ่ง ปจจุบันซีพียู Core 2 Duo ความเร็วสูงสุดถึง 2.4 GHz แลว สวนตลาดระดับลางที่เลือกใชซีพียู Celeron D ความเร็วที่มีการเปดตัวก็ถือวาอยูในระดับสูงเชนกัน คือ 1.8 GHz (2) ซีพียูจากคาย AMD AMD ถือเปนคูแขงตลอดกาลของ Intel โดยมีชิปซีพียุรุน Sempron สําหรับตลาดราคาประหยัด และ Athlon 64 และ Athlon 64 Fx สําหรับตลาดบน โดยรวมแลวชิปซีพียู AMD มีราคาต่ํากวาพอสมควร เปนทางเลือกของผูที่ตองการ ประหยัดคาใชจาย และในดานประสิทธิภาพก็ถือวาไมดอยกวากัน จุดพลิกผันของ AMD อยูที่การเปดตัวชิปซีพียูที่ทํางานแบบ 64 บิต (เครื่องคอมพิวเตอรทั่วไปจะทํางานอยูที่ 32 บิต) ซึ่งถือเปนชวงเวลาแหงการปฏิวัติการทํางานของซีพียูไปอีก กาวหนึ่ง โดยใชชื่อวา Athlon 64 นั้นถูกผลิตขึ้นมาเพื่อใชกับเครื่องเดสกท็อปโดยเฉพาะ ซึ่งแมวาแอพพลิเคชั่น
  • 5. 5 สวนใหญยังคงทํางานแบบ 32 บิต แตในอนาคตคงไดเห็นโปรแกรมตาง ๆ ที่ทํางานในระบบ 64 บิตมากขึ้น เพื่อ รองรับซีพียูในระดับนี้ AMD เปดตัว Athlon 64 ในการเปนชิปซีพียูที่ทํางานในแบบ 64 บิต พรอมกับ Athlon 64 FX ที่ มุงเนนไปที่ตลาดระดับสูงและAMD Sempron ซึ่งเนนตลาดระดับลาง โดยไมไดมีความสามารถการทํางานแบบ 64 บิตแบบ Athlon 64 AMD เปดตัว AMD Sempron ที่จะมาแทนที่ชิปซีพียูตลาดระดับลางอยาง AMD Duron ซึ่งเคยเปน ทางเลือกของผูที่เลือกใชคอมพิวเตอรราคาประหยัด โดยเปดตัวตั้งแตที่ความเร็ว 1.5 GHz ไปจนถึง 2.0 GHz สวนชิปซีพียูในระดับ 64 บิตที่ทํางานไดทั้งบนแอพพิเคชั่น 32 บิต 64 บิตอยาง Athlon 64 และ Athlon 64 FX ปจจุบัน AMD ยังมีการเปดตัวที่จะกาวไปสูยุคที่ใชเทคโนโลยีการผลิตในระดับ 0.09 นาโนเมตร ที่มีแนวโนมจะ พัฒนาความเร็วของซีพียูใหสูงขึ้นไปไดอีก ซึ่งถือเปนการแขงขันครั้งสําคัญของ AMD ตอ Intel เลยทีเดียว 2.3 เลือกฮีตซิงกระบายความรอนซีพียู จุดสําคัญของการระบายความรอนออกจากซีพียู ก็คือ ทําอยางไร ใหไลความรอนออกจากซีพียูจนเหลือความรอนไมมากพอที่จะทําอันตรายแก ตัวซีพียูเอง ฮีตชิงคก็คืออุปกรณที่เปนตัวระบายความรอนออกจากตัวซีพียู โดยตรง การเลือกฮิตชิงคเพื่อใชรวมกับซีพียู ควรดูคุณสมบัติตางๆ ดังนี้ (1) วัสดุที่ใชผลิตฮีตซิงค โลหะที่ถูกนํามาใชทําฮีตซิงคในปจจุบันจะแตกตางกันไป โดยชนิดของโลหะที่นํามาทําฮีต ซิงคจะมีผลตอการนําความรอน เงินจะนําความรอนไดดีที่สุด รองลงมาคือทองแดง และอลูมิเนียม นอกจากนี้ยัง ตองดูขนาดพัดลมที่ใชคูกับฮีตซิงคดวย สําหรับเรื่องราคา ฮีตซิงคที่ทําจากอลูมิเนียมจะมีราคาต่ําที่สุด ดังนั้นฮีตซิคจึงทําดวยอลูมิเนียม เปนสวนใหญในปจจุบัน สวนทองแดงซึ่งมีราคาสูงกวาแตนําความรอนไดเร็วกวานั้น ปจจุบันก็มีการนํามา รวมกันเพื่อทําเปนฮีตซิงค โดยใหทองแดงเปนตัวนําความรอนออกจากตัวซีพียู (2) เลือกใหตรงกับช็อคเก็ตที่ใช หากเปนกรณีที่เราเลือกซื้ออุปกรณคอมพิวเตอรมาประกอบเอง การเลือกซื้อฮีตซิงคเพื่อมาใช งานรวมกับซีพียูนั้น เราตองเลือกใหตรงกับขนาดของช็อคเก็ตของซีพียูบนเมนบอรดดวย เพราะฮีตซิงคแตละ แบบก็จะถูกออกแบบมาใชงานกับช็อคเก็ตชนิดนั้น ๆ โดยเฉพาะ 3. การเลือกเมนบอรด การเลือกเมนบอรด นาจะเปนอุปกรณลําดับที่ 2 หลังจากเลือกรุน ซีพียูที่ตองการไดแลว โดยนอกจากเลือกรุนที่รองรับกับช็อกเก็ตของซีพียูแลว อีกหลาย ๆ สิ่งที่ตองมองก็คือ จํานวนของสล็อตสําหรับติดตั้งการดตาง ๆ
  • 6. 6 บนเมนบอรด เชน การดแสดงผล การดเสียง หรือการดเครือขาย หรืออาจเลือกแบบใหมีชิปสําหรับทํางานดาน ตาง ๆ ติดตั้งอยูบนเมนบอรดเลยก็ได (On Board) เพื่อเปนการประหยัดพื้นที่ และคาใชจาย 3.1 เลือกชองติดตั้งซีพียูบนเมนบอรด ซีพียูที่มีวางจําหนายในปจจุบันนั้นเปนแบบช็อกเก็ตทั้งซีพียูของคาย Intel , AMD , VIA สวนเรื่อง รายละเอียดของซีพียูวาจะตองใช Socket แบบใด (เชน Socket A , Socket 478) ก็ขึ้นอยูกับซีพียูที่ใช วิธีที่งาย ที่สุดคือ ดูบนกลองสินคาของเมนบอรดวาเปนเมนบอรดสําหรับซีพียูช็อกเก็ตแบบใด รุนของซีพียูและรูปแบบของ Socket สําหรับติดตั้ง ช็อกเก็ต/สล็อต รุนซีพียู Socket 370 Socket 423 Socket 478 Socket A (Socket 462) Socket 775 Socket 393 Socket LGA 1207 Intel Pentium III Intel Celeron (Coppermine) , (Tualatin) Intel Pentium 4 (Willamette) Intel Pentium 4 (Northwood) Intel Celeron (Willamette) AMD Ahlon Thunderbird AMD Duron AMD AthlonXP Intel Celeron รุนใหม ๆ เชน Celeron D, Intel Pentium D, Pentium Duo Core, และ Core 2 Duo Athlon 64 FX, Athlon 64 X2 Athlon 64 Quad FX นอกจากนั้นยังตองดูเรื่องความเร็วบัส (มักเรียกวา FSB : Front Side Bus ) ของเมนบอรดกับซีพียู ดวยวาตรงกันหรือไม หรือสามารถรองรับการอัพเกรดซีพียูรุนใหมในอนาคตไดหรือไม
  • 7. 7 3.2 เลือกชิปเซ็ตบนเมนบอรด นอกจากเลือก socket สําหรับติดตั้งซีพียูบนเมนบอรดที่ตองการไดแลว อีกสิ่งหนึ่งที่ควบคูกันไปก็ คือ ชิปเซ็ต (chipset) ที่ใชบนเมนบอรด ที่เปนสวนควบคุมการทํางานบนเมนบอรด ทําหนาที่ติดตอกับอุปกรณ ตาง ๆ ซึ่งชิปเซ็ตที่เลือกควรมีความนาเชื่อถือไดดวย (1) ชิปเซ็ตจากคาย VIA : เนื่องจากเปนผูผลิตรายใหญที่สุด วางตลาดชิปเซ็ตเร็วที่สุด และมีประสิทธิภาพ อยูในเกณฑดี ชิปเซ็ต VIA จึงไดรับความนิยมสูงที่เดียว (2) ชิปเซ็ตจากคาย Intel : ผลิตชิปเซ็ตใหกับซีพียูของตัวเองเทานั้น แมจะมี ประสิทธิภาพ แตราคาก็มักสูงตามไปดวย ในปจจุบันซีพียูจากคาย Intel มักจะใช ชิปเซ็ตของ Intel และ SIS เปนหลัก (3) ชิปเซ็ตจากคาย SIS : มีชื่อเสียงดานการนําไปใชบนเมนบอรดแบบ Build-in คือ บนเมนบอรดจะประกอบดวยชิปแสดงผล , ชิปเสียง และเครือขาย LAN อยูจน เกือบครบแทบไมตองเสียเงินซื้ออุปกรณเหลานี้มาติดตั้งเพิ่ม 3.3 เลือกชองเสียบการดบนเมนบอรด อีกสิ่งหนึ่งที่สําคัญมาก ๆ ในการเลือกเมนบอรดก็คือ การวางแผนสําหรับติดตั้งการดตาง ๆ ภายหลัง เชน การดแสดงผล การดเครือขาย การดโมเด็ม เปนตน ซึ่งตองลองคํานวณดูวาจะตองใชกับสล็อต ใดบาง และตองใชกี่สล็อต หรือจะเลือกแบบ OnBoard ซึ่งสล็อตตาง ๆ ที่อยูบนเมนบอรดในปจจุบัน ไดแก สวนประกอบ คําอธิบาย สล็อตแบบ PCI เปนชองเสียบการดชนิดอื่น ๆ ซึ่งทํางานที่ความเร็วต่ํากวาสล็อตแบบ AGP คือ 33 MHz สําหรับการดที่ใชรวมกับสล็อตนี้มีหลายชนิด เชน การดเสียง , การดเครือขาย , การดโมเด็ม , การดแสดงผลรุนเกา ๆ เปนตน
  • 8. 8 สวนประกอบ คําอธิบาย สล็อตแบบ AGP สําหรับการติดตั้งการดแสดงผลโดยมีความเร็วหลาย ๆ ระดับ เชน 2x, 4x และ 8x (ทํางานไดที่ความเร็ว 133 MHz 266 MHz และ 533 MHz ตามลําดับ) และตองเลือกใหตรงกับมาตรฐานของการดแสดงผลตัวที่จะ นํามาใชดวย (แบบ 2x , 4x, 8x) สล็อตแบบ PCI Express x16 สําหรับติดตั้งการดแสดงผลแทนสล็อตแบบ AGP มีความกวางของบัสเปน 64 บิต รับสงขอมูลไดแบบสองทิศทาง (Full - Duplex) มีความเร็วในการ รับสงขอมูลสูงที่ x16 มีความเร็ว 8 GB / s ตองตรวจสอบดูวามีอะไรติดตั้งแบบ OnBoard มาใหดวยหรือเปลา เชน มี Sound On Board , VGA on Board หรือเปลา เพราะหากมีอยูแลวก็ไมจะเปนตองติดตั้งการดเสียงหรือการดแสดงผลภายหลังอีก หรืออาจ เลือกเมนบอรดรุนอื่นที่ไมมี On Board เหลานี้ และซื้อการดคุณภาพที่ตองการมาติดตั้งไดเชนกัน 3.4 เลือกสล็อตติดตั้งแรม การเลือกสเปคสําหรับเมนบอรดที่เหลือก็มีสล็อตสําหรับติดตั้ง แรมซึ่งเปนตัวกําหนดวาเราตองเลือกซื้อแรมประเภทใดมาใช (ซึ่งตองดูควบคู กับความเร็วบัสของเมนบอรดดวย) โดยในปจจุบันนั้นมีแรมที่นิยมใชอยู 3 ประเภท คือ สวนประกอบ คําอธิอบาย SDRAM DDR-SDRAM DDR II SDRAM สล็อตแรมแบบเกา ปจจุบันเลิกใชแลว พัฒนามาจาก SDRAM เปนแรมรุนใหมที่มีความเร็ว เมนบอรดรุนใหม ๆ จะมี Slot แบบนี้ นอกจากการเลือกประเภทของแรมแลว ในชั้นตอนการซื้อแรมควรเลือกรุนที่มีความเร็วที่รองรับกับ ความเร็วบัสของเมนบอรดดวย เพราะหากซื้อแรมที่ความเร็วสูงกวาก็ไมสามารถใชงานไดเต็มประสิทธิภาพ แต ความจริงเมนบอรดมักจะบอกรุนของแรมที่สนับสนุนมาใหอยูแลว
  • 9. 9 3.5 เลือกชองเชื่อมตอภายนอก สวนสุดทายที่ตองดูกันก็คือ ชองตออุปกรณภายนอกวามีขั้วตอใดมาใหบางและมีใหเพียงพอ หรือไม เชน ชองตอเมาสและคียบอรด (แบบ PS/2) พอรตขนาน (Parallel Port) พอรตอนุกรม (Serial Port) พอรต USB เปนตน ซึ่งตองดูวาอุปกรณภายนอกใชรูปแบบการเชื่อมตอใดบาง 4. การเลือกแรม สําหรับการเลือกซื้อแรม คุณสมบัติที่ควรนํามาพิจารณาก็คือ ประเภทของแรม ความเร็วแรม และขนาด ความจุ โดยประเภทและความเร็วของแรมก็มาจากการเลือกเมนบอรดในขั้นตอนที่ผานมานั่นเองเพราะ เมนบอรดที่เราเลือกจะกําหนดสล็อตแรมไวแลวรวมทั้งความเร็วของแรมที่เมนบอรดสนับสนุนดวย (ตาม ความเร็วบัสของเมนบอรด) 4.1 คุณสมบัติของแรมแตละรุน ปจจุบันถาเรียงตามลําดับความเร็วในการทํางานของแรมแนนอนวา DDR II SDRAM จะถูกจัด มาเปนอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ RDRAM, DDR-SDRAM และ SDRAM ตามลําดับ แตแรมที่เปนที่นิยมก็คือ DDR- II SDRAM ตารางดานลางแสดงสวนประกอบพื้นฐานของแรมแตละประเภท ไมวาจะเปนดานความเร็ว และรุนซีพียูที่รองรับการทํางานดวย คุณสมบัติ/ชนิดแรม DDR-SDRAM DDR II SDRAM RDRAM ความเร็ว (MHz) รุนซีพียูของเมนบอรดที่ สนับสนุน 200(PC1600) 266(PC2100) 333(PC2700) 400(PC3200) 433(PC3500) Intel Celeron Intel Pentium 4 AMD Duron 400 MHz 533 MHz 677 MHz Intel Celeron D Intel Pentium Duo Core Core 2 Duo 600 , 700 , 800 , 1066 MHz Intel Pentium 4 4.2 สิ่งที่ตองพิจารณาในการเลือกซื้อแรม ในสวนนี้จะขอสรุปหลักสําคัญ ที่จําเปนตองนํามาพิจารณาเมื่อตองการเลือกซื้อแรมมาใช โดยสิ่ง ที่ตองพิจารณาก็คือ ประเภทของแรม ,ขนาดของแรม และความเร็วของแรม ดังรายการตอไปนี้
  • 10. 10 คุณสมบัติตาง ๆ ที่ควรคํานึงถึงในการเลือกซื้อแรม คุณสมบัติ ความหมาย ชนิดของแรม ขนาดของแรม ความเร็วของแรม เลือกใหตรงกับสล็อตติดตั้งบนเมนบอรด ซึ่งปจจุบันมีอยู 2 ประเภท คือ แรมชนิด DDR-SDRAM และ DDR II SDRAM ซึ่งเปนมาตรฐานของแรม ในปจจุบัน ขนาดแรมในปจจุบันมีอยูหลายขนาด ไดแก 256, 512 และ 1024 MB ให พิจารณาจากความตองการการใชงานของเครื่อง สําหรับเครื่องทั่วไปเลือก ขนาด 512 MB ก็เพียงพอ แตสําหรับเครื่องที่ทํางานดานมัลติมีเดีย/กราฟก ระดับสูงก็ควรใชแรมขนาด 1024 MB ขึ้นไป ความเร็วในการทํางานแรมแตละประเภทจะแตกตางกันไป เชน มีความเร็ว DDR-SDRAM มีความเร็วที่ 200 (PC1600) , 266 (PC2100), 333 (PC2700), 400 (PC3200) หรือ 433 (PC3500) MHz และ DDR II SDRAM จะทํางานที่ ความเร็วสูงถึง 533 MHz และ 667 MHz ซึ่งความเร็วนี้ตองรองรับซีพียูที่ใช งานดวยวาทํางานที่ระบบบัสเทาไร 5. การเลือกฮารดดิสก ในแผนโฆษณาของรานคอมพิวเตอร นิยม แสดงคาความจุขอมูลและความเร็วในการทํางาน สงผานขอมูลของฮารดดิสกมาเปนจุดขาย เชน Ultra ATA/100 , 7200 RPM (รอบตอนาที) วิธีการเลือกซื้อ ฮารดดิสกที่เหมาะสมนั้น ตองคํานึงถึงความจุ ฮารดดิสกกับปริมาณขอมูลที่ใชพรอมทั้งเผื่อพื้นที่ สําหรับอนาคตดวย สวนเรื่องความเร็วนาจะเลือกซื้อ รุนความเร็วที่สุดที่สามารถซื้อได 5.1 สิ่งที่ตองพิจารณาในการเลือกฮารดดิสก นอกจากการดูที่ขนาดความจุของฮารดดิสกแลว สิ่งอื่น ๆ ที่ควรมองเพื่อเลือกฮารดดิสกใหได ตรงตามตองการ ยังมีอีกหลาย ๆ องคประกอบ เชน ความเร็วรอบในการทํางานของฮารดดิสก , อัตราการสงผาน ขอมูล เปนตน ดังรายละเอียดตอไปนี้
  • 11. 11 คุณสมบัติตาง ๆที่ควรคํานึงถึงในการเลือกฮารดดิสก คุณสมบัติ ความหมาย ขนาดความจุ อัตราการสงผานขอมูล ความเร็วรอบ เวลาในการเขาถึงขอมูล ขนาดของบัฟเฟอร ปจจุบันฮารดดิสกมีขนาดเปน GB (กิกะไบต) หรือพันลานไบต ความจุ ของฮารดดิสกยิ่งสูงก็ยิ่งมีเนื้อที่เก็บขอมูลมากขึ้น การเลือกขนาดของ ฮารดดิสกนั้นเราตองคิดเผื่อถึงขนาดขอมูลที่จะทํางานในอนาคตดวย ความ จุฮารดดิสกที่มีใหเลือกในปจจุบันมีตั้งแต 80 , 160 , 250, 320 ไปจนถึง 500GB อัตราการสงขอมูลของฮารดดิสกมีหนวยเปน MB/s (ลานไบตตอวินาที) ปจจุบันฮารดดิสกที่มีวางขายอยูจะเปนแบบ Ultra ATA/66 , ATA/100 และ ATA/133 แตเมนบอรดจะตองสนับสนุนกับคาความเร็วเหลานี้ดวย ความเร็วรอบ (RPM ; Round Per Minute) หรือรอบตอนาที ยิ่งจํานวนรอบ ยิ่งสูงอัตราการอานขอมูลตอนาทีก็ยิ่งมาก ฮารดดิสกที่มีวางขายในตลาดจะ มีอยู 3 รุน คือรุน 5400 RPM , 7200 RPM และ10000 RPM แนะนําใหซื้อ ฮารดดิสกแบบ 7200 RPM โดยเฉพาะถางานที่ใชตองเขียนหรืออานไฟล จากฮารดดิสกบอย ๆ ตัวแปรนี้เกี่ยวของกับความเร็วในการอาน/เขียนขอมูลโดยตรง ยิ่งคานี้ นอยมากเทาไร ก็ทําใหการทํางานกับฮารดดิสกเร็วยิ่งขึ้น เวลาในการเขาถึง ขอมูลโดยเฉลี่ยในปจจุบันอยูที่ 8 – 12 มิลลิวินาที (ms) สวนระยะเวลาที่ แนะนําคือ 8-9 มิลลิวินาที ขนาดของบัฟเฟอรของฮารดดิสกทั่วไปจะอยูที่ 2-8 MB ยิ่งบัฟเฟอรมี ขนาดใหญก็ยิ่งดี เพราะในเวลาอานขอมูล ฮารดดิสกจะอานขอมูลไปเก็บไว ที่บัฟเฟอรกอน แลวจึงคอยสงขอมูลออกไป สวนในกรณีรับขอมูลเขามา ก็จะเก็บไวที่บัฟเฟอรกอนแลวจึงคอยเขียนลงแผนดิสกจริง ๆ
  • 12. 12 5.2 ยี่หอฮารดดิสกชื่อดังในปจจุบัน ฮารดดิสกชื่อดังที่มีวางจําหนายในปจจุบันนั้น คอนขางไวใจไดในเรื่องการบริการ และก็มีใหเลือก หลากหลายรุน หลายขนาด (1) IBM : เปนผูผลิตฮารดดิสกที่ไวใจไดมานาน มีคุณภาพ ถือไดวาเปนเจาแหงฮารดดิสก IDE ความเร็วสูง มีความจุใหเลือกกันตั้งแต 20 GB ไปถึง 180 GB (2) Maxtor : เปนฮารดดิสกราคาถูก แตเรื่องความจุนี่เรียกไดวานําคายอื่น ๆ ทําใหถือไดวาคุมคา นาซื้อมาใชงาน กับราคาที่คอนขางถูกกวา (3) Seagate : หากวากันถึงเรื่องบริการหลังการขาย และการรับประกันแลว คงตองยกใหกับ ฮารดดิสกของทางคาย Seagate มีผูนิยมใชคอนขางมาก รวมถึงราคาที่ไมสูงมากอีกดวย (4) Quantum : อีกหนึ่งบริษัทผูผลิตฮารดดิสกชั้นนํา เปนผูคิดคนอินเทอรเฟสแบบ Ultra ATA/100 นับเปนผูผลิตฮารดดิสกความเร็วสูงอีกบริษัทหนึ่งเชนกัน (5) Western : บริษัทผูผลิตฮารดดิสกคุณภาพ โอนถายขอมูลไดดวยความเร็วสูง ดวยราคาที่ไม สูงเกินไป และมีความทนทาน เปนฮารดดิสกที่คุนเคยอีกคายหนึ่ง 6. การเลือกการดแสดงผล ปจจุบันการดแสดงผลมีราคาถูกลง จึงมีคนหันมานิยมใชการดแสดงผลคุณภาพดี ๆ กันมาก แตกอนที่ จะตัดสินใจเลือกซื้อการด ตองดูกอนวาจะใชงานโปรแกรมที่ตองการความสามารถของการด 3 มิติหรือไม ถา ไมก็ไมจําเปนตองซื้อการด 3 มิติก็ได ใชการดแสดงผลแบบทั่วไป ซึ่งมีราคาถูก แตมีความสามารถเรื่อง 3 มิติใหใชงานอยูบาง 6.1 เลือกชิปบนการดแสดงผล ความจริงชิปบนการดแสดงผลนั้นมีผูผลิตอยูหลาย ๆ รายดวยกัน แตผูที่ครองความนิยม และ แขงขันกันมาหลาย ๆ ปในระยะหลังเห็นจะไดแกชิปแสดงผลจาก nVidia และจากทางคาย ATi นั่นเอง สําหรับจุดเดนตาง ๆ ของแตละคายเพื่อเปนขอมูลในการตัดสินใจเลือกซื้อมีดังนี้ (1) ชิป nVidia : ถือเปนผูผลิตชิปแสดงผลที่ไดรับความนิยม มากที่สุด มี การพัฒนาเทคโนโลยีดานตาง ๆ ใหเห็นอยางตอเนื่อง ชิปที่ เราคุนชื่อกันจากคาย nVidia ก็คือ ชิปในตระกูล GeForce และ TNT โดย รุนลาสุดที่ออกมาก็คือ GeForce FX (2) ชิป ATi : เปนผูผลิตชิปกราฟกคุณภาพสูง ที่มักมี คุณสมบัติอื่น ๆ เพิ่มเติมเขามาดวย เชน รับสัญญาณวิดีโอ ตัดตอออกทีวี เปนตน ATi กาวมายืนเปนผูนําคูกับ nVidia ในปจจุบัน โดยรุนที่ออกมาสรางความฮือฮา ลาสุดก็คือ Redeon
  • 13. 13 6.2 สิ่งที่ตองพิจารณาในการเลือกซื้อการดแสดงผล นอกจากการดูจากชิปแสดงผลบนการดแลว ยังมีสิ่งที่เราจําเปนตองคํานึงถึงในการเลือกซื้อ การดแสดงผลอีกหลาย ๆ ตัว เชน อินเทอรเฟสของการด , ชนิดและขนาดของหนวยความจําบนการด เปนตน ดังรายละเอียดตอไปนี้ คุณสมบัติตาง ๆ ที่เราควรคํานึงถึงในการเลือกซื้อการดแสดงผล คุณสมบัติ ความหมาย อินเทอรเฟสของการด การดแสดงผลใชกับสล็อต AGP ซึ่งมีอยู 3 มาตรฐานดวยกัน คือ AGP 2X , AGP 4X และ AGP 8X ซึ่งทํางานที่ความเร็ว 133 MHz , 266 MHz และ 533 MHz ตามลําดับ ตองเลือกการดที่สนับสนุนการทํางานรวมกับ เมนบอรดดวย เพราะหากซื้อการดที่ทํางานดวยความเร็วสูงกวาก็ไมสามารถ ทํางานไดเต็มประสิทธิภาพอยูดีนั่นเอง การดแสดงผลรุนใหมจะใช interface แบบ PCI Express x16 ซึ่งมี ความเร็วสูงถึง 8 GB / s ความกวางของบัสเปน 64 บิต สามารถรับสง ขอมูลได 2 ทิศทาง (Full - Duplex) ชนิดของแรมบนการด แรมที่มีการนํามาใชบนการดแสดงผลคือ DDR SDRAM ซึ่งแบบ เดียวกันกับที่ติดตั้งบนเมนบอรด และ DDR II - SDRAM ที่พัฒนาตอจาก DDR SDRAM โดยทํางานไดที่ความเร็วสูงขึ้น ขนาดแรมบนการด ขนาดความจุของแรมที่ใช ซึ่งเปนตัวกําหนดความเร็วในการทํางานของ การดแสดงผลดวย ยิ่งแรมมากเทาไร ก็ชวยใหสามารถปรับความคมชัดของ สี/คาความลึกของสีไดมากขึ้น (ปจจุบันอยูที่ 128 – 512 MB) 7. การเลือกจอแสดงผล จอแสดงผล (monitor) เปนสวนประกอบของคอมพิวเตอรที่ตองนั่งทํางานดวยอยูตลอด ดังนั้นการ เลือกใชจอแสดงผลที่เหมาะสม ก็จะทําใหการทํางานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และปองกันผลแทรกซอนที่ อาจเกิดขึ้นจากการทํางานอยูหนาจอคอมพิวเตอรเปนระยะเวลานาน ๆ ดวย 7.1 เลือกชนิดของจอแสดงผล สิ่งแรกที่ควรใหความสนใจในการเลือกซื้อจอแสดงผลก็คือ ประเภทของจอแสดงผลนั่นเอง โดย จอแตละชนิดก็จะมีขอดีและขอเสียตาง ๆ กันไปดังนี้
  • 14. 14 (1) จอแสดงผลแบบ CRT จอ CRT ใชหลอดภาพเปนแหลงกําเนิดแสง โดยการยิงอิเล็กตรอนมาชน ตะแกรงที่เคลือบสารเรืองแสงไวสารเรืองแสงที่อิเล็กตรอนชนก็จะสวางขึ้นมา จอแบบ CRT นี้เราตางรูจักกันดีในชื่อของ จอมอมิเตอรทั่วไป , จอทีวี รวมทั้งจอแบบ Trinitron ดวย ปจจุบันมีการพัฒนาใหหนาจอมีลักษณะแบนราบที่เรียกวา Flat Trinitron เพื่อใหสามารถมี พื้นที่ในการมองไดมากกวา และมีสีสันสวยงามขึ้น จอประเภทนี้มีราคาต่ํา แตขอเสียคือเปลืองพื้นที่ในการวาง หนาจอพอสมควร เมื่อเทียบกับจอแสดงผลแบบ LCD (2) จอแสดงผลแบบ LCD จอ LCD เปนจอแบบสะทอนแสง โดยอาศัยการเปลี่ยนคุณสมบัติการสะทอนแสงของผิว หนาจอ ทําใหสะทอนเฉพาะแสงในสวนของสีที่ตองการเขาสูตาผูใช จอ LCD เปน จอที่สามารถทํางานดวยไดเปนเวลานานไมทําใหสายตาเมื่อยลา และใชพื้นที่ในวาง นอย แตขอเสียคือราคาสูงกวาจอ CRT 7.2 สิ่งที่ตองพิจารณาในการเลือกซื้อจอแสดงผล นอกจากประเภทของจอแสดงผลแลว ยังมีปจจัยอีกหลาย ๆ ตัวที่ควรนํามาพิจารณาดวย เชน ขนาดหนาจอ ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของงานนั่นเอง , อัตราการรีเฟรชของหนาจอ ถามีคามากก็จะชวยถนอม สายตาไดเชนกัน เปนตน ดังรายละเอียดตอไปนี้ คุณสมบัติตาง ๆ ที่ควรคํานึงถึงในการเลือกจอแสดงผล คุณสมบัติ ความหมาย ประเภทของจอแสดงผล ถาจําเปนตองใชคอมพิวเตอรติดกันเปนเวลานาน ๆ 4-8 ช.ม. โดยมีเวลา หยุดพักสายตาไมมาก แนะนําใหซื้อจอ CRT แบบ Flat Trinitron หรือจอ LCD จะดีกวา แตถาไมมีงบพอ หรือมีชวงเวลาพักสายตาอยูบางก็ใชจอ แบบ CRT ก็เพียงพอแลว รังสีจากจอแสดงผล การเลือกจอมอนิเตอรแบบ CRT ควรเลือกแบบที่รังสีต่ํา (Low Radiation) เพราะผลเสียจากรังสีมีตั้งแตทําใหปวดหัว, ปวดตา, เวียน ศีรษะ , ทําใหสายตาสั้น และมีผลตอแกวตา สวนจอ LCD หรือจอ Plasma Display จอประเภทนี้รังสีต่ํามาก
  • 15. 15 คุณสมบัติ ความหมาย อัตราการแสดงภาพ เลือกรุนที่มี Refresh Rate สูง ๆ 75 Hz ขึ้นไป เนื่องจากถา Refresh Rate ต่ํา ก็จะเห็นจอกระพริบอยูตลอด นั่นจะทําใหปวดหัว ปวดตาได เหมือนกัน ขนาดของจอภาพ มาตรฐานขนาดของจอภาพเชน 15 นิ้ว 17 นิ้ว หรือ 19 นิ้ว ขอดีของ จอ 17 นิ้วก็คือเหมาะสําหรับงานออกแบบกราฟก เพราะมีพื้นที่มากกวา แตมีราคาสูงกวาจอ 15 นิ้ว 8. การเลือกการดเสียง การดเสียงกลายมาเปนอุปกรณหนึ่งที่ขาดไมไดสําหรับการใชงานคอมพิวเตอรเพราะความสามารถ ทางดานเสียงของโปรแกรมตาง ๆ รวมทั้งสื่อบันเทิง และเกมที่ตองมีระบบเสียงเขามารวมดวยเสมอ การเลือก ซื้อการดเสียงควรพิจารณาสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้ 8.1 มาตรฐานของการดเสียง การดเสียงในปจจุบันนั้น มีอยู 2 แบบดวยกัน คือ แบบที่ติดตั้งเปนชิปเสียงมาพรอมกับเมนบอรด และแบบเปนการดเชื่อมตอมาตรฐานตาง ๆ ดังนี้ (1) แบบ Sound Onboard คือ การติดตั้งชิปเสียงมาพรอมกับตัวเมนบอรด ซึ่งคุณภาพของเสียง ที่ไดในที่นี้จะอยูในระดับปานกลางเทานั้น แตขอดีก็คือราคาถูก ไมตองหาซื้อการดเสียงแยกมาติดตั้งเพิ่ม ตางหากภายหลัง (2) แบบการดเชื่อมตอ : หากตองการคุณภาพมากขึ้น หรือเมนบอรดไมไดติดตั้งการดเสียงมาให ก็ตองซื้อการดเสียงมาติดตั้งเพิ่ม โดยมีมาตรฐานการเชื่อมตอ เชน การเชื่อมตอแบบ PCI 8.2 คุณภาพของการดเสียง โดยสิ่งที่ตองคํานึงถึงสําหรับการเลือกซื้อการดเสียง ก็คือคุณภาพของเสียงวาตองการในระดับใด เชน ทํางานกับการตัดตอเสียง หรือตองการสรางโฮมเธียรเตอร ก็คงตองเลือกการดเสียงที่มีคุณภาพดีซักหนอย (1) การดเสียงสําหรับดูหนังฟงเพลงทั่วไป : หากตองการใชงานดานเสียงเกี่ยวกับงานทั่ว ๆ ไป เชน ดูหนัง/ฟงเพลง/เลนเกม บันทึกเสียงผานไมโครโฟน เพื่อประกอบงานพรีเซนเตชั่น รองเพลงคาราโอเกะ
  • 16. 16 หรือสนทนาพูดคุยกับเพื่อนผานทางอินเทอรเน็ต ซึ่งอาจไมตองการคุณภาพเสียงที่สูงมากนักเปนระบบ สเตอริโอแบบธรรมดา สวนใหญก็จะใชการดเสียงยี่หอ Yamaha ที่มีราคาไมเกิน 1 พันบาทหรือจะเลือกใช ชิปเสียง Sound Onboard ที่มาพรอมกับเมนบอรดก็ได (2) การดเสียงสําหรับโฮมเธียรเตอร : หลาย ๆ คนหันมาดูหนัง/ฟงเพลงผานทางคอมพิวเตอร ดวยระบบเสียงและภาพที่ไดคุณภาพ ซึ่งมักจะรวมๆ วา โฮมเธียรเตอร โดยเฉพาะการเขามาของมาตรฐาน DVD ที่ใหภาพเสียงคมชัด ระบบเสียงที่ใชบนเครื่องควรจะรองรับดวย (คูกับลําโพงที่ใชระบบเสียง 5.1 Channel ที่ใชลําโพง 6 ตัว) การดเสียงที่เหมาะสําหรับระบบนี้ คือตองมีชอง Audio Out 3 ชอง (6 ลําโพง) และ สนับสนุนการแปลงไฟลเสียงในระบบ PCM 96KHz/ 24Bit ที่ใชกับระบบเสียง 5.1 Channel เชน การด เสียง ของคาย Creative (2) การดเสียงสําหรับงานสรางดนตรี : นอกจากการแสดงเสียงซึ่งเปนหนาที่หลักของการดเสียง แลวการสรางเสียงก็เปนอีกหนึ่งที่ถูกนํามาใชดวยเชนกัน การสรางเสียงดนตรีจากไฟล MIDI ดวยโปรแกรม ดนตรีตาง ๆ เชน Cake Walk, Encore เปนตน การพิจารณาการดเสียงสําหรับงานประเภทสรางเสียงดนตรี ควรพิจารณาใหลึกลงไปอีก ดังนี้ • ชองสัญญาณเขา/ออก : สําหรับงานสรางดนตรี นาจะมีชองสัญญาณครบถวน เชน MIDI ,ไมโครโฟน , เสียงออกลําโพง 5.1 Channel และสัญญาณเขา • คุณภาพเสียง : จะดูกันที่จํานวน Bit และ Sample Rate คือยิ่งมากยิ่งดี ถาเปนระดับ ธรรมดาก็อยูที่ 16-20 Bit สวนความถี่ก็นาจะเปน 48 MHz ขึ้นไป หรือถาไดถึง 96 MHz ก็ดี • ซอฟทแวรแถม : คาย Creative มักมีซอฟทแวรแถมมาดวย ซึ่งสามารถทํางานเขากันดี กับการดเสียง ซึ่งทําใหดึงประสิทธิภาพของการดเสียงออกมาไดเต็มที่ 9. การเลือกไดรฟซีดี / ดีวีดี ไดรฟซีดีกลายมาเปนอุปกรณสําคัญที่ขาดไมไดสําหรับผูใชคอมพิวเตอร ซึ่งเมื่อเราพูดถึงไดรฟซีดี ใน ภาพรวมอาจหมายถึงเครื่องอานแผนซีดีทั่วไป ซึ่งความจริงแลวไดรฟประเภทนี้แบงออกไดเปนหลาย ๆ ประเภท ที่เราควรเลือกมาใชเหมาะสมกับงานของเรามากที่สุด 9.1 ประเภทของไดรฟซีดี / ดีวีดี ไดรฟสําหรับอาน/เขียนแผนซีดี/ดีวีดี แบงออกเปนประเภทตาง ๆ ตามความสามารถของไดรฟได ดังนี้ (1) ไดรฟซีดีรอม (CD-ROM Drive) เปนแบบที่อานแผนซีดีไดอยาง เดียว ไมสามารถเขียนขอมูลลงบนแผนซีดีได
  • 17. 17 (2) ไดรฟซีดีอารดับบลิว (CD-RW Drive) เปนแบบที่สามารถเขียน ขอมูลลงไดซ้ําๆ กันหลายครั้งลงบนแผนซีดีชนิดพิเศษ (แผน CD-R และแผน CD-RW)และสามารถอานแผนซีดีตางๆ ไดตามปกติ (3) ไดรฟดีวีดีรอม (DVD-ROM Drive) เปนแบบที่อานแผนแบบดีวีดี และแผนซีดีธรรมดาได แตไมสามารถเขียนขอมูลลงบนแผนซีดี หรือแผนดีวีดีได (4) ไดรฟคอมโบ (Combo Drive) เปนไดรฟที่รวมเอาความสามารถระหวางไดรฟ CD-RW กับ DVD-ROM ไวดวยกัน คือสามารถเขียนขอมูลลงแผนซีดีได พรอมกับอานแผน DVD ไดดวย (5) ไดรฟดีวีดีอารดับบลิว (DVD-RW Drive) เปนไดรฟที่ ราคาแพงที่สุด แตมากดวยความสามารถคือเขียนไดทั้งบนแผน DVD-R/RW , CD-R/RW พรอมทั้งสามารถอานแผนซีดี และ แผนดีวีดีไดตามปกติดวย 9.2 สิ่งที่ควรพิจารณาในการเลือกซื้อไดรฟซีดี/ดีวีดี หลังจากเลือกประเภทของไดรฟที่ตองการแลว คุณสมบัติตางๆ ของไดรฟที่ตองนํามาพิจารณา ประกอบมีหลายๆ ตัวดวยกัน เชน ความเร็วในการอาน/เขียนขอมูล ขนาดบัฟเฟอรของไดรฟที่จะชวยในการ เขียนขอมูลทําไดเร็วขึ้น ดังรายละเอียดตอไปนี้ คุณสมบัติตางๆ ที่ควรคํานึงถึงในการเลือกซื้อไดรฟซีดี/ดีวีดี คุณสมบัติ ความหมาย ความเร็ว เปนตัวเลขที่ระบุไว เชน 52x 32x 52x เลขตัวแรกเปนความเร็วในการเขียน แผน CD-R ตัวที่สองคือความเร็วในการเขียนแผน CD-RW และตัวเลข สุดทายคือความเร็วในการอานขอมูล (โดย 1x มีความเร็วเทากับ 150 KB/s แต 1x ของไดรฟดีวีดีจะเทากับ 1350 KB/s สําหรับแผนดีวีดี และ 600 KB / s สําหรับแผนซีดีธรรมดา) ความเร็วเปนปจจัยหลักที่ตองคํานึงในการ เลือกซื้อ
  • 18. 18 คุณสมบัติ ความหมาย ขนาดบัฟเฟอร โดยมากขนาดของบัฟเฟอร จะเทากับเครื่องหนึ่งของความเร็วในการเขียน แผน CD-R บัฟเฟอรที่มีขนาดใหญ จะชวยทําใหการอานและเขียนขอมูลมี ความเร็วยิ่งขึ้น รูปแบบของไดรฟ ปจจุบันซีดีไดรฟมีใหเลือกทั้งแบบเชื่อมตอภายใน (Internal) และแบบ เชื่อมตอภายนอก (External) ซึ่งแบบ External ขอดีของไดรฟแบบติดตั้ง ภายนอกก็คือ สามารถติดตั้งและเคลื่อนยายไดงาย แตราคาแพงกวาและตอง ใชเนื้อที่ในการวางไดรฟ รูปแบบการเชื่อมตอ ปจจุบันไดรฟดีวีดีมีรูปแบบการเชื่อมตอใหเลือก 2 ประเภท คือ แบบ IDE ดั้งเดิม และแบบ S-ATA ซึ่งเปนเทคโนโลยีใหมที่ไดรับความนิยมใน ปจจุบันและมีความเร็วสูง 10. การเลือกโมเด็ม โมเด็ม (Modem) เปนอีกอุปกรณหนึ่งที่คูกับคอมพิวเตอรใน ปจจุบัน เนื่องจากการเขามาของโลกอินเทอรเน็ต และโมเด็มก็คือสิ่งที่ เชื่อมคอมพิวเตอรเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ตนั่นเอง 10.1 เลือกระหวางโมเด็ม Internal หรือ External โมเด็มในปจจุบันแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ แบบติดตั้งภายใน (Internal Modem) และ แบบติดตั้งภายนอก (External Modem) ซึ่งมีขอดี/ขอเสียแตกตางกันไป ดังนี้ สรุปขอดี/ขอเสียของโมเด็มแบบติดตั้งภายใน ขอดี ขอเสีย - ไมสิ้นเปลืองพื้นที่ เพราะติดตั้งไวอยู ภายในตัวเคสของคอมพิวเตอร - ราคาต่ํากวาโมเด็มแบบภายนอก - ติดตั้งยาก เพราะตองเปดฝาเครื่อง และ เชื่อมตอกับสล็อตบนเมนบอรด - ไมมีไฟแสดงสถานการณทํางาน - ดึงพลังงานซีพียูมาใช ซึ่งอาจทําให ซีพียูทํางานไดชาลงไปบาง
  • 19. 19 สรุปขอดี/ขอเสียของโมเด็มแบบภายนอก ขอดี ขอเสีย - เคลื่อนยายไปใชงานระหวางเครื่องได งาย - มีไฟกระพริบแสดงสถานการณทํางาน - ติดตั้งไดงายกวา เพื่อเชื่อมตอเขาทาง พอรตเชื่อมตอของคอมพิวเตอรเทานั้น - ราคาสูงกวาโมเด็มแบบติดตั้งภายใน - ใชพื้นที่ในการวางตัวโมเด็มภายนอก 10.2 เลือกมาตรฐานเชื่อมตอ และคุณสมบัติพิเศษ มาตรฐานของโมเด็มในปจจุบัน สวนใหญก็คือ V.90 และ V.92 คืออัตรารับขอมูลอยูที่ 56K สวนคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ ในโมเด็ม ก็ขึ้นกับความตองการของผูใช เชน หากตองการใชรับ/สงแฟกซดวยก็ เลือก Fax/Modem หรือโมเด็มที่สามารถจัดการเสียงของสายเรียกเขาไดดวยก็เลือก Voice Modem เปนตน 11. การเลือกเครื่องพิมพ เครื่องพิมพมีอยูหลายๆ ประเภท และเปนสิ่งที่ขาดไมไดสําหรับการใชงานรวมกับคอมพิวเตอรใน ปจจุบัน การเลือกเครื่องพิมพที่เหมาะสมก็เปนอีกเรื่องหนึ่งที่ควรใหความสําคัญเชนกับการเลือกซื้อ คอมพิวเตอร 11.1 เลือกเครื่องพิมพใหเหมาะกับการใชงาน กอนเลือกเครื่องพิมพจะตองยอนกลับมาถามตัวเองวา ตองการเครื่องพิมพมาทํางานแบบใด โดยสามารถแยกออกเปนงานตามชนิดของเครื่องพิมพ ไดดังนี้ (1) เครื่องพิมพเลเซอร : ใชพิมพงานเอสาร มีความละเอียดมาก ที่สุด และมีความสูงสุดในบรรดาเครื่องพิมพทั้งหลาย มี 2 แบบ คือแบบขาว/ดํา เหมาะสําหรับงานพิมพใน สํานักงาน และแบบสี สําหรับงานพิมพชั้นสูง (2) เครื่องพิมพอิงคเจ็ต : ใชพิมพงานสี มีความละเอียดนอย กวาเครื่องพิมพแบบเลเซอร ราคาเครื่องถูก แตหมึกพิมพแพง เหมาะ สําหรับงานสี อารตเวิรค สิ่งพิมพและรูปถาย สติกเกอร หากจะใชในงานพิมพขาว/ดํา ราคา หมึกตอแผนจะสูเครื่องพิมพแบบเลเซอรไมได
  • 20. 20 (3) เครื่องพิมพดอตเมทริกซ : มีความละเอียดต่ํา ราคาหมึก ถูก แตพิมพชา เสียงดัง ปจจุบันถูกนํามาใชแคการพิมพ กระดาษไขสําหรับโรเนียว หรือพิมพโดยซอนกระดาษ คารบอนเทานั้น 11.2 เลือกคุณภาพของงานพิมพ งานพิมพที่ออกมา (โดยเฉพาะภาพสี) นั้นจะดีมากหรือนอยมีผลมาจาก 3 สวนดวยกันคือ ไฟลที่นํามาพิมพนั้นละเอียดแคไหน สีสวยแคไหน ตอจากนั้นก็ขึ้นอยูกับความละเอียดของเครื่องพิมพที่ตอง นํามาพิจารณา (จํานวนพิกเซล) และสุดทายก็คือกระดาษที่นํามาใชในงานพิมพ 11.3 ราคาหมึกพิมพ สังเกตดูหมึกพิมพที่ใชรวมกับเครื่องพิมพที่กําลังจะซื้อกอน วาราคาอยูที่เทาไร พิมพไดกี่ แผน/หมึกพิมพ เพราะราคาเครื่องพิมพสวนใหญจะไมสูงมาก แตจะมีปญหาที่เรื่องของหมึกนี่เอง หรือหมึก พิมพบางรุนก็หาซื้อยาก ตองไปซื้อที่ศูนยบริการเทานั้น หรือเลือกแบบหมึกที่สามารถเติมได ซึ่งอาจชวย ประหยัดราคาหมึกแตก็ตองเสี่ยงเรื่องอายุการใชงานของหัวพิมพ 12. การเลือกเคส เคส (Case) หรือตัวถังของเครื่องคอมพิวเตอร เปนสวน สําหรับติดตั้งเมนบอรด และมีชวงตออุปกรณภายนอกตางๆ อยูบริเวณดานหลัง เพื่อปองกันสิ่งสกปรกเชาไปทําใหอุปกรณภายในเกิดความเสียหาย ในการเลือกซื้อเคสตองดูเมนบอรดวาเปนแบบใด แบบ ATX หรือแบบ MicroATX สั้นหรือยาวไหน โดยตองดูโครงสรางของเคสดวย ลักษณะของเคสที่ดี ตองมีระบบระบายอากาศดีพอสมควร เพื่อไมใหอุปกรณที่ทํางานอยูภายในเกิดความ รอนขึ้นมากเกินไป เคสในปจจุบันนั้นมีทั้งเคสที่ทําจากพลาสติก ที่ชวยปองกันไฟ ดูดได และมีน้ําหนักเบากวาเคสที่ทําจากโลหะ ซึ่งมีความแข็งแรง และทนทานกวา 13. การเลือกเพาเวอรซัพพลาย อีกสิ่งหนึ่งที่ควรพิจารณารวมดวยในการเลือกซื้อเคส ก็คือการเลือก Power Supply ซึ่งจะถูกติดตั้งมา พรอมกับเคสดวยอยูแลว ซึ่งหากเลือกซื้อแบบนํามาประกอบเครื่องเอง ก็ควรเลือกใหตรงกับเมนบอรด และ ซีพียูที่ใชดวย เชน เมนบอรดแบบ ATX ในปจจุบันนอกจากขั้วจายไฟของเมนบอรดแลว (ATX PWR) จะมี ขั้วจายไฟสําหรับซีพียูขึ้นมาอีก 1 ตําแหนง (ATX 12V Connector) เปนตน