SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
คดีหมายเลขดาที่ ...................../๒๕..................
ศาลปกครองกลาง
วันที่ ๑๓ เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๕๗
ข้าพเจ้า นายสมศักดิ์ ดารงกิจถาวร ผู้ฟ้องคดีที่ ๑
เกิดวันที่ ๒ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๔ อายุ ๔๓ ปี อาชีพ รับจ้าง
อยู่ที่บ้านเลขที่ ๔ ถนน ราชมรรคา ตรอก/ซอย ๒
ตาบล/แขวง สนามจันทร์ อาเภอ/เขต เมือง
จังหวัด นครปฐม รหัสไปรษณีย์ ๗๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๙๑๖๖๕๐๐๔
ข้าพเจ้า นายไพรัช ดารงกิจถาวร ผู้ฟ้องคดีที่ ๒
เกิดวันที่ ๒๔ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๒ อายุ ๔๕ ปี อาชีพ อาจารย์มหาวิทยาลัย
อยู่ที่บ้านเลขที่ ๙๑/๘ หมู่ ๕ ตาบล/แขวง สนามจันทร์ อาเภอ/เขต เมือง
จังหวัด นครปฐม รหัสไปรษณีย์ ๗๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๓๒๓๒๑๑๒๒
มีความประสงค์ขอฟ้อง แพทยสภา ที่ ๑ คณะกรรมการแพทยสภา ที่ ๒
อยู่ที่ อาคาร ๖ ชั้น ๗ ตึกสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
ถนน ติวานนท์ จังหวัด นนทบุรี รหัสไปรษณีย์ ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๒ – ๕๙๐๑๘๘๖
รายละเอียดของการกระทา ข้อเท็จจริง หรือพฤติการณ์ เกี่ยวกับการกระทาที่เป็น
เหตุให้เกิดความเดือดร้อนเสียหายที่พอเข้าใจได้
ข้อ ๑ ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ และที่ ๒ เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของนางไข ดารงกิจ
ถาวร รายละเอียดปรากฏตามเอกสารสาเนาบัตรประชาชนและสาเนาทะเบียนบ้าน เอกสาร
ท้ายคาฟ้องหมายเลข ๑
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ เป็นองค์กรของรัฐตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.
๒๕๒๕ โดยมีผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ เป็นผู้บริหารองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ในการดูแลผู้ประกอบ
วิชาชีพเวชกรรมให้ปฏิบัติถูกต้องตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
หมายเหตุ ๑. คาฟ้องต้องใช้ถ้อยคาสุภาพและให้ทาเป็นภาษาไทย
๒. ผู้ฟ้องคดีแนบพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับคาฟ้อง ถ้าไม่อาจแนบพยานหลักฐานมาได้ ให้ระบุเหตุที่ไม่อาจแนบพยานหลักฐานไว้ด้วย
๓. ผู้ฟ้องคดีต้องจัดทาสาเนาคาฟ้อง และสาเนาพยานหลักฐานที่ผู้ฟ้องคดีรับรองสาเนาถูกต้องตามจานวนของผู้ถูกฟ้องคดียื่นมาพร้อมกับคาฟ้อง
๔. การจัดทาคาฟ้อง ผู้ฟ้องคดีไม่จาเป็นต้องทาตามรูปแบบของคาฟ้องนี้ แต่ต้องมีเนื้อหาสาระสาคัญครบถ้วนตามที่ระบุไว้นี้
คาฟ้ อง
(ค.๑)
แผ่นที่ ..๒..
ข้อ ๒ เมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ นางไขฯผู้ตายได้หกล้มก้น
กระแทกพื้นปูน ไม่สามารถลุกขึ้นยืนได้ ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ และที่ ๒ จึงนานางไขฯ ไปรักษาตัวที่
โรงพยาบาลสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นสถานพยาบาลเอกชนที่ผู้ฟ้องคดีทั้งสอง เชื่อ
ว่าดีที่สุดในจังหวัดนครปฐมและอยู่ใกล้บ้านของนางไขฯ นายแพทย์วสุ เตชะไพฑูรย์ ซึ่งเป็น
แพทย์เจ้าของไข้และเป็นแพทย์ออร์โธปิดิกส์ของโรงพยาบาลสนามจันทร์ ได้ตรวจและวินิจฉัยว่า
นางไขฯ กระดูกข้อสะโพกหักต้องรักษาด้วยวิธีผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม และนายแพทย์วสุฯ
ได้ทาการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมให้แก่นางไขฯ ในวันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เวลา
๒๐.๐๐ น. โดยมีนายแพทย์สมชาย อมรโยธินเป็นวิสัญญีแพทย์ทาหน้าที่บล็อคหลังก่อนการ
ผ่าตัดและมีนายแพทย์สุชาติ เดชวรกุล อายุรแพทย์ดูแลคนไข้ก่อนและหลังผ่าตัด หลังผ่าตัด
เวลาประมาณ ๒๓.๐๐ น.นางไขฯได้ถูกย้ายมาถึงห้องพักคนไข้เดิมก่อนผ่าตัดในสภาพหลับบน
รถเข็นนอน พยาบาลและผู้ฟ้องคดีที่ ๑ จึงได้ช่วยกันย้ายนางไขฯ ลงบนเตียงคนไข้ซึ่งนางไขฯ
ก็ยังคงหลับไม่ลืมตาแต่อย่างใด หลังจากนั้นผู้ฟ้องคดีที่ ๑ กับนายขันติ ดารงกิจถาวร ซึ่งเป็น
บิดาผู้ฟ้องคดีทั้งสองได้นอนเฝ้าไข้นางไขฯที่ห้องพักผู้ป่วย จนเวลาประมาณ ๐๖.๐๐ น.วันที่
๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ นายขันติฯ ได้ตื่นขึ้นมาเห็นนางไขฯ นอนน้าลายฟูมปากอยู่บน
เตียงคนไข้ จึงได้ไปตามพยาบาลมาช่วยปฐมพยาบาลจนนางไขฯถูกนาตัวไปยังห้องไอซียู
ต่อมามีแพทย์ระบบประสาทของโรงพยาบาลสนามจันทร์เข้ามาตรวจและได้สั่งให้มีการเอ็กซเรย์
สมองนางไขฯ และแพทย์ได้รายงานภาวะนางไขฯ ให้กับญาตินางไขฯ ว่าคนไข้เกิดภาวะสมอง
ซีกขวาขาดเลือดบริเวณกว้างทาให้แขนขาข้างซ้ายอ่อนแรง แพทย์ได้ทาการรักษานางไขฯต่อ
แต่ภาวะของนางไขฯไม่ดีขึ้นจนแพทย์สั่งให้มีการเอ็กซเรย์สมองอีกครั้งจนนายแพทย์สมชัย ตั้ง
บาเพ็ญสุนทร ซึ่งเป็นศัลยแพทย์ระบบประสาทโรงพยาบาลสนามจันทร์ได้ตรวจอาการและ
อธิบายสภาวะของนางไขฯ ให้ญาติทั้งหมดฟังและบอกแนวทางการรักษาและความเสี่ยงโดย
แผ่นที่ ..๓..
สรุปได้ว่าคนไข้มีภาวะสมองขาดเลือดและบวม ต้องทาการผ่าตัดสมอง แต่มีความเสี่ยงเสียชีวิต
ภายหลังผ่าตัด ๘๐ – ๙๐ เปอร์เซ็นต์ หากรอดชีวิตจะพิการตลอดชีวิตให้ญาติตัดสินใจ แต่ถ้า
ไม่ทาการผ่าตัดก็ให้รักษาไปตามอาการ คนไข้จะอยู่ได้เท่าไรก็ขึ้นอยู่กับอายุขัยของคนไข้ ญาติ
นางไขฯ ทั้งหมดได้ปรึกษากันแล้วเห็นร่วมกันว่าจะไม่ให้แพทย์ผ่าตัดและเลือกที่จะขอย้ายนาง
ไขฯ ไปรักษาตัวระยะสุดท้ายต่อที่โรงพยาบาลศูนย์นครปฐมตามสิทธิการรักษาโครงการ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า(บัตรทอง) ด้วยเหตุผลที่ไม่มีความเชื่อมั่นกับทีมแพทย์ของ
โรงพยาบาลสนามจันทร์อีกต่อไปและการเลือกที่จะไม่ให้แพทย์ผ่าตัดนางไขฯโดยเลือกที่จะ
รักษาตามอาการเท่านั้นก็ไม่จาเป็นต้องอยู่รักษาตัวในโรงพยาบาลเอกชนที่มีค่าใช้จ่ายที่สูง
ถึงแม้ว่าท้ายที่สุดนางไขฯ จะต้องเสียชีวิตแต่ก็ยังพอมีเวลาให้ญาติทาใจ ญาติจึงขอย้ายนางไข
ฯ ไปรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม ในวันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ และนางไขฯ
ได้เสียชีวิตในวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑
หลังจากทาพิธีทางศาสนาให้แก่นางไขฯ แล้ว ผู้ฟ้องคดีทั้งสองติดใจการรักษา
ของโรงพยาบาลสนามจันทร์ ว่าทาไมนางไขฯ ที่เข้าไปรักษากับโรงพยาบาลสนามจันทร์ในกรณี
ข้อสะโพกหักแต่หลังผ่าตัดกลับมีปัญหาทาให้สมองเสียหาย ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ จึงอาสาเป็นตัวแทน
ญาติไปร้องเรียนต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๒ เพื่อให้ดาเนินการตรวจสอบสาเหตุของความเสียหายที่
ทางโรงพยาบาลสนามจันทร์ได้ทาการรักษาจนนางไขฯ ต้องเสียชีวิต ต่อมาผู้ฟ้องคดีได้รับแจ้ง
จากสานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง
สาธารณสุขว่าได้ส่งเรื่องร้องเรียนของผู้ฟ้องคดีไปยังแพทยสภาเพื่อวินิจฉัยว่ากระบวนการรักษา
ของทีมแพทย์กรณีนางไขฯนั้นผิดต่อมาตรฐานทางการแพทย์และจริยธรรมแพทย์หรือไม่ ซึ่ง
แพทยสภาได้รับเรื่องไว้พิจารณาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ แพทยสภาได้เชิญผู้ฟ้องคดี
แผ่นที่ ..๔..
ที่ ๑ ไปให้การต่อคณะอนุกรรมการจริยธรรมชุดที่ ๒ ในวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓
หลังจากผู้ฟ้องคดีที่ ๑ ไปให้การต่อคณะอนุกรรมการจริยธรรมชุดที่ ๒ ของแพทยสภาแล้ว ผู้
ฟ้องคดีที่ ๑ และที่ ๒ ก็เฝ้ารอผลการพิจารณาของแพทยสภาว่าจะมีข้อสรุปเป็นประการใดต่อ
กรณีการเสียชีวิตของนางไขฯ
เมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ ได้รับหนังสือจากกรม
สนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๗๑๓. ๐๖/๔๐๗ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม
พ.ศ. ๒๕๕๗ ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๓ แจ้งผลการพิจารณาของแพทยสภาใน
กรณีร้องเรียนที่ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นไว้ต่อกระทรวงสาธารณสุขและได้ส่งสาเนาคาสั่งแพทยสภามาให้
พร้อมกันด้วย โดยในคาสั่งแพทยสภาดังกล่าวปรากฏผลการพิจารณาของคณะกรรมการแพทย
สภาที่มีมติคดีไม่มีมูลและยกข้อกล่าวโทษทีมแพทย์ที่รักษานางไขฯ
ข้อ ๓ ในคาสั่งยกข้อกล่าวโทษทีมแพทย์โรงพยาบาลสนามจันทร์ที่รักษานาง
ไขฯของแพทยสภาดังกล่าวนั้น ผู้ฟ้องคดีทั้งสองเห็นว่าเป็นการพิจารณาที่ไม่อยู่บนข้อเท็จจริง
ทางวิชาการแพทย์และฟังพยานหลักฐานเท็จของผู้ถูกกล่าวโทษที่ผู้ถูกกล่าวโทษตั้งใจทาเท็จขึ้น
เพื่อหนีความผิดของตนจนเป็นเหตุให้คณะกรรมการแพทยสภาพิจารณาไม่ถูกต้องตาม
ข้อเท็จจริงทางการแพทย์ ดังที่ผู้ฟ้องคดีทั้งสองจะขออนุญาตกราบเรียนต่อศาล ดังนี้
๓.๑ คณะกรรมการแพทยสภาวินิจฉัยในประเด็นกระบวนการให้การดูแล
รักษาผู้ป่วยหลังผ่าตัด ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๓ หน้า ๑๒ บรรรทัดที่ ๒๗ ความ
ว่า “ผู้ถูกร้องเรียนที่ ๓ ได้ให้ยา Adalat ๑๐ มิลลิกรัม อมใต้ลิ้น (sublingual) เวลา ๒๒.๓๕
น. ความดันโลหิตลดลงมาเป็น ๑๗๕/๘๐ มิลลิเมตรปรอท วิสัญญีพยาบาลได้ตรวจดูอาการ
ตามวิธีการตรวจและให้คะแนนในตาราง RR.SCORE ผู้ป่วยมีคะแนน ๙ ใน ๑๐ คะแนน ตั้งแต่
เวลา ๒๒.๓๐ ถึง ๒๓.๐๐ น. ซึ่งถือว่าผู้ป่วยมีความปลอดภัย สามารถย้ายออกจากห้องพักฟื้น
แผ่นที่ ..๕..
ไปยังห้องพักผู้ป่วยได้” ผู้ฟ้องคดีของกราบเรียนต่อศาลที่เคารพว่า ตาราง RR.SCORE เป็น
การบันทึกค่าตัวแปรสัญญาณชีพ ๕ ตัวแปรในบันทึกวิสัญญีพยาบาลห้องพักฟื้น ตามเอกสาร
ท้ายคาฟ้องหมายเลข ๔ ซึ่งมีช่องประเมินค่าตัวแปรดังนี้ A , R , C1 , C2 , C3 โดยมี
ข้อความอธิบายถึงเกณฑ์การประเมินในค่าตัวแปรทั้งห้าอยู่บริเวณด้านขวาตรงข้ามกับตาราง
RR.SCORE ซึ่งวิสัญญีพยาบาลจะประเมินค่าและบันทึกระดับคะแนนไว้ในตาราง RR.SCORE
ตามเวลาที่กาหนดไว้ จากเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๔ หากพิจารณาระดับคะแนนในช่อง
C1 ณ เวลา ๒๒.๓๐ น. วิสัญญีพยาบาลประเมินให้คะแนน ๒ หมายถึง B.P. (ค่าความดัน
เลือด)ของคนไข้เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงไม่เกินร้อยละ ๒๐ จากค่าความดันเลือดของ
คนไข้ก่อนผ่าตัด ซึ่งผู้ฟ้องคดีทั้งสองเห็นว่าเป็นการประเมินที่ไม่ถูกต้องตามวิชาการแพทย์
เพราะระดับความดันเลือดนางไขฯ ณ เวลา ๒๒.๓๐ น. อยู่ในระดับ ๒๐๐/๙๕ และระดับความ
ดันเลือดช่อง C1 ก่อนการผ่าตัดที่ถูกบันทึกไว้ในตาราง RR.SCORE ณ เวลา ๑๙.๔๐ ที่
วิสัญญีพยาบาลประเมินให้คะแนนไว้ระดับ ๒ นั้นคือระดับความดันเลือดนางไขที่ ๑๖๐/๙๐ โดย
วิธีประเมินของวิสัญญีพยาบาลต้องนาเอาระดับความดันเลือดของคนไข้ก่อนผ่าตัด ซึ่งในกรณีนี้
วิสัญญีพยาบาลบันทึกระดับความดันเลือดคนไข้เมื่อเวลา ๑๙.๔๐ น. ซึ่งคนไข้ยังอยู่ในห้องพัก
ผู้ป่วยก่อนถูกย้ายมาห้องผ่าตัด โดยความดันเลือดนางไขฯก่อนผ่าตัดอยู่ในระดับคงที่ที่ ๑๖๐/
๙๐ ตั้งแต่เวลา ๑๖.๔๐ น. จนถึงเวลา ๒๐.๐๐ น.ก่อนย้ายไปยังห้องผ่าตัด ตามเอกสารท้ายคา
ฟ้องหมายเลข ๕ ระดับความดันก่อนผ่าตัดของนางไขฯที่ต้องนามาเป็นค่าหลักในการประเมิน
เปรียบเทียบกับระดับความดันคนไข้หลังผ่าตัดคือ ๑๖๐/๙๐ ซึ่งถ้านาระดับความดันเลือดคนไข้
ก่อนผ่าตัดนี้ไปเทียบกับระดับความดันเลือดหลังผ่าตัดของคนไข้เวลา ๒๒.๓๐ น. ที่ระดับ ๒๐๐/
๙๕ จะเห็นได้ชัดเจนว่าระดับความดันเลือดตัวบน (systolic) มีการเปลี่ยนแปลงเกินร้อยละ ๒๐
อีกทั้งมีระดับความดันเลือดที่สูงมากจนอาจจะเป็นอันตรายต่อคนไข้จนเป็นเหตุให้วิสัญญีแพทย์
แผ่นที่ ..๖..
หรือผู้ถูกร้องเรียนที่ ๓ มีคาสั่งให้ยาลดความดันเลือด Adalat แก่นางไขฯ ดังนั้นผลประเมินค่า
C1 เวลา ๒๒.๓๐ น. จึงควรได้ระดับคะแนนที่ต่ากว่า ๒ และเมื่อรวมคะแนนค่าตัวแปร
สัญญาณชีพทั้งห้าในตาราง RR.SCORE เวลา ๒๒.๓๐ น. แล้วก็ควรได้คะแนนรวมไม่ถึง ๙
ซึ่งไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะจาหน่ายคนไข้ได้จึงทาให้ข้อเท็จจริงที่คณะกรรมการแพทยสภายกขึ้นมา
วินิจฉัยว่า “วิสัญญีพยาบาลได้ตรวจดูอาการตามวิธีการตรวจและให้คะแนนในตาราง
RR.SCORE ผู้ป่วยมีคะแนน ๙ ใน ๑๐ คะแนน ตั้งแต่เวลา ๒๒.๓๐ ถึง ๒๓.๐๐ น.” นั้นไม่ใช่
ข้อเท็จจริง ผู้ฟ้องคดีทั้งสองขออนุญาตกราบเรียนศาลต่อไปว่า มูลเหตุที่วิสัญญีพยาบาลจงใจ
ประเมินค่า C1 ให้คะแนนถึงระดับ ๒ ในเวลา ๒๒.๓๐ น. เป็นเท็จนั้น ก็มุ่งที่จะให้เข้าใจว่า
ระดับความดันเลือดของคนไข้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยคงที่อย่างน้อย ๓๐ นาทีตามมาตรฐานทาง
การแพทย์ของการประเมินผู้ป่วยออกจากห้องพักฟื้น ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๖
หน้า ๘๒ ความว่า “เกณฑ์ในการประเมินเพื่อจาหน่ายผู้ป่วยมีดังนี้ 1. สัญญาณชีพควรอยู่ใน
ระดับปกติหรืออยู่ในระดับเดียวกับก่อนผ่าตัด และคงที่อย่างน้อย 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมง” เมื่อ
ปรากฏข้อเท็จจริงว่าระดับความดันเลือดคนไข้ยังไม่อยู่ในระดับปลอดภัยและคงที่อย่างน้อย ๓๐
นาทีตามเกณฑ์การประเมินดังกล่าวแล้ว วิสัญญีแพทย์จึงควรให้คนไข้อยู่ในห้องพักฟื้นต่อไป
เพื่อรอให้สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปลอดภัยตามทางวิชาการแพทย์เสียก่อน
๓.๒ ข้อวินิจฉัยหน้า ๑๒ บรรทัดที่ ๓๓ ความว่า “จนเวลา ๐๖.๐๐ น.
พบว่าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว จึงได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจและย้ายผู้ป่วยไปหอผู้ป่วยไอซียูทา
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองพบว่ามีหย่อมสมองตายจากภาวะหลอดเลือดตีบซึ่งมีสาเหตุจาก
เบาหวานและความดันโลหิตสูงเรื้อรัง” ผู้ฟ้องคดีทั้งสองขอกราบเรียนต่อศาลที่เคารพว่า ข้อ
วินิจฉัยดังกล่าวนี้ก็คลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง เพราะการทาเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองในกรณี
นี้ใช้วิธีซีทีแสกน ซึ่งจะเห็นเพียงภาพเนื้อสมองที่ขาดเลือดเท่านั้น ไม่สามารถเห็นได้ว่าสมอง
แผ่นที่ ..๗..
ขาดเลือดด้วยเหตุใด การที่คณะกรรมการแพทยสภาวินิจฉัยว่าเกิดจากภาวะหลอดเลือดตีบซึ่ง
มีสาเหตุจากเบาหวานและความดันโลหิตสูงเรื้อรังตามคาชี้แจงของแพทย์ผู้ถูกร้องเรียนที่ ๓ ซึ่ง
เป็นผู้สั่งให้ยาลดความดันเลือด Adalat จึงไม่ใช่ข้อเท็จจริงและขาดความน่าเชื่อถือ แม้แต่รังสี
แพทย์โรงพยาบาลสนามจันทร์ยังอ่านผลการทาซีทีแสกนนางไขฯและบันทึกไว้เวชระเบียนของ
โรงพยาบาลสนามจันทร์ซึ่งเป็นพยานเอกสารในกรณีร้องเรียนนี้ไว้แค่สมองขาดเลือดเท่านั้น ไม่
มีคาว่าหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันแต่อย่างใด ประกอบกับความเห็นของคณะแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญจากราชวิทยาลัยแพทย์ทั้งสามแห่งก็ไม่มีคณะพยานผู้เชี่ยวชาญแพทย์แห่งใดให้
ความเห็นว่าเหตุที่คนไข้สมองขาดเลือดนั้นเกิดจากหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน แต่กลับมี
ความเห็นของคณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทยที่ปรากฏ
ในคาสั่งแพทยสภาหน้า ๗ ย่อหน้าสุดท้าย ความว่า “อย่างไรก็ตามเมื่อมีการทบทวนเวช
ระเบียนแล้วมีความเห็นว่า Nifedipine (ชื่อสามัญทางยา ชื่อทางการค้าคือ Adalat) ๑๐ กรัม (ที่
จริงควรเป็นมิลลิกรัม) ที่ให้ทางใต้ลิ้น (sublingual) นี้อาจมีส่วนเกี่ยวข้องกับความดันเลือดที่
ลดลงได้” และความเห็นจากคณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศ
ไทยที่ปรากฏในคาสั่งแพทยสภาหน้า ๘ บรรทัดที่ ๒๐ ความว่า “ความเห็น : การให้
Nifedipine (๑๐ มิลลิกรัม) ใต้ลิ้น (sublingual) น่าจะเป็นต้นเหตุให้เกิดการลดลงอย่างรวดเร็ว
ของความดันโลหิตมากถึง ๑๐๐ มิลลิเมตรปรอท systolic ในเวลา ๑ ชั่วโมงหลังได้รับยา อันอาจ
เป็นเหตุให้ผู้ป่วยรายนี้เกิด Cerebral infarction ขนาดใหญ่ได้” ดังนั้นข้อวินิจฉัยของ
คณะกรรมการแพทยสภาความว่า “เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองพบว่ามีหย่อมสมองตายจาก
ภาวะหลอดเลือดตีบซึ่งมีสาเหตุจากเบาหวานและความดันโลหิตสูงเรื้อรัง” จึงไม่ถูกต้องตาม
ข้อเท็จจริงทางวิชาการ
๓.๓ ข้อวินิจฉัยหน้า ๑๒ บรรทัดที่ ๓๗ ความว่า “จากความเห็นของราช
แผ่นที่ ..๘..
วิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยได้ให้ความเห็นว่า การให้ Nifedipine (๑๐ มิลลิกรัม) ใต้
ลิ้น น่าจะเป็นต้นเหตุให้เกิดการลดลงอย่างรวดเร็วของความดันโลหิต อาจเป็นเหตุให้สมองขาด
เลือดได้ คณะกรรมการแพทยสภามีความเห็นว่ายังไม่มีข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ยืนยันในประเด็น
ดังกล่าว” ผู้ฟ้องคดีทั้งสองขอกราบเรียนในประเด็นนี้ว่า ยาลดความดันชื่อ Adalat หรืออีกชื่อ
หนึ่งว่า Nifedipine เป็นยาลดความดันเลือดที่คณะกรรมการแห่งชาติด้านยาได้คัดชื่อออกจาก
บัญชียาหลักแห่งชาติตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ ทั้งยังมีคาเตือนในการใช้ยาว่าไม่ควรใช้รักษาความดัน
โลหิตสูง ด้วยเหตุจากอันตรายจากยา ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๗ หน้า ๖ ข้อ ๒.๖.๒
และเป็นการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผลในการรักษาคนไข้ความดันโลหิตสูง ตามเอกสารท้ายคาฟ้อง
หมายเลข ๘ หน้า ข – ๑๒ ข้อ ๓.๑ ดังนั้นข้อวินิจฉัยของคณะกรรมการแพทยสภาที่ว่า “ยัง
ไม่มีข้อมูลเชิงประจักษ์ยืนยัน” จึงไม่ถูกต้อง และข้อวินิจฉัยต่อไปในหน้า ๑๒ ก่อนบรรทัด
สุดท้าย ความว่า “ทั้งกลไกการออกฤทธิ์ของยาทาให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดแดงขนาด
เล็ก ซึ่งมีผลให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะ ต่างๆ มากขึ้น และยา Nifedipine ยังมีข้อบ่งชี้สาหรับผู้ป่วย
ที่มีความดันโลหิตสูงหลังผ่าตัดในกรณีนี้ได้” ผู้ฟ้องคดีทั้งสองขอกราบเรียนต่อศาลว่า สาเหตุ
ที่ทาให้สมองนางไขฯขาดเลือดนั้นไม่มีคณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญคณะใดให้ความเห็นว่าเกิดจาก
คนไข้หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเลย มีแต่ความเห็นที่เชื่อว่าเกิดจากยาลดความดันเลือด
Adalat หรือ Nifedipine ดังนั้นกลไกการออกฤทธิ์ของยาที่ทาให้มีการขยายตัวของหลอดเลือด
แดงขนาดเล็กจึงอาจจะเป็นเหตุให้เซลสมองขาดเลือดเพิ่มขึ้นจากพยาธิสภาพของหลอดเลือด
ของคนไข้ขณะนั้น ซึ่งในความเห็นคณะผู้เชี่ยวชาญของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศ
ไทยที่ปรากฏอยู่ในหน้า ๘ บรรทัดที่ ๒๒ ความว่า “ซึ่งผู้ป่วยอาจมีรอยโรคในเส้นเลือดสมองที่
ไปเลี้ยงบริเวณนั้นอยู่ก่อนแล้ว ยา Nifedipine sublingual form ในปัจจุบันจึงปรากฏเป็นยาที่
ไม่ควรใช้ในการลดความดันโลหิต ในแนวทางเวชปฏิบัติต่างๆ ของการรักษาความดันโลหิตสูง”
แผ่นที่ ..๙..
ผู้ฟ้องคดีทั้งสองขอกราบเรียนว่า หากนางไขฯมีรอยโรคในเส้นเลือดสมองบริเวณดังกล่าวก่อน
แล้วจริง ยิ่งทาให้เป็นข้อห้ามในการให้ยา Adalat หรือ Nifedipine ซึ่งทาให้คนไข้ได้รับ
อันตรายจากยา ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๙ หน้า ๓๔ บรรทัดที่ ๕
ข้อ ๔ เมื่อข้อเท็จจริงทางวิชาการทางการแพทย์ไม่ตรงกับข้อวินิจฉัยของ
คณะกรรมการแพทยสภาที่ยกขึ้นอ้างประกอบการคาสั่งทางปกครองว่า คดีไม่มูล และยกข้อ
กล่าวโทษผู้ถูกร้องเรียนทั้งสามคนได้แก่ ๑. นายแพทย์วสุ เตชะไพฑูรย์ ๒. นายแพทย์สุชาติ
เดชวรกุล ๓. นายแพทย์สมชาย อมรโยธิน ผู้ฟ้องคดีทั้งสองจึงเห็นว่าคาสั่งของแพทยสภา
ดังกล่าวไม่ถูกต้องและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ทั้งผู้ฟ้องคดีทั้งสองยังเห็นว่ามติของ
คณะอนุกรรมการจริยธรรมชุดที่ ๒ ที่มีมติ คดีมีมูล สมควรนาเข้าสู่กระบวนการสอบสวนนั้น
ถูกต้องแล้ว
แผ่นที่ ..๑๐..
คาขอของผู้ฟ้องคดี (ระบุวัตถุประสงค์หรือความต้องการของผู้ฟ้องคดี)
๑. ขอศาลโปรดพิจารณาเพิกถอนคาสั่งทางปกครองของแพทยสภาที่สั่งคดีไม่มีมูล กรณี
ร้องเรียนกล่าวโทษของผู้ฟ้องคดีทั้งสอง
๒. ขอศาลโปรดพิจารณามีคาพิพากษาหรือคาสั่งให้แพทยสภามีคาสั่งทางปกครองให้
คณะกรรมการแพทยสภามีมตินาเรื่องร้องเรียนกล่าวโทษทีมแพทย์ทั้งสามคนเข้าสู่กระบวนการสืบสวนหรือ
ขั้นตอนใดๆตามกระบวนการทางปกครองของแพทยสภาต่อไป
๓.
๔.
๕.
(ลงชื่อ) ผู้ฟ้องคดีที่ ๑
( นายสมศักดิ์ ดารงกิจถาวร )
(ลงชื่อ) ผู้ฟ้องคดีที่ ๒
( นายไพรัช ดารงกิจถาวร )

More Related Content

What's hot

เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)ครู กรุณา
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560ครู กรุณา
 
แบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีแบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีPhattira Klinlakhar
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
ตารางติว O net
ตารางติว O netตารางติว O net
ตารางติว O netInmylove Nupad
 
ตัวอย่างใบสมัคร
ตัวอย่างใบสมัครตัวอย่างใบสมัคร
ตัวอย่างใบสมัครsamrong572
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1sawed kodnara
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2Wariya Pula
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...Dnavaroj Dnaka
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายNurat Puankhamma
 
017 แบบฟอร์ม (ใบแต่งทนาย)
017 แบบฟอร์ม  (ใบแต่งทนาย)017 แบบฟอร์ม  (ใบแต่งทนาย)
017 แบบฟอร์ม (ใบแต่งทนาย)Saravuth Charatpinit
 

What's hot (20)

เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
 
แบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีแบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวที
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
ตารางติว O net
ตารางติว O netตารางติว O net
ตารางติว O net
 
O-NET ม.6-เลขยกกำลัง (และราก)
O-NET ม.6-เลขยกกำลัง (และราก)O-NET ม.6-เลขยกกำลัง (และราก)
O-NET ม.6-เลขยกกำลัง (และราก)
 
ตัวอย่างใบสมัคร
ตัวอย่างใบสมัครตัวอย่างใบสมัคร
ตัวอย่างใบสมัคร
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557
 
017 แบบฟอร์ม (ใบแต่งทนาย)
017 แบบฟอร์ม  (ใบแต่งทนาย)017 แบบฟอร์ม  (ใบแต่งทนาย)
017 แบบฟอร์ม (ใบแต่งทนาย)
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 

Viewers also liked

คำพิพากษาคดีระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวรกับโรงพยาบาลสนามจันทร์
คำพิพากษาคดีระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวรกับโรงพยาบาลสนามจันทร์คำพิพากษาคดีระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวรกับโรงพยาบาลสนามจันทร์
คำพิพากษาคดีระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวรกับโรงพยาบาลสนามจันทร์Pairat Dam
 
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวร กับ โรงพยาบาลสนามจันทร์
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวร กับ โรงพยาบาลสนามจันทร์คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวร กับ โรงพยาบาลสนามจันทร์
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวร กับ โรงพยาบาลสนามจันทร์Pairat Dam
 
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลาคดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลายัย จุ๊
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

Viewers also liked (8)

คำฟ้องคดีดร.โกเมน ภัทรภิรมย์
คำฟ้องคดีดร.โกเมน ภัทรภิรมย์คำฟ้องคดีดร.โกเมน ภัทรภิรมย์
คำฟ้องคดีดร.โกเมน ภัทรภิรมย์
 
คำฟ้อง
คำฟ้องคำฟ้อง
คำฟ้อง
 
คำฟ้องศาลปกครอง ขอเพิกถอนมติสปสช.-ป้าบุญมา
คำฟ้องศาลปกครอง ขอเพิกถอนมติสปสช.-ป้าบุญมาคำฟ้องศาลปกครอง ขอเพิกถอนมติสปสช.-ป้าบุญมา
คำฟ้องศาลปกครอง ขอเพิกถอนมติสปสช.-ป้าบุญมา
 
คำพิพากษาคดีระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวรกับโรงพยาบาลสนามจันทร์
คำพิพากษาคดีระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวรกับโรงพยาบาลสนามจันทร์คำพิพากษาคดีระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวรกับโรงพยาบาลสนามจันทร์
คำพิพากษาคดีระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวรกับโรงพยาบาลสนามจันทร์
 
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวร กับ โรงพยาบาลสนามจันทร์
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวร กับ โรงพยาบาลสนามจันทร์คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวร กับ โรงพยาบาลสนามจันทร์
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ระหว่างนายไพรัช ดำรงกิจถาวร กับ โรงพยาบาลสนามจันทร์
 
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลาคดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
 
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
 

More from Pairat Dam

กล่าวโทษแพทยสภา ม.157
กล่าวโทษแพทยสภา ม.157กล่าวโทษแพทยสภา ม.157
กล่าวโทษแพทยสภา ม.157Pairat Dam
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12 คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12 Pairat Dam
 
แพทยสภาสั่งไม่มีมูลกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
แพทยสภาสั่งไม่มีมูลกรณีนางไข ดำรงกิจถาวรแพทยสภาสั่งไม่มีมูลกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
แพทยสภาสั่งไม่มีมูลกรณีนางไข ดำรงกิจถาวรPairat Dam
 
ตุลาการณ์ผู้แถลงคดี
ตุลาการณ์ผู้แถลงคดีตุลาการณ์ผู้แถลงคดี
ตุลาการณ์ผู้แถลงคดีPairat Dam
 
คำพิพากษาศาลปกครองกลางกรณีนายไพรัชฟ้องคืนเงิน สปสช
คำพิพากษาศาลปกครองกลางกรณีนายไพรัชฟ้องคืนเงิน สปสชคำพิพากษาศาลปกครองกลางกรณีนายไพรัชฟ้องคืนเงิน สปสช
คำพิพากษาศาลปกครองกลางกรณีนายไพรัชฟ้องคืนเงิน สปสชPairat Dam
 
ศาลปกครอง
ศาลปกครองศาลปกครอง
ศาลปกครองPairat Dam
 

More from Pairat Dam (6)

กล่าวโทษแพทยสภา ม.157
กล่าวโทษแพทยสภา ม.157กล่าวโทษแพทยสภา ม.157
กล่าวโทษแพทยสภา ม.157
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12 คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีมาตรา 12
 
แพทยสภาสั่งไม่มีมูลกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
แพทยสภาสั่งไม่มีมูลกรณีนางไข ดำรงกิจถาวรแพทยสภาสั่งไม่มีมูลกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
แพทยสภาสั่งไม่มีมูลกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
 
ตุลาการณ์ผู้แถลงคดี
ตุลาการณ์ผู้แถลงคดีตุลาการณ์ผู้แถลงคดี
ตุลาการณ์ผู้แถลงคดี
 
คำพิพากษาศาลปกครองกลางกรณีนายไพรัชฟ้องคืนเงิน สปสช
คำพิพากษาศาลปกครองกลางกรณีนายไพรัชฟ้องคืนเงิน สปสชคำพิพากษาศาลปกครองกลางกรณีนายไพรัชฟ้องคืนเงิน สปสช
คำพิพากษาศาลปกครองกลางกรณีนายไพรัชฟ้องคืนเงิน สปสช
 
ศาลปกครอง
ศาลปกครองศาลปกครอง
ศาลปกครอง
 

ฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร

  • 1. คดีหมายเลขดาที่ ...................../๒๕.................. ศาลปกครองกลาง วันที่ ๑๓ เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๕๗ ข้าพเจ้า นายสมศักดิ์ ดารงกิจถาวร ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ เกิดวันที่ ๒ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๔ อายุ ๔๓ ปี อาชีพ รับจ้าง อยู่ที่บ้านเลขที่ ๔ ถนน ราชมรรคา ตรอก/ซอย ๒ ตาบล/แขวง สนามจันทร์ อาเภอ/เขต เมือง จังหวัด นครปฐม รหัสไปรษณีย์ ๗๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๙๑๖๖๕๐๐๔ ข้าพเจ้า นายไพรัช ดารงกิจถาวร ผู้ฟ้องคดีที่ ๒ เกิดวันที่ ๒๔ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๒ อายุ ๔๕ ปี อาชีพ อาจารย์มหาวิทยาลัย อยู่ที่บ้านเลขที่ ๙๑/๘ หมู่ ๕ ตาบล/แขวง สนามจันทร์ อาเภอ/เขต เมือง จังหวัด นครปฐม รหัสไปรษณีย์ ๗๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๓๒๓๒๑๑๒๒ มีความประสงค์ขอฟ้อง แพทยสภา ที่ ๑ คณะกรรมการแพทยสภา ที่ ๒ อยู่ที่ อาคาร ๖ ชั้น ๗ ตึกสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ถนน ติวานนท์ จังหวัด นนทบุรี รหัสไปรษณีย์ ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๒ – ๕๙๐๑๘๘๖ รายละเอียดของการกระทา ข้อเท็จจริง หรือพฤติการณ์ เกี่ยวกับการกระทาที่เป็น เหตุให้เกิดความเดือดร้อนเสียหายที่พอเข้าใจได้ ข้อ ๑ ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ และที่ ๒ เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของนางไข ดารงกิจ ถาวร รายละเอียดปรากฏตามเอกสารสาเนาบัตรประชาชนและสาเนาทะเบียนบ้าน เอกสาร ท้ายคาฟ้องหมายเลข ๑ ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ เป็นองค์กรของรัฐตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมีผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ เป็นผู้บริหารองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ในการดูแลผู้ประกอบ วิชาชีพเวชกรรมให้ปฏิบัติถูกต้องตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพ หมายเหตุ ๑. คาฟ้องต้องใช้ถ้อยคาสุภาพและให้ทาเป็นภาษาไทย ๒. ผู้ฟ้องคดีแนบพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับคาฟ้อง ถ้าไม่อาจแนบพยานหลักฐานมาได้ ให้ระบุเหตุที่ไม่อาจแนบพยานหลักฐานไว้ด้วย ๓. ผู้ฟ้องคดีต้องจัดทาสาเนาคาฟ้อง และสาเนาพยานหลักฐานที่ผู้ฟ้องคดีรับรองสาเนาถูกต้องตามจานวนของผู้ถูกฟ้องคดียื่นมาพร้อมกับคาฟ้อง ๔. การจัดทาคาฟ้อง ผู้ฟ้องคดีไม่จาเป็นต้องทาตามรูปแบบของคาฟ้องนี้ แต่ต้องมีเนื้อหาสาระสาคัญครบถ้วนตามที่ระบุไว้นี้ คาฟ้ อง (ค.๑)
  • 2. แผ่นที่ ..๒.. ข้อ ๒ เมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ นางไขฯผู้ตายได้หกล้มก้น กระแทกพื้นปูน ไม่สามารถลุกขึ้นยืนได้ ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ และที่ ๒ จึงนานางไขฯ ไปรักษาตัวที่ โรงพยาบาลสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นสถานพยาบาลเอกชนที่ผู้ฟ้องคดีทั้งสอง เชื่อ ว่าดีที่สุดในจังหวัดนครปฐมและอยู่ใกล้บ้านของนางไขฯ นายแพทย์วสุ เตชะไพฑูรย์ ซึ่งเป็น แพทย์เจ้าของไข้และเป็นแพทย์ออร์โธปิดิกส์ของโรงพยาบาลสนามจันทร์ ได้ตรวจและวินิจฉัยว่า นางไขฯ กระดูกข้อสะโพกหักต้องรักษาด้วยวิธีผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม และนายแพทย์วสุฯ ได้ทาการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมให้แก่นางไขฯ ในวันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เวลา ๒๐.๐๐ น. โดยมีนายแพทย์สมชาย อมรโยธินเป็นวิสัญญีแพทย์ทาหน้าที่บล็อคหลังก่อนการ ผ่าตัดและมีนายแพทย์สุชาติ เดชวรกุล อายุรแพทย์ดูแลคนไข้ก่อนและหลังผ่าตัด หลังผ่าตัด เวลาประมาณ ๒๓.๐๐ น.นางไขฯได้ถูกย้ายมาถึงห้องพักคนไข้เดิมก่อนผ่าตัดในสภาพหลับบน รถเข็นนอน พยาบาลและผู้ฟ้องคดีที่ ๑ จึงได้ช่วยกันย้ายนางไขฯ ลงบนเตียงคนไข้ซึ่งนางไขฯ ก็ยังคงหลับไม่ลืมตาแต่อย่างใด หลังจากนั้นผู้ฟ้องคดีที่ ๑ กับนายขันติ ดารงกิจถาวร ซึ่งเป็น บิดาผู้ฟ้องคดีทั้งสองได้นอนเฝ้าไข้นางไขฯที่ห้องพักผู้ป่วย จนเวลาประมาณ ๐๖.๐๐ น.วันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ นายขันติฯ ได้ตื่นขึ้นมาเห็นนางไขฯ นอนน้าลายฟูมปากอยู่บน เตียงคนไข้ จึงได้ไปตามพยาบาลมาช่วยปฐมพยาบาลจนนางไขฯถูกนาตัวไปยังห้องไอซียู ต่อมามีแพทย์ระบบประสาทของโรงพยาบาลสนามจันทร์เข้ามาตรวจและได้สั่งให้มีการเอ็กซเรย์ สมองนางไขฯ และแพทย์ได้รายงานภาวะนางไขฯ ให้กับญาตินางไขฯ ว่าคนไข้เกิดภาวะสมอง ซีกขวาขาดเลือดบริเวณกว้างทาให้แขนขาข้างซ้ายอ่อนแรง แพทย์ได้ทาการรักษานางไขฯต่อ แต่ภาวะของนางไขฯไม่ดีขึ้นจนแพทย์สั่งให้มีการเอ็กซเรย์สมองอีกครั้งจนนายแพทย์สมชัย ตั้ง บาเพ็ญสุนทร ซึ่งเป็นศัลยแพทย์ระบบประสาทโรงพยาบาลสนามจันทร์ได้ตรวจอาการและ อธิบายสภาวะของนางไขฯ ให้ญาติทั้งหมดฟังและบอกแนวทางการรักษาและความเสี่ยงโดย
  • 3. แผ่นที่ ..๓.. สรุปได้ว่าคนไข้มีภาวะสมองขาดเลือดและบวม ต้องทาการผ่าตัดสมอง แต่มีความเสี่ยงเสียชีวิต ภายหลังผ่าตัด ๘๐ – ๙๐ เปอร์เซ็นต์ หากรอดชีวิตจะพิการตลอดชีวิตให้ญาติตัดสินใจ แต่ถ้า ไม่ทาการผ่าตัดก็ให้รักษาไปตามอาการ คนไข้จะอยู่ได้เท่าไรก็ขึ้นอยู่กับอายุขัยของคนไข้ ญาติ นางไขฯ ทั้งหมดได้ปรึกษากันแล้วเห็นร่วมกันว่าจะไม่ให้แพทย์ผ่าตัดและเลือกที่จะขอย้ายนาง ไขฯ ไปรักษาตัวระยะสุดท้ายต่อที่โรงพยาบาลศูนย์นครปฐมตามสิทธิการรักษาโครงการ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า(บัตรทอง) ด้วยเหตุผลที่ไม่มีความเชื่อมั่นกับทีมแพทย์ของ โรงพยาบาลสนามจันทร์อีกต่อไปและการเลือกที่จะไม่ให้แพทย์ผ่าตัดนางไขฯโดยเลือกที่จะ รักษาตามอาการเท่านั้นก็ไม่จาเป็นต้องอยู่รักษาตัวในโรงพยาบาลเอกชนที่มีค่าใช้จ่ายที่สูง ถึงแม้ว่าท้ายที่สุดนางไขฯ จะต้องเสียชีวิตแต่ก็ยังพอมีเวลาให้ญาติทาใจ ญาติจึงขอย้ายนางไข ฯ ไปรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม ในวันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ และนางไขฯ ได้เสียชีวิตในวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลังจากทาพิธีทางศาสนาให้แก่นางไขฯ แล้ว ผู้ฟ้องคดีทั้งสองติดใจการรักษา ของโรงพยาบาลสนามจันทร์ ว่าทาไมนางไขฯ ที่เข้าไปรักษากับโรงพยาบาลสนามจันทร์ในกรณี ข้อสะโพกหักแต่หลังผ่าตัดกลับมีปัญหาทาให้สมองเสียหาย ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ จึงอาสาเป็นตัวแทน ญาติไปร้องเรียนต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๒ เพื่อให้ดาเนินการตรวจสอบสาเหตุของความเสียหายที่ ทางโรงพยาบาลสนามจันทร์ได้ทาการรักษาจนนางไขฯ ต้องเสียชีวิต ต่อมาผู้ฟ้องคดีได้รับแจ้ง จากสานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุขว่าได้ส่งเรื่องร้องเรียนของผู้ฟ้องคดีไปยังแพทยสภาเพื่อวินิจฉัยว่ากระบวนการรักษา ของทีมแพทย์กรณีนางไขฯนั้นผิดต่อมาตรฐานทางการแพทย์และจริยธรรมแพทย์หรือไม่ ซึ่ง แพทยสภาได้รับเรื่องไว้พิจารณาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ แพทยสภาได้เชิญผู้ฟ้องคดี
  • 4. แผ่นที่ ..๔.. ที่ ๑ ไปให้การต่อคณะอนุกรรมการจริยธรรมชุดที่ ๒ ในวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ หลังจากผู้ฟ้องคดีที่ ๑ ไปให้การต่อคณะอนุกรรมการจริยธรรมชุดที่ ๒ ของแพทยสภาแล้ว ผู้ ฟ้องคดีที่ ๑ และที่ ๒ ก็เฝ้ารอผลการพิจารณาของแพทยสภาว่าจะมีข้อสรุปเป็นประการใดต่อ กรณีการเสียชีวิตของนางไขฯ เมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ ได้รับหนังสือจากกรม สนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๗๑๓. ๐๖/๔๐๗ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๓ แจ้งผลการพิจารณาของแพทยสภาใน กรณีร้องเรียนที่ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นไว้ต่อกระทรวงสาธารณสุขและได้ส่งสาเนาคาสั่งแพทยสภามาให้ พร้อมกันด้วย โดยในคาสั่งแพทยสภาดังกล่าวปรากฏผลการพิจารณาของคณะกรรมการแพทย สภาที่มีมติคดีไม่มีมูลและยกข้อกล่าวโทษทีมแพทย์ที่รักษานางไขฯ ข้อ ๓ ในคาสั่งยกข้อกล่าวโทษทีมแพทย์โรงพยาบาลสนามจันทร์ที่รักษานาง ไขฯของแพทยสภาดังกล่าวนั้น ผู้ฟ้องคดีทั้งสองเห็นว่าเป็นการพิจารณาที่ไม่อยู่บนข้อเท็จจริง ทางวิชาการแพทย์และฟังพยานหลักฐานเท็จของผู้ถูกกล่าวโทษที่ผู้ถูกกล่าวโทษตั้งใจทาเท็จขึ้น เพื่อหนีความผิดของตนจนเป็นเหตุให้คณะกรรมการแพทยสภาพิจารณาไม่ถูกต้องตาม ข้อเท็จจริงทางการแพทย์ ดังที่ผู้ฟ้องคดีทั้งสองจะขออนุญาตกราบเรียนต่อศาล ดังนี้ ๓.๑ คณะกรรมการแพทยสภาวินิจฉัยในประเด็นกระบวนการให้การดูแล รักษาผู้ป่วยหลังผ่าตัด ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๓ หน้า ๑๒ บรรรทัดที่ ๒๗ ความ ว่า “ผู้ถูกร้องเรียนที่ ๓ ได้ให้ยา Adalat ๑๐ มิลลิกรัม อมใต้ลิ้น (sublingual) เวลา ๒๒.๓๕ น. ความดันโลหิตลดลงมาเป็น ๑๗๕/๘๐ มิลลิเมตรปรอท วิสัญญีพยาบาลได้ตรวจดูอาการ ตามวิธีการตรวจและให้คะแนนในตาราง RR.SCORE ผู้ป่วยมีคะแนน ๙ ใน ๑๐ คะแนน ตั้งแต่ เวลา ๒๒.๓๐ ถึง ๒๓.๐๐ น. ซึ่งถือว่าผู้ป่วยมีความปลอดภัย สามารถย้ายออกจากห้องพักฟื้น
  • 5. แผ่นที่ ..๕.. ไปยังห้องพักผู้ป่วยได้” ผู้ฟ้องคดีของกราบเรียนต่อศาลที่เคารพว่า ตาราง RR.SCORE เป็น การบันทึกค่าตัวแปรสัญญาณชีพ ๕ ตัวแปรในบันทึกวิสัญญีพยาบาลห้องพักฟื้น ตามเอกสาร ท้ายคาฟ้องหมายเลข ๔ ซึ่งมีช่องประเมินค่าตัวแปรดังนี้ A , R , C1 , C2 , C3 โดยมี ข้อความอธิบายถึงเกณฑ์การประเมินในค่าตัวแปรทั้งห้าอยู่บริเวณด้านขวาตรงข้ามกับตาราง RR.SCORE ซึ่งวิสัญญีพยาบาลจะประเมินค่าและบันทึกระดับคะแนนไว้ในตาราง RR.SCORE ตามเวลาที่กาหนดไว้ จากเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๔ หากพิจารณาระดับคะแนนในช่อง C1 ณ เวลา ๒๒.๓๐ น. วิสัญญีพยาบาลประเมินให้คะแนน ๒ หมายถึง B.P. (ค่าความดัน เลือด)ของคนไข้เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงไม่เกินร้อยละ ๒๐ จากค่าความดันเลือดของ คนไข้ก่อนผ่าตัด ซึ่งผู้ฟ้องคดีทั้งสองเห็นว่าเป็นการประเมินที่ไม่ถูกต้องตามวิชาการแพทย์ เพราะระดับความดันเลือดนางไขฯ ณ เวลา ๒๒.๓๐ น. อยู่ในระดับ ๒๐๐/๙๕ และระดับความ ดันเลือดช่อง C1 ก่อนการผ่าตัดที่ถูกบันทึกไว้ในตาราง RR.SCORE ณ เวลา ๑๙.๔๐ ที่ วิสัญญีพยาบาลประเมินให้คะแนนไว้ระดับ ๒ นั้นคือระดับความดันเลือดนางไขที่ ๑๖๐/๙๐ โดย วิธีประเมินของวิสัญญีพยาบาลต้องนาเอาระดับความดันเลือดของคนไข้ก่อนผ่าตัด ซึ่งในกรณีนี้ วิสัญญีพยาบาลบันทึกระดับความดันเลือดคนไข้เมื่อเวลา ๑๙.๔๐ น. ซึ่งคนไข้ยังอยู่ในห้องพัก ผู้ป่วยก่อนถูกย้ายมาห้องผ่าตัด โดยความดันเลือดนางไขฯก่อนผ่าตัดอยู่ในระดับคงที่ที่ ๑๖๐/ ๙๐ ตั้งแต่เวลา ๑๖.๔๐ น. จนถึงเวลา ๒๐.๐๐ น.ก่อนย้ายไปยังห้องผ่าตัด ตามเอกสารท้ายคา ฟ้องหมายเลข ๕ ระดับความดันก่อนผ่าตัดของนางไขฯที่ต้องนามาเป็นค่าหลักในการประเมิน เปรียบเทียบกับระดับความดันคนไข้หลังผ่าตัดคือ ๑๖๐/๙๐ ซึ่งถ้านาระดับความดันเลือดคนไข้ ก่อนผ่าตัดนี้ไปเทียบกับระดับความดันเลือดหลังผ่าตัดของคนไข้เวลา ๒๒.๓๐ น. ที่ระดับ ๒๐๐/ ๙๕ จะเห็นได้ชัดเจนว่าระดับความดันเลือดตัวบน (systolic) มีการเปลี่ยนแปลงเกินร้อยละ ๒๐ อีกทั้งมีระดับความดันเลือดที่สูงมากจนอาจจะเป็นอันตรายต่อคนไข้จนเป็นเหตุให้วิสัญญีแพทย์
  • 6. แผ่นที่ ..๖.. หรือผู้ถูกร้องเรียนที่ ๓ มีคาสั่งให้ยาลดความดันเลือด Adalat แก่นางไขฯ ดังนั้นผลประเมินค่า C1 เวลา ๒๒.๓๐ น. จึงควรได้ระดับคะแนนที่ต่ากว่า ๒ และเมื่อรวมคะแนนค่าตัวแปร สัญญาณชีพทั้งห้าในตาราง RR.SCORE เวลา ๒๒.๓๐ น. แล้วก็ควรได้คะแนนรวมไม่ถึง ๙ ซึ่งไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะจาหน่ายคนไข้ได้จึงทาให้ข้อเท็จจริงที่คณะกรรมการแพทยสภายกขึ้นมา วินิจฉัยว่า “วิสัญญีพยาบาลได้ตรวจดูอาการตามวิธีการตรวจและให้คะแนนในตาราง RR.SCORE ผู้ป่วยมีคะแนน ๙ ใน ๑๐ คะแนน ตั้งแต่เวลา ๒๒.๓๐ ถึง ๒๓.๐๐ น.” นั้นไม่ใช่ ข้อเท็จจริง ผู้ฟ้องคดีทั้งสองขออนุญาตกราบเรียนศาลต่อไปว่า มูลเหตุที่วิสัญญีพยาบาลจงใจ ประเมินค่า C1 ให้คะแนนถึงระดับ ๒ ในเวลา ๒๒.๓๐ น. เป็นเท็จนั้น ก็มุ่งที่จะให้เข้าใจว่า ระดับความดันเลือดของคนไข้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยคงที่อย่างน้อย ๓๐ นาทีตามมาตรฐานทาง การแพทย์ของการประเมินผู้ป่วยออกจากห้องพักฟื้น ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๖ หน้า ๘๒ ความว่า “เกณฑ์ในการประเมินเพื่อจาหน่ายผู้ป่วยมีดังนี้ 1. สัญญาณชีพควรอยู่ใน ระดับปกติหรืออยู่ในระดับเดียวกับก่อนผ่าตัด และคงที่อย่างน้อย 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมง” เมื่อ ปรากฏข้อเท็จจริงว่าระดับความดันเลือดคนไข้ยังไม่อยู่ในระดับปลอดภัยและคงที่อย่างน้อย ๓๐ นาทีตามเกณฑ์การประเมินดังกล่าวแล้ว วิสัญญีแพทย์จึงควรให้คนไข้อยู่ในห้องพักฟื้นต่อไป เพื่อรอให้สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปลอดภัยตามทางวิชาการแพทย์เสียก่อน ๓.๒ ข้อวินิจฉัยหน้า ๑๒ บรรทัดที่ ๓๓ ความว่า “จนเวลา ๐๖.๐๐ น. พบว่าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว จึงได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจและย้ายผู้ป่วยไปหอผู้ป่วยไอซียูทา เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองพบว่ามีหย่อมสมองตายจากภาวะหลอดเลือดตีบซึ่งมีสาเหตุจาก เบาหวานและความดันโลหิตสูงเรื้อรัง” ผู้ฟ้องคดีทั้งสองขอกราบเรียนต่อศาลที่เคารพว่า ข้อ วินิจฉัยดังกล่าวนี้ก็คลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง เพราะการทาเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองในกรณี นี้ใช้วิธีซีทีแสกน ซึ่งจะเห็นเพียงภาพเนื้อสมองที่ขาดเลือดเท่านั้น ไม่สามารถเห็นได้ว่าสมอง
  • 7. แผ่นที่ ..๗.. ขาดเลือดด้วยเหตุใด การที่คณะกรรมการแพทยสภาวินิจฉัยว่าเกิดจากภาวะหลอดเลือดตีบซึ่ง มีสาเหตุจากเบาหวานและความดันโลหิตสูงเรื้อรังตามคาชี้แจงของแพทย์ผู้ถูกร้องเรียนที่ ๓ ซึ่ง เป็นผู้สั่งให้ยาลดความดันเลือด Adalat จึงไม่ใช่ข้อเท็จจริงและขาดความน่าเชื่อถือ แม้แต่รังสี แพทย์โรงพยาบาลสนามจันทร์ยังอ่านผลการทาซีทีแสกนนางไขฯและบันทึกไว้เวชระเบียนของ โรงพยาบาลสนามจันทร์ซึ่งเป็นพยานเอกสารในกรณีร้องเรียนนี้ไว้แค่สมองขาดเลือดเท่านั้น ไม่ มีคาว่าหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันแต่อย่างใด ประกอบกับความเห็นของคณะแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญจากราชวิทยาลัยแพทย์ทั้งสามแห่งก็ไม่มีคณะพยานผู้เชี่ยวชาญแพทย์แห่งใดให้ ความเห็นว่าเหตุที่คนไข้สมองขาดเลือดนั้นเกิดจากหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน แต่กลับมี ความเห็นของคณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทยที่ปรากฏ ในคาสั่งแพทยสภาหน้า ๗ ย่อหน้าสุดท้าย ความว่า “อย่างไรก็ตามเมื่อมีการทบทวนเวช ระเบียนแล้วมีความเห็นว่า Nifedipine (ชื่อสามัญทางยา ชื่อทางการค้าคือ Adalat) ๑๐ กรัม (ที่ จริงควรเป็นมิลลิกรัม) ที่ให้ทางใต้ลิ้น (sublingual) นี้อาจมีส่วนเกี่ยวข้องกับความดันเลือดที่ ลดลงได้” และความเห็นจากคณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศ ไทยที่ปรากฏในคาสั่งแพทยสภาหน้า ๘ บรรทัดที่ ๒๐ ความว่า “ความเห็น : การให้ Nifedipine (๑๐ มิลลิกรัม) ใต้ลิ้น (sublingual) น่าจะเป็นต้นเหตุให้เกิดการลดลงอย่างรวดเร็ว ของความดันโลหิตมากถึง ๑๐๐ มิลลิเมตรปรอท systolic ในเวลา ๑ ชั่วโมงหลังได้รับยา อันอาจ เป็นเหตุให้ผู้ป่วยรายนี้เกิด Cerebral infarction ขนาดใหญ่ได้” ดังนั้นข้อวินิจฉัยของ คณะกรรมการแพทยสภาความว่า “เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองพบว่ามีหย่อมสมองตายจาก ภาวะหลอดเลือดตีบซึ่งมีสาเหตุจากเบาหวานและความดันโลหิตสูงเรื้อรัง” จึงไม่ถูกต้องตาม ข้อเท็จจริงทางวิชาการ ๓.๓ ข้อวินิจฉัยหน้า ๑๒ บรรทัดที่ ๓๗ ความว่า “จากความเห็นของราช
  • 8. แผ่นที่ ..๘.. วิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยได้ให้ความเห็นว่า การให้ Nifedipine (๑๐ มิลลิกรัม) ใต้ ลิ้น น่าจะเป็นต้นเหตุให้เกิดการลดลงอย่างรวดเร็วของความดันโลหิต อาจเป็นเหตุให้สมองขาด เลือดได้ คณะกรรมการแพทยสภามีความเห็นว่ายังไม่มีข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ยืนยันในประเด็น ดังกล่าว” ผู้ฟ้องคดีทั้งสองขอกราบเรียนในประเด็นนี้ว่า ยาลดความดันชื่อ Adalat หรืออีกชื่อ หนึ่งว่า Nifedipine เป็นยาลดความดันเลือดที่คณะกรรมการแห่งชาติด้านยาได้คัดชื่อออกจาก บัญชียาหลักแห่งชาติตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ ทั้งยังมีคาเตือนในการใช้ยาว่าไม่ควรใช้รักษาความดัน โลหิตสูง ด้วยเหตุจากอันตรายจากยา ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๗ หน้า ๖ ข้อ ๒.๖.๒ และเป็นการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผลในการรักษาคนไข้ความดันโลหิตสูง ตามเอกสารท้ายคาฟ้อง หมายเลข ๘ หน้า ข – ๑๒ ข้อ ๓.๑ ดังนั้นข้อวินิจฉัยของคณะกรรมการแพทยสภาที่ว่า “ยัง ไม่มีข้อมูลเชิงประจักษ์ยืนยัน” จึงไม่ถูกต้อง และข้อวินิจฉัยต่อไปในหน้า ๑๒ ก่อนบรรทัด สุดท้าย ความว่า “ทั้งกลไกการออกฤทธิ์ของยาทาให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดแดงขนาด เล็ก ซึ่งมีผลให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะ ต่างๆ มากขึ้น และยา Nifedipine ยังมีข้อบ่งชี้สาหรับผู้ป่วย ที่มีความดันโลหิตสูงหลังผ่าตัดในกรณีนี้ได้” ผู้ฟ้องคดีทั้งสองขอกราบเรียนต่อศาลว่า สาเหตุ ที่ทาให้สมองนางไขฯขาดเลือดนั้นไม่มีคณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญคณะใดให้ความเห็นว่าเกิดจาก คนไข้หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเลย มีแต่ความเห็นที่เชื่อว่าเกิดจากยาลดความดันเลือด Adalat หรือ Nifedipine ดังนั้นกลไกการออกฤทธิ์ของยาที่ทาให้มีการขยายตัวของหลอดเลือด แดงขนาดเล็กจึงอาจจะเป็นเหตุให้เซลสมองขาดเลือดเพิ่มขึ้นจากพยาธิสภาพของหลอดเลือด ของคนไข้ขณะนั้น ซึ่งในความเห็นคณะผู้เชี่ยวชาญของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศ ไทยที่ปรากฏอยู่ในหน้า ๘ บรรทัดที่ ๒๒ ความว่า “ซึ่งผู้ป่วยอาจมีรอยโรคในเส้นเลือดสมองที่ ไปเลี้ยงบริเวณนั้นอยู่ก่อนแล้ว ยา Nifedipine sublingual form ในปัจจุบันจึงปรากฏเป็นยาที่ ไม่ควรใช้ในการลดความดันโลหิต ในแนวทางเวชปฏิบัติต่างๆ ของการรักษาความดันโลหิตสูง”
  • 9. แผ่นที่ ..๙.. ผู้ฟ้องคดีทั้งสองขอกราบเรียนว่า หากนางไขฯมีรอยโรคในเส้นเลือดสมองบริเวณดังกล่าวก่อน แล้วจริง ยิ่งทาให้เป็นข้อห้ามในการให้ยา Adalat หรือ Nifedipine ซึ่งทาให้คนไข้ได้รับ อันตรายจากยา ตามเอกสารท้ายคาฟ้องหมายเลข ๙ หน้า ๓๔ บรรทัดที่ ๕ ข้อ ๔ เมื่อข้อเท็จจริงทางวิชาการทางการแพทย์ไม่ตรงกับข้อวินิจฉัยของ คณะกรรมการแพทยสภาที่ยกขึ้นอ้างประกอบการคาสั่งทางปกครองว่า คดีไม่มูล และยกข้อ กล่าวโทษผู้ถูกร้องเรียนทั้งสามคนได้แก่ ๑. นายแพทย์วสุ เตชะไพฑูรย์ ๒. นายแพทย์สุชาติ เดชวรกุล ๓. นายแพทย์สมชาย อมรโยธิน ผู้ฟ้องคดีทั้งสองจึงเห็นว่าคาสั่งของแพทยสภา ดังกล่าวไม่ถูกต้องและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ทั้งผู้ฟ้องคดีทั้งสองยังเห็นว่ามติของ คณะอนุกรรมการจริยธรรมชุดที่ ๒ ที่มีมติ คดีมีมูล สมควรนาเข้าสู่กระบวนการสอบสวนนั้น ถูกต้องแล้ว
  • 10. แผ่นที่ ..๑๐.. คาขอของผู้ฟ้องคดี (ระบุวัตถุประสงค์หรือความต้องการของผู้ฟ้องคดี) ๑. ขอศาลโปรดพิจารณาเพิกถอนคาสั่งทางปกครองของแพทยสภาที่สั่งคดีไม่มีมูล กรณี ร้องเรียนกล่าวโทษของผู้ฟ้องคดีทั้งสอง ๒. ขอศาลโปรดพิจารณามีคาพิพากษาหรือคาสั่งให้แพทยสภามีคาสั่งทางปกครองให้ คณะกรรมการแพทยสภามีมตินาเรื่องร้องเรียนกล่าวโทษทีมแพทย์ทั้งสามคนเข้าสู่กระบวนการสืบสวนหรือ ขั้นตอนใดๆตามกระบวนการทางปกครองของแพทยสภาต่อไป ๓. ๔. ๕. (ลงชื่อ) ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ ( นายสมศักดิ์ ดารงกิจถาวร ) (ลงชื่อ) ผู้ฟ้องคดีที่ ๒ ( นายไพรัช ดารงกิจถาวร )