SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
คดีหมายเลขดาที่อ. ๑๕๓/๒๕๕๑
คดีหมายเลขแดงที่อ. ๓๑/๒๕๕๔
ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์
ศาลปกครองสูงสุด
วันที่ ๑ เดือน กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๕๔
นายฉลองชัย ยงเสมอ
สภาทนายความ ที่ ๑
คณะกรรมการมรรยาททนายความ ที่ ๒
คณะกรรมการสภาทนายความ ที่ ๓
สภานายกพิเศษแห่งสภาทนายความ ที่ ๔
เรื่อง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(อุทธรณ์คาพิพากษา)
ผู้ฟ้องคดียื่นอุทธรณ์คาพิพากษา ในคดีหมายเลขดาที่ ๑๒๖๐/๒๕๔๙
หมายเลขแดงที่ ๒๒๕๙/๒๕๕๐ ของศาลปกครองชั้นต้น (ศาลปกครองกลาง)
ผู้ฟ้องคดีฟ้องว่า ผู้ฟ้องคดีประกอบอาชีพทนายความ เมื่อวันที่ ๒๓
พฤษภาคม ๒๕๔๔ นางอรวรรณ ตั้งศิริไพศาล ได้ยื่นหนังสือต่อผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ กล่าวหาว่า
ผู้ฟ้องคดีประพฤติผิดมรรยาททนายความ กรณีนางอรวรรณ ได้มอบหมายให้ผู้ฟ้องคดี
เป็นทนายความฟ้องดาเนินคดีนางบุษบา กล่าเสือ เป็นจาเลยต่อศาลแพ่งธนบุรี ในฐาน
คาพิพากษา
(อุทธรณ์)
(ต. ๒๒)
ระหว่าง
/ความผิดสัญญา…
ผู้ฟ้องคดี
ผู้ถูกฟ้องคดี
๒
ความผิดสัญญากู้ยืมเงินและสัญญาจานอง มีทุนทรัพย์ จานวน ๑,๖๔๐,๑๗๐ บาท ต่อมา
ศาลแพ่งธนบุรีมีคาพิพากษาให้จาเลยชาระหนี้ให้แก่นางอรวรรณ เพียง ๓๐๐,๐๐๐ บาทเศษ
นางอรวรรณ ประสงค์จะยื่นอุทธรณ์ต่อไป ผู้ฟ้องคดีจึงได้ขอเบิกเงินจากนางอรวรรณ
เพื่อเป็นค่าทนายความและค่าธรรมเนียมอุทธรณ์เป็นเงิน ๖๐,๐๐๐ บาท จากนั้นได้ติดตาม
ทวงถามเรื่องอุทธรณ์กับผู้ฟ้องคดีมาตลอดแต่ผู้ฟ้องคดีก็ผัดผ่อนเรื่อยมา จนกระทั่งวันที่ ๒๘
มีนาคม ๒๕๔๔ นางอรวรรณได้ไปตรวจสานวนที่ศาลแพ่งธนบุรีจึงทราบว่าหมดสิทธิ
อุทธรณ์แล้ว เนื่องจากพ้นระยะเวลาอุทธรณ์และถูกผู้ฟ้องคดีหลอกเอาเงินไป ๖๐,๐๐๐ บาท
จึงโทรศัพท์ต่อว่าผู้ฟ้องคดีและขอเงินคืน ผู้ฟ้องคดีจึงได้คืนเงินให้เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๔๔
และนอกจากนั้นผู้ฟ้องคดียังคิดค่าทนายความร้อยละ ๑๐ ของเงินที่นางอรวรรณจะได้รับ
จากการขายทอดตลาด ซึ่งเป็นการกระทาผิดมรรยาททนายความตามพระราชบัญญัติ
ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘
ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นแก้ข้อกล่าวหาดังกล่าวว่า ผู้ฟ้องคดีได้ดาเนินคดีแทนนางอรวรรณ
จนกระทั่งศาลมีคาพิพากษาให้ได้รับการชาระหนี้และดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๑๕ ต่อปี
เป็นเงิน ๓๔๙,๖๔๕ บาท ผู้ฟ้องคดีจึงได้โทรสารย่อคาพิพากษาให้นางอรวรรณทราบทันที
และแนะนาว่าไม่ควรอุทธรณ์คาพิพากษา เพราะบันทึกท้ายสัญญาจานองไม่ได้ระบุว่า
หากบังคับจานองได้เงินไม่พอชาระหนี้ให้ยึดทรัพย์สินอื่นได้อีก หากอุทธรณ์ไปและศาล
อุทธรณ์พิพากษาให้ได้รับชาระหนี้มากกว่าก็ไม่แน่นอนว่าจะขายทอดตลาดที่ดินจานอง
ได้เงินเท่าใดและยังจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการอุทธรณ์อีกต่างหาก จึงควรเข้าประมูลซื้อที่ดิน
จากการขายทอดตลาดจะคุ้มค่ากว่า ซึ่งนางอรวรรณเห็นด้วยและตกลงว่าจะไม่ยื่นอุทธรณ์
แต่ไม่ได้ยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษร ผู้ฟ้องคดีจึงได้ไปยื่นขอคัดถ่ายรับรองสาเนา
คาพิพากษาเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ เมื่อใกล้ครบกาหนดยื่นอุทธรณ์แล้ว
ก็ยังไม่ได้รับสาเนาคาพิพากษา จากนั้นในวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓ จึงได้มอบหมายให้
นายธวัชชัย หอมสุคนธ์ เสมียนทนายความ ไปยื่นเรื่องขอขยายเวลาอุทธรณ์ ครั้งที่ ๑
เป็นเวลา ๔๕ วัน ซึ่งจะครบกาหนดในวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๔ และจากการสอบถาม
นายธวัชชัยได้รับแจ้งว่าศาลอนุญาตตามขอ ต่อมา เห็นว่าระยะเวลาขยายอุทธรณ์ครั้งแรก
ใกล้จะครบกาหนดแต่ยังมิได้รับสาเนาคาพิพากษาจากศาล จึงได้มอบหมายให้นายธวัชชัย
/เสมียนทนายความ…
๓
เสมียนทนายความไปยื่นเรื่องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์อีกครั้งเป็นครั้งที่ ๒ มีกาหนด
๓๐ วัน ซึ่งจะครบกาหนดในวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ ซึ่งก่อนนั้นผู้ฟ้องคดีได้มีหนังสือ
ถึงนางอรวรรณ ให้แจ้งยืนยันว่าจะอุทธรณ์คาพิพากษาหรือไม่ ภายในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์
๒๕๔๔ แต่นางอรวรรณก็ไม่ได้ยืนยันกลับมา ผู้ฟ้องคดีจึงได้โทรศัพท์ไปหานางอรวรรณ
อีกครั้ง นางอรวรรณแจ้งว่าประสงค์จะยื่นอุทธรณ์ ผู้ฟ้องคดีจึงได้ขอเบิกเงินค่าธรรมเนียมศาล
เดินทางไปศาลแพ่งธนบุรีขอให้เจ้าหน้าที่ศาลคานวณค่าธรรมเนียมอุทธรณ์ จึงทราบว่า
ศาลมีคาสั่งยกคาร้องในการยื่นคาขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์คาพิพากษา ครั้งที่ ๒ เนื่องจาก
เป็นการยื่นคาร้องอุทธรณ์เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ได้แจ้งให้
ผู้ฟ้องคดีนาเงินคืนให้นางอรวรรณ ส่วนค่าทนายความร้อยละ ๑๐ ของเงินที่ได้จากการขาย
ทอดตลาดเป็นหนี้ที่มีจานวนไม่แน่นอน หากเรียกเป็นเปอร์เซ็นต์จากทุนทรัพย์ที่ฟ้องและ
ศาลพิพากษาให้ไม่เต็มตามจานวน นางอรวรรณก็จะต้องชาระเป็นเงินจานวนสูง จึงตกลงกัน
ให้คิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากยอดเงินที่จะประมูลซื้อขายจากการขายทอดตลาด ผู้ฟ้องคดีจึงมิได้
ประพฤติผิดมรรยาททนายความแต่อย่างใด ต่อมา ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ได้สอบสวนแล้วมี
ความเห็นว่า การที่ผู้ฟ้องคดีมอบให้เสมียนทนายความไปยื่นคาร้องขอขยายระยะเวลา
ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาโดยเชื่อตามคารายงานของเสมียนทนายความซึ่งเป็นคารายงาน
ที่ผิดพลาดโดยมิได้ติดตามตรวจสอบดูแลให้ถูกต้องจนล่วงเลยกาหนดเวลายื่นอุทธรณ์
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ลูกความ การกระทาของผู้ฟ้องคดีจึงเป็นการละเว้นหน้าที่ที่ควร
กระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตนเป็นการประพฤติผิด ข้อบังคับ
สภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ หมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒) จึงมีมติ
ห้ามผู้ฟ้องคดีทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ พิจารณาแล้ว
เห็นชอบด้วย โดยมีมติยืนตามคาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นอุทธรณ์คาสั่ง
ต่อผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ต่อมา ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ พิจารณาแล้วให้ยกอุทธรณ์
ผู้ฟ้องคดีเห็นว่า การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ จะลงโทษผู้ฟ้องคดีตามมาตรา ๕๒
(๒) แห่งพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้นั้น การสอบสวนจะต้องยุติว่า
การกระทาของผู้ฟ้องคดีเป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดี
แห่งลูกความของตน จึงจะถือว่าเป็นการกระทาผิดข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาท
/ทนายความ…
๔
ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ หมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒) แต่กรณีของผู้ฟ้องคดีมิได้มีพฤติการณ์
เช่นนั้น ผู้ฟ้องคดีไม่ได้ละทิ้งหน้าที่ได้ติดตามสอบถามเสมียนทนายความมาตลอดว่า
ศาลมีคาสั่งคาร้องอย่างไรและเชื่อไปตามนั้น ผู้ฟ้องคดีไม่ได้เบียดบังเอาเงินค่าใช้จ่ายและ
ค่าทนายความชั้นอุทธรณ์จากนางอรวรรณผู้กล่าวหาร้องเรียน โดยลักษณะคดีแล้ว
เมื่อนางอรวรรณได้รับชาระดอกเบี้ยจากลูกหนี้ตามคาพิพากษาไปมากแล้ว นางอรวรรณ
จึงไม่เสียหายจากการกระทาของผู้ฟ้องคดี ทั้งผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ก็ยังมีความเห็นว่า
การกระทาของผู้ฟ้องคดีนั้นเป็นเพียงความสะเพร่าเท่านั้น ผู้ฟ้องคดีไม่ได้กระทาผิดตามที่
ถูกกล่าวหา จึงฟ้องคดีต่อศาล
ขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่ง ดังนี้
๑. เพิกถอนมติของคณะกรรมการสอบสวน ที่มีมติว่าการกระทาของ
ผู้ฟ้องคดีเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ เห็นควรให้ภาคทัณฑ์
๒. เพิกถอนมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ในการประชุมครั้งที่ ๑๔/๒๕๔๘
เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ที่มีมติว่าการกระทาของผู้ฟ้องคดีเป็นการประพฤติผิด
ข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ หมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒)
เห็นควรห้ามทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน
๓. เพิกถอนมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๔๘
เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ ที่มีมติเช่นเดียวกับมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒
๔. เพิกถอนคาสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ที่ห้ามผู้ฟ้องคดีทาการเป็น
ทนายความมีกาหนด ๖ เดือน
ในชั้นรับฟ้อง ศาลมีคาสั่งรับคาฟ้องเฉพาะส่วนของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ และ
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ไว้พิจารณา และไม่รับคาฟ้องผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒
เนื่องจากผู้ฟ้องคดีมิใช่ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดร้อน
หรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ อันเนื่องจากการกระทาหรืองดเว้นการกระทาของ
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ผู้ฟ้องคดีมิได้อุทธรณ์คาสั่งดังกล่าว
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ให้การว่า ตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘
มาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๕๒ ข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ
พ.ศ. ๒๕๒๙ เป็นมาตรฐานขั้นต่าที่ทนายความทุกคนต้องยึดถือปฏิบัติ หากทนายความผู้ใด
/ฝ่าฝืน…
๕
ฝ่าฝืนหรือไม่ปฎิบัติตามอาจจะต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกาหนด ซึ่งมาตรฐานขั้นต่านี้
มิใช่เป็นมาตรฐานในระดับวิญญูชนทั่วไป แต่เป็นมาตรฐานของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ
ผู้ซึ่งมีความรู้ความสามารถในทางกฎหมาย ซึ่งจะต้องมีระดับความรับผิดชอบสูงกว่า
วิญญูชนทั่วไป ทั้งต้องใช้ความระมัดระวังและเอาใจใส่การปฏิบัติหน้าที่ยิ่งกว่าอาชีพอื่น
เนื่องจากการประกอบอาชีพทนายความเป็นการทาหน้าที่รักษาประโยชน์ของลูกความ
ผลดีผลร้ายจากการกระทาของทนายความย่อมตกแก่ลูกความ ประกอบกับกฎหมาย
วิธีพิจารณาความได้กาหนดบทบาทหน้าที่ของลูกความให้ต้องปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ
หากผู้ประกอบวิชาชีพทนายความไม่ทาหน้าที่ด้วยความระมัดระวังเอาใจใส่เป็นพิเศษ
ด้วยแล้ว ย่อมเกิดผลร้ายต่อลูกความ การที่ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความไม่ไปศาลในวันนัด
หรือไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนดในกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง อันเป็นการทอดทิ้งคดี
หรือละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีของลูกความของตน หรือมิได้บอก
ข้อความที่ควรแจ้งให้ทราบ ไม่ว่าจะเป็นการหลงลืมหรือเลินเล่อหรือเข้าใจผิดประการใด
ประการหนึ่ง หรือไม่ทราบถึงบทบัญญัติของกฎหมายถือเป็นความจงใจทั้งสิ้น
การที่ผู้ฟ้องคดีมอบฉันทะให้นายธวัชชัย เสมียนทนายความไปยื่นคาร้อง
ขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลแพ่งธนบุรีเป็นเวลา ๔๕ วัน ซึ่งท้ายคาร้องได้
หมายเหตุว่าข้าพเจ้ารอฟังคาสั่งอยู่ ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว และยังปรากฏข้อความต่อไป
ว่า ข้าพเจ้าจะมาฟังคาสั่งภายใน ๗ วันนับแต่วันนี้ หากไม่มาให้ถือว่าทราบคาสั่งแล้ว
โดยนายธวัชชัย ในฐานะเสมียนทนายความลงลายมือชื่อรับทราบไว้ จึงมีความหมายว่า
ผู้ฟ้องคดีต้องมารับฟังคาสั่งศาลแพ่งธนบุรี เกี่ยวกับคาร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ ดังนั้น
เมื่อผู้ฟ้องคดีและนายธวัชชัย มิได้มารับทราบคาสั่งศาลแพ่งธนบุรี ผู้ฟ้องคดีต้องรับผิดชอบ
ในการที่นายธวัชชัย ผู้รับมอบฉันทะของผู้ฟ้องคดีได้กระทาไปทุกประการ การที่ผู้ฟ้องคดี
ยื่นคาร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์คาพิพากษา เกินระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดและ
ศาลมีคาสั่งยกคาร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์นั้น ผู้ฟ้องคดีในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ
ทนายความซึ่งมีหน้าที่ควบคุมดูแลให้นายธวัชชัย เสมียนทนายความติดตามรับทราบคาสั่ง
ของศาลแพ่งธนบุรีทั้งสองฉบับ แต่ผู้ฟ้องคดีได้ละเว้นหน้าที่ของตนไม่ติดตามตรวจสอบ
การทางานของเสมียนทนายความจนเกิดความเสียหายแก่ลูกความ การกระทาของผู้ฟ้องคดี
/เป็นการจงใจ…
๖
เป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน
คาสั่งลงโทษผู้ฟ้องคดี จึงชอบด้วยกฎหมายแล้ว
ผู้ฟ้องคดีคัดค้านคาให้การของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ว่า การที่ผู้ฟ้องคดีจะผิด
ข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ หมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒) นั้น
การกระทาของผู้ฟ้องคดีจะต้องเป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวแก่
การดาเนินคดีแห่งลูกความของตนและตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘
มาตรา ๕๒ (๒) กาหนดว่า การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ จะมีมติลงโทษผู้ฟ้องคดีนั้น จะต้องทาการ
สอบสวนจนได้ความจริงยุติว่า การกระทาของผู้ฟ้องคดีเป็นการจงใจละเว้นการปฏิบัติหน้าที่
ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน แต่เมื่อพิจารณาพจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของคาว่า “จงใจ” หมายถึง ตั้งใจ หมายใจ เจตนา
แต่กรณีของผู้ฟ้องคดีนั้นมิได้จงใจละเว้นหน้าที่ แต่เกิดจากการไว้วางใจเสมียนทนายความ
ซึ่งได้มอบหมายให้ไปดาเนินการแทนและได้สอบถามมาตลอดว่าศาลมีคาสั่งอย่างไร จึงเชื่อ
ตามคาบอกกล่าวของเสมียนทนายความ เหตุที่เกิดขึ้นเกิดจากการขาดความระมัดระวัง
ซึ่งเป็นการกระทาโดยประมาทเท่านั้น ซึ่งตามพจนานุกรมก็ได้ให้ความหมายของคาว่า
“จงใจ” และ “ประมาท” ที่แตกต่างกัน ทั้งตามประมวลกฎหมายอาญาก็ยังแยกความรับผิด
ของผู้กระทาผิดในความผิดฐานจงใจและฐานประมาทไว้แตกต่างกันอย่างชัดเจน ดังนั้น
การกระทาของผู้ฟ้องคดีจึงมิได้เป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่จะต้องรับผิดตามมาตรา ๕๒ (๒)
แห่งพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ให้การว่า ข้อบังคับสภาทนายความว่า ด้วยมรรยาท
ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ ข้อ ๑๒ (๒) กาหนดว่า การกระทาโดยจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควร
กระทาอันเกี่ยวกับการดาเนินคดีแห่งลูกความของตนหรือปิดบังข้อความที่ควรแจ้ง
ให้ลูกความทราบเป็นการผิดมรรยาทต่อตัวความ ซึ่งมีบทลงโทษตามพระราชบัญญัติ
ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๕๒ (๒) ห้ามทาการเป็นทนายความมีกาหนดไม่เกิน
สามปี เมื่อผู้ฟ้องคดีตกลงรับเป็นทนายความเพื่อดาเนินคดีให้แก่นางอรวรรณแล้ว ผู้ฟ้องคดี
ต้องทาหน้าที่ทนายความไปจนกว่าคดีจะถึงที่สุดหรือจนกว่าลูกความจะบอกเลิกการจ้าง
ดังนั้น ผู้ฟ้องคดีในฐานะทนายความย่อมมีหน้าที่จัดการอันสมควรทุกอย่าง เพื่อปกป้องรักษา
/ผลประโยชน์…
๗
ผลประโยชน์ของลูกความตามที่ได้รับมอบหมาย การที่ผู้ฟ้องคดีอ้างว่ามิได้จงใจละเว้น
หน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน เนื่องจากการที่ศาลมีคาสั่ง
ยกคาร้องขอขยายระยะเวลาในครั้งที่ ๒ นั้น นายธวัชชัยได้แจ้งแก่ผู้ฟ้องคดีว่า ศาลอนุญาต
ตามขอ ผู้ฟ้องคดีจึงเชื่อโดยสุจริตใจว่ายังสามารถยื่นอุทธรณ์ได้ และการที่มิได้ยื่นอุทธรณ์
ต่อศาลภายในกาหนดเวลาเป็นความรับผิดชอบในทางละเมิดซึ่งเป็นเรื่องในทางแพ่งนั้น
เห็นว่า เมื่อผู้ฟ้องคดีมอบฉันทะให้เสมียนทนายความเป็นผู้ไปยื่นคาร้องขอขยายระยะเวลา
อุทธรณ์แทนแล้ว แต่ผู้ฟ้องคดีไม่ติดตามดูคาสั่งศาลหรือตรวจสอบข้อมูลว่าศาลสั่งในคาร้อง
ว่าอย่างไร แต่เชื่อเพียงคาบอกกล่าวของผู้รับมอบฉันทะที่รายงานข้อมูลที่ไม่ตรงตามความ
เป็นจริง จึงถือว่าเป็นการบกพร่องต่อหน้าที่อันอาจทาให้เสื่อมเสียประโยชน์ของลูกความ
เนื่องจากทนายความเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ความชานาญในวิชาชีพเป็นพิเศษ
ยิ่งกว่าอาชีพอื่น จึงต้องปฏิบัติงานอย่างละเอียดรอบคอบ ระมัดระวังเอาใจใส่ในหน้าที่
ของตนเอง ประกอบกับในใบมอบฉันทะฉบับลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓ ได้ระบุว่า
มอบฉันทะให้นายธวัชชัยไปยื่นคาร้องขอขยายอุทธรณ์รับทราบคาสั่งศาลและอื่นๆ โดย
ผู้ฟ้องคดียอมรับผิดในการที่ผู้รับมอบฉันทะได้ทาไปทุกประการ ดังนั้น การที่ผู้ฟ้องคดีมิได้
ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลตามกาหนดเวลา ย่อมอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ฟ้องคดีและไม่เป็น
เหตุผลเพียงพอที่จะปฏิเสธความรับผิดของผู้ฟ้องคดีได้ การกระทาของผู้ฟ้องคดีจึงเป็นการ
จงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน เป็นการ
ประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ
พ.ศ. ๒๕๒๙ ข้อ ๑๒ (๒) การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ มีคาสั่งลงโทษผู้ฟ้องคดี ห้ามผู้ฟ้องคดี
ทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน จึงเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดีแล้ว
ผู้ฟ้องคดีคัดค้านคาให้การของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ มีเนื้อความทานองเดียวกัน
กับคาคัดค้านคาให้การของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ให้การเพิ่มเติมว่า คาว่า “จงใจ” ในหมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒)
ของข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ มีความแตกต่างจาก
คาว่า“จงใจ”ในความหมายทั่วไป เนื่องจากผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ จาเป็นต้องใช้ความ
ระมัดระวังตามมาตรฐานของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ ดังนั้น การที่ทนายความมีหน้าที่
/ต้องกระทา…
๘
ต้องกระทาการให้แก่ลูกความแล้ว เมื่อไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวจึงถือว่าจงใจละเว้นหน้าที่
แล้ว การกระทาของผู้ถูกฟ้องคดีเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายเพื่อควบคุมสมาชิก
สภาทนายความให้ประพฤติอยู่ในกรอบของข้อบังคับมรรยาททนายความ อันเป็น
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพทนายความ เพื่อสร้างความเชื่อถือของประชาชนต่อผู้ประกอบ
วิชาชีพทนายความโดยส่วนรวม
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ให้การเพิ่มเติมว่า ขอยืนยันข้อเท็จจริงตามคาให้การ
ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๙ ทุกประการ
ศาลปกครองชั้นต้นพิจารณาแล้วเห็นว่า ผู้ฟ้องคดีซึ่งเป็นผู้ประกอบอาชีพ
ทนายความย่อมรู้อยู่แล้วว่า หากมิได้ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาภายในระยะเวลาที่กฎหมาย
กาหนดย่อมส่งผลให้คดีนั้นถึงที่สุด นางอรวรรณซึ่งเป็นโจทก์ไม่อาจใช้สิทธิทางศาล
ต่อไปอีกได้ ส่งผลให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่นางอรวรรณ ซึ่งเป็นลูกความของตน
และโดยวิสัยของผู้มีวิชาชีพทนายความแล้ว ย่อมต้องมีระดับความรับผิดชอบและความระมัดระวัง
ในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ อันเป็นที่ไว้วางใจของประชาชนที่จะต้องรักษาประโยชน์ของ
ลูกความ สูงกว่ามาตรฐานของบุคคลธรรมดา ดังนั้น ผู้ฟ้องคดีจึงไม่อาจยกเหตุแห่งความ
สะเพร่าของตนเองที่ไม่ควบคุมดูแลงานที่มอบหมายให้นายธวัชชัย เสมียนทนายความ
ไปกระทาจนเกิดความเสียหายแก่นางอรวรรณ เป็นข้อแก้ตัวเพื่อปฏิเสธความรับผิดตามที่
ถูกกล่าวหาได้ ข้ออ้างของผู้ฟ้องคดีจึงฟังไม่ขึ้น พฤติการณ์และการกระทาของผู้ฟ้องคดี
เป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน
ตามข้อ ๑๒ (๒) ของข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ แล้ว
การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ใช้อานาจตามมาตรา ๕๒ แห่งพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘
มีคาสั่งชี้ขาดลงโทษห้ามผู้ฟ้องคดีทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน นั้น เหมาะสม
แก่กรณีความผิดที่ผู้ฟ้องคดีได้กระทาแล้ว และการที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ วินิจฉัยอุทธรณ์ของ
ผู้ฟ้องคดีและมีคาสั่งชี้ขาดยืนตามความเห็นของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ห้ามผู้ฟ้องคดีทาการ
เป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน จึงชอบด้วยกฎหมายเช่นกัน พิพากษายกฟ้อง
ผู้ฟ้องคดีอุทธรณ์ว่า ที่ศาลปกครองชั้นต้นวินิจฉัยว่า ผู้ฟ้องคดีไม่อาจยกเหตุ
แห่งความสะเพร่าของตนเอง ที่ไม่ควบคุมดูแลงานที่มอบหมายให้เสมียนทนายความ
/ไปกระทา…
๙
ไปกระทาจนเกิดความเสียหายแก่นางอรวรรณเป็นข้อแก้ตัวเพื่อปฏิเสธความรับผิด
ตามที่ถูกกล่าวหาได้ ข้ออ้างของผู้ฟ้องคดีจึงฟังไม่ขึ้น พฤติการณ์และการกระทาของผู้ฟ้องคดี
เป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน
ตามข้อ ๑๒ (๒) ของข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ นั้น
ตามข้อ ๑๒ (๒) ของข้อบังคับดังกล่าว การที่จะลงโทษทนายความที่ผิดมรรยาท
ในข้อบังคับดังกล่าวได้ จะต้องเกิดจากการจงใจ เมื่อพิจารณาตามพฤติการณ์
และการกระทาของผู้ฟ้องคดีซึ่งมิได้จงใจละเว้นแต่อย่างใด หากแต่เกิดจากการหลงเชื่อ
เสมียนทนายความเท่านั้น ซึ่งผู้ฟ้องคดีก็ยอมรับมาตลอดว่าเหตุที่เกิดขึ้นเกิดจากความสะเพร่า
ที่เชื่อเสมียนทนายความมากเกินไป ซึ่งเป็นความประมาทเลินเล่อของผู้ฟ้องคดีเท่านั้น
อันเป็นมูลละเมิดทางแพ่ง และนางอรวรรณก็มิได้ดาเนินคดีแพ่งเรียกร้องค่าเสียหายจาก
ผู้ฟ้องคดีแต่อย่างใด และเมื่อพิจารณาความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้
ให้ความหมายของคาว่า“จงใจ” หมายถึง ตั้งใจ หมายใจ เจตนา แต่ผู้ฟ้องคดีไม่ได้จงใจละเว้นหน้าที่
แต่อย่างใด ดังนั้น จึงไม่อาจยกเหตุแห่งความประมาทของผู้ฟ้องคดีมาถือเป็นการจงใจ
อันเป็นการกระทาผิดตาม ข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙
ข้อ ๑๒ (๒) ได้ จึงขอศาลปกครองสูงสุดพิพากษาตามคาขอท้ายฟ้องของผู้ฟ้องคดี
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ แก้อุทธรณ์ว่า ข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาท
ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ เป็นมาตรฐานขั้นต่าที่ทนายความทุกคนต้องยึดถือปฏิบัติ
หากทนายความผู้ใดฝ่าฝืน อาจจะต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกาหนด โดยไม่ใช่มาตรฐาน
ในระดับวิญญูชนทั่วไป ดังนั้น มาตรฐานความรับผิดของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ
จึงต้องมีระดับมาตรฐานสูงกว่าวิญญูชนทั่วไป วิชาชีพทนายความเป็นวิชาชีพที่ต้อง
ใช้ความรู้ความสามารถและความชานาญเป็นพิเศษ ต้องใช้ความระมัดระวังและเอาใจใส่ใน
การปฏิบัติหน้าที่ยิ่งกว่าอาชีพอื่น เนื่องจากเป็นการทาหน้าที่รักษาประโยชน์ของลูกความ ผลจาก
การกระทาของทนายความย่อมตกแก่ลูกความเพียงฝ่ายเดียว หากผู้ประกอบวิชาชีพ
ทนายความไม่ทาหน้าที่ด้วยความระมัดระวังและเอาใจใส่เป็นพิเศษแล้ว ย่อมเกิดผลร้าย
ต่อลูกความ การที่ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความไม่ไปศาลในวันนัด หรือไม่ปฏิบัติตาม
ขั้นตอนที่กาหนดในกฎหมายวิธีพิจารณาความ อันเป็นการทอดทิ้งคดี หรือละเว้นหน้าที่
/ที่ควรกระทา…
๑๐
ที่ควรกระทาเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน ไม่ว่าจะเป็นเพราะเหตุแห่งการ
หลงลืม หรือเลินเล่อ หรือเข้าใจผิดประการใดประการหนึ่ง หรือไม่ทราบถึงบทบัญญัติ
ของกฎหมายของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ ต้องถือว่าเป็นความจงใจทั้งสิ้น ผู้ประกอบ
วิชาชีพทนายความจะอ้างเหตุแห่งการหลงลืม หรือความสะเพร่า หรือความเข้าใจผิด
หรือไม่ทราบบทบัญญัติของกฎหมาย มาเป็นเหตุให้ตนพ้นความรับผิดทางวิชาชีพย่อมไม่ได้
เมื่อทนายความไม่ได้ใช้ความระมัดระวังในการปฏิบัติงานจึงเป็นการจงใจไม่ปฏิบัติหน้าที่
ทนายความ และการที่ผู้ฟ้องคดีมอบฉันทะให้เสมียนทนายความไปยื่นคาร้องขอขยาย
ระยะเวลาอุทธรณ์ และใบมอบฉันทะดังกล่าวผู้ฟ้องคดีได้ลงชื่อในท้ายคาร้องซึ่งมีข้อความ
หมายเหตุว่า “ข้าพเจ้ารอฟังคาสั่งอยู่ ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว ” และเสมียนทนายความ
ผู้รับมอบฉันทะได้ลงชื่อท้ายข้อความว่า “ข้าพเจ้าจะมาฟังคาสั่งภายใน ๗ วัน นับแต่วันนี้
หากไม่มาให้ถือว่าทราบคาสั่งแล้ว ” จึงมีความหมายว่า ผู้ฟ้องคดีต้องมารับฟังคาสั่งศาล
เกี่ยวกับคาร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ดังกล่าว เมื่อผู้ฟ้องคดีและผู้รับมอบฉันทะมิได้มา
รับทราบคาสั่งศาล ผู้ฟ้องคดีก็ต้องรับผิดชอบในการที่ผู้รับมอบฉันทะจากผู้ฟ้องคดีได้ทาไป
ทุกประการ ซึ่งเสมียนทนายความผู้รับมอบฉันทะได้ให้การต่อคณะกรรมการสอบสวนคดี
มรรยาททนายความว่า ผู้รับมอบฉันทะมิได้ไปติดตามเพื่อทราบคาสั่งของศาล ดังนั้น
ผู้ฟ้องคดีในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพทนายความที่มีหน้าที่ควบคุมดูแลให้เสมียนทนายความ
ติดตามรับทราบคาสั่งของศาล แต่ผู้ฟ้องคดีได้ละเว้นหน้าที่ของตนไม่ติดตามตรวจสอบ
การทางานของเสมียนทนายความ และไม่ติดตามรับทราบคาสั่งของศาลด้วยตนเอง
จนเกิดความเสียหายแก่ลูกความที่ไม่สามารถอุทธรณ์คาพิพากษาได้ ดังนั้น การกระทา
ของผู้ฟ้องคดีจึงเป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวกับการดาเนินคดีแห่ง
ลูกความของตน ผู้ฟ้องคดีไม่อาจอ้างความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
มาใช้ในการพิจารณาคดีมรรยาททนายความได้ เพราะประชาชนที่มีอรรถคดีย่อมได้รับความ
เสียหายอย่างมาก เมื่อเกิดความเสียหายแก่ลูกความแล้ว ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ
ก็อ้างเหตุความผิดพลาดของเสมียนทนายความมาเป็นข้อแก้ตัว เพื่อมิให้ตนเองต้องรับผิดได้
ดังนั้น จะอ้างเหตุดังกล่าวเพื่อให้พ้นความรับผิดทางวิชาชีพทนายความไม่ได้อย่างเด็ดขาด
การที่นางอรวรรณผู้กล่าวหาในคดีมรรยาททนายความมิได้ดาเนินการทางกฎหมายอาญา
/หรือกฎหมาย …
๑๑
หรือกฎหมายแพ่งกับผู้ฟ้องคดี ก็เป็นเพียงการไม่ประสงค์ใช้สิทธิของผู้กล่าวหาเท่านั้น
มิได้ทาให้ผู้ฟ้องคดีได้รับประโยชน์ในทางคดีมรรยาททนายความแต่อย่างใด คาสั่ง
ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ที่ให้ลงโทษผู้ฟ้องคดีจึงชอบด้วยกฎหมายแล้ว
จึงขอศาลปกครองสูงสุดพิพากษาให้ยกอุทธรณ์ของผู้ฟ้องคดี
ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ถือเอาคาให้การและคาให้การเพิ่มเติมพร้อมทั้งเอกสาร
ท้ายคาให้การและคาพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นเป็นคาแก้อุทธรณ์
ศาลปกครองสูงสุดออกนั่งพิจารณาคดีโดยได้รับฟังสรุปข้อเท็จจริงของ
ตุลาการเจ้าของสานวน และคาชี้แจงด้วยวาจาประกอบคาแถลงการณ์ของตุลาการผู้แถลงคดี
ศาลปกครองสูงสุดได้ตรวจพิจารณาเอกสารทั้งหมดในสานวนคดี กฎหมาย
ระเบียบ ข้อบังคับ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยแล้ว
ข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ผู้ฟ้องคดีประกอบวิชาชีพทนายความรับเป็น
ทนายความให้แก่นางอรวรรณ ตั้งศิริไพศาล เป็นโจทก์ยื่นฟ้องนางบุษบา กล่าเสือ
ต่อศาลแพ่งธนบุรี ในฐานความผิดสัญญากู้ยืมเงินและสัญญาจานอง ในคดีหมายเลขดาที่
ย. ๑๒/๒๕๔๓ คดีหมายเลขแดงที่ ย. ๖๔๓/๒๕๔๓ ต่อมา ศาลแพ่งธนบุรีมีคาพิพากษาให้
นางอรวรรณชนะคดีโดยได้รับชาระหนี้บางส่วนไม่เต็มตามฟ้อง ผู้ฟ้องคดีได้ แนะนา
นางอรวรรณว่าไม่ควรอุทธรณ์คาพิพากษา เพราะบันทึกท้ายสัญญาจานองไม่ได้ระบุ
ให้ยึดทรัพย์สินได้อีก หากบังคับจานองอาจได้เงินไม่พอชาระหนี้ หากศาลอุทธรณ์พิพากษา
ให้ได้รับชาระหนี้เพิ่มขึ้น ก็ไม่แน่นอนว่าจะขายทอดตลาดทรัพย์จานองได้เงินเท่าใด
และจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการอุทธรณ์อีกต่างหาก ซึ่งนางอรวรรณเห็นด้วยและตกลงว่า
จะไม่ยื่นอุทธรณ์ หลังจากนั้น เมื่อใกล้ครบกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ วันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓
ผู้ฟ้องคดีได้ทาหนังสือมอบฉันทะให้นายธวัชชัย หอมสุคนธ์ เสมียนทนายความไปยื่นคาร้อง
ขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์คาพิพากษาออกไปอีก ๔๕ วัน นับแต่วันครบกาหนดคือวันที่
๑๔ ธันวาคม ๒๕๔๓ ไปจนถึงวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๔ แต่ศาลมีคาสั่งอนุญาตให้ขยาย
ระยะเวลายื่นอุทธรณ์เพียง ๓๐ วันนับแต่วันครบกาหนดคือ ให้ยื่นอุทธรณ์ภายในวันที่
/๑๕ มกราคม …
๑๒
๑๕ มกราคม ๒๕๔๔ ผู้ฟ้องคดีมิได้ไปติดตามคาสั่งศาลด้วยตนเอง จึงเข้าใจว่าศาลอนุญาต
ให้ขยายระยะเวลาออกไปอีก ๔๕ วัน ตามขอ และผู้ฟ้องคดีได้สอบถามนางอรวรรณว่า
จะยื่นอุทธรณ์หรือไม่ ทั้งๆ ที่แนะนาว่าไม่ควรยื่นอุทธรณ์จนนางอรวรรณ ต้องการ
ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาจึงได้มอบเงินจานวน ๖๐,๐๐๐ บาท เป็นค่ายื่นอุทธรณ์ให้กับ
ผู้ฟ้องคดี เมื่อใกล้ครบกาหนดระยะเวลายื่นอุทธรณ์ ผู้ฟ้องคดีจึงได้มอบฉันทะให้นายธวัชชัย
ไปยื่นคาร้องขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์คาพิพากษาเป็นครั้งที่ ๒ ออกไปอีก ๓๐ วัน
นับแต่วันครบกาหนดไปจนถึงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ แต่ศาลมีคาสั่งยกคาร้อง
ไม่อนุญาตให้ขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์ครั้งที่ ๒ เนื่องจากเป็นการยื่นคาร้องขอขยาย
ระยะเวลาอุทธรณ์คาพิพากษาที่ล่วงพ้นกาหนดระยะเวลาแล้ว ทาให้นางอรวรรณไม่สามารถ
ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาของศาลชั้นต้นได้ นางอรวรรณจึงได้ร้องเรียนกล่าวหาผู้ฟ้องคดี
ต่อผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ว่ากระทาผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพทนายความ จากนั้นผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒
ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ได้สอบสวนแล้วมีความเห็นว่าผู้ฟ้องคดีกระทาผิด
ตามที่ถูกกล่าวหาจริง จึงเสนอผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ให้ลงโทษห้ามผู้ฟ้องคดีทาการ
เป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ เห็นชอบด้วย ผู้ฟ้องคดีจึงยื่นอุทธรณ์
คาสั่งต่อผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ผลการพิจารณาของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ เห็นว่า ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓
ลงโทษผู้ฟ้องคดีเหมาะสมแก่กรณีแล้ว จึงมีคาสั่งชี้ขาดยืนตามความเห็นของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓
ผู้ฟ้องคดีเห็นว่า ไม่ได้กระทาผิดตามที่ถูกกล่าวหา จึงฟ้องคดีต่อศาล
ขอให้มีคาพิพากษาหรือมีคาสั่ง ดังนี้
๑. ให้เพิกถอนมติของคณะกรรมการสอบสวนที่มีมติว่าการกระทาของ
ผู้ฟ้องคดีเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความเห็นควรให้ภาคทัณฑ์
๒. ให้เพิกถอนมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ในการประชุมครั้งที่ ๑๔/๒๕๔๘
เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ที่มีมติว่าการกระทาของผู้ฟ้องคดีเป็นการประพฤติผิด
ข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ หมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒)
เห็นควรห้ามทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน
๓. ให้เพิกถอนมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๔๘
เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ ที่มีมติเช่นเดียวกับมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒
/๔. ให้เพิกถอน…
๑๓
๔. ให้เพิกถอนคาสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ที่ห้ามผู้ฟ้องคดีทาการเป็นทนายความ
มีกาหนด ๖ เดือน
ศาลปกครองชั้นต้นมีคาสั่งไม่รับฟ้องของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒
เนื่องจากผู้ฟ้องคดีมิใช่ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้
อันเนื่องจากการกระทาหรืองดเว้นการกระทาของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒
ผู้ฟ้องคดีมิได้อุทธรณ์คาสั่งดังกล่าว
คดีมีประเด็นต้องวินิจฉัยว่า คาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ที่ห้ามผู้ฟ้องคดี
ทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน และคาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ที่วินิจฉัยอุทธรณ์
ยืนตามคาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
ผู้ฟ้องคดีอุทธรณ์แต่เพียงว่า การกระทาของผู้ฟ้องคดีไม่เป็นการจงใจ
ละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา
พิเคราะห์แล้วเห็นว่า ตามหมวด ๓ มรรยาทต่อตัวความ ข้อ ๑๒ ของ
ข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ บัญญัติว่า กระทาการ
อย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าวต่อไปนี้ อันอาจทาให้เสื่อมเสียประโยชน์ของลูกความ (๒) จงใจ
ละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน หรือปิดบังข้อความ
ที่ควรแจ้งให้ลูกความทราบ มีปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยว่า การที่ผู้ฟ้องคดีมอบหมายให้เสมียน
ทนายความไปยื่นต่อศาล เพื่อขอขยายระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์มีกาหนดระยะเวลา ๔๕ วัน
โดยไม่ติดตามว่าศาลอนุญาตให้ขยายระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์ให้เพียง ๓๐ วัน เป็นเหตุให้
นางอรวรรณเสียสิทธิการยื่นอุทธรณ์เป็นการกระทาที่จงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา
อันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความหรือไม่ เห็นว่าผู้ฟ้องคดีมีภาระหน้าที่ที่จะต้องยื่นอุทธรณ์
แทนลูกความให้ทันตามกาหนดระยะเวลาที่ได้รับอนุญาต เมื่อผู้ฟ้องคดีมอบหมายให้
เสมียนทนายความไปยื่นขอขยายระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์ ผู้ฟ้องคดีมีภาระหน้าที่
ต้องติดตามผลว่าศาลได้มีคาสั่งอนุญาตให้ขยายระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์ถึงวันที่เท่าไร
การที่ผู้ฟ้องคดีไม่กระทาการตามหน้าที่ทนายความติดตามผลการขยายระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์
เป็นเหตุให้ลูกความได้รับความเสียหายถึงเสียสิทธิการยื่นอุทธรณ์ การกระทาของผู้ฟ้องคดี
ฟังได้ว่าเป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความแล้ว ดังนั้น
/ที่ผู้ฟ้องคดี…
๑๔
ที่ผู้ฟ้องคดีอุทธรณ์ว่าไม่จงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาจึงฟังไม่ขึ้น คาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓
ที่ห้ามผู้ฟ้องคดีทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน และคาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔
ที่วินิจฉัยอุทธรณ์ยืนตามคาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ จึงชอบด้วยกฎหมาย ที่ศาลปกครองชั้นต้น
พิพากษายกฟ้องนั้น ศาลปกครองสูงสุดเห็นพ้องด้วย
พิพากษายืน
นายพรชัย มนัสศิริเพ็ญ ตุลาการเจ้าของสานวน
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
นายเกษม คมสัตย์ธรรม ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
รองประธานศาลปกครองสูงสุด
นายวรวิทย์ กังศศิเทียม
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
นายประสิทธิ์ศักดิ์ มีลาภ
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
นายมนูญ ปุญญกริยากร
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
ตุลาการผู้แถลงคดี : พันเอก วรศักดิ์ อารีเปี่ยม
วันที่อ่าน
ธนวรรณ : ผู้พิมพ์

More Related Content

What's hot

คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...Parun Rutjanathamrong
 
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรีหนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรีAkekrin Kerdsoong
 
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยโครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยพรรณภา ดาวตก
 
ฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
ฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวรฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
ฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวรPairat Dam
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555RMUTT
 
2556-541-คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีฝนรหัสประจำตัวผิด ปรับตกไม่ได้
2556-541-คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีฝนรหัสประจำตัวผิด ปรับตกไม่ได้2556-541-คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีฝนรหัสประจำตัวผิด ปรับตกไม่ได้
2556-541-คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีฝนรหัสประจำตัวผิด ปรับตกไม่ได้Parun Rutjanathamrong
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดrungtip boontiengtam
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อNurat Puankhamma
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555RMUTT
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...Prawwe Papasson
 
2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdflohkako kaka
 

What's hot (20)

โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
 
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรีหนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
 
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยโครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
 
ฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
ฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวรฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
ฟ้องแพทยสภาเพิกถอนมติกรณีนางไข ดำรงกิจถาวร
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่1 2555
 
2556-541-คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีฝนรหัสประจำตัวผิด ปรับตกไม่ได้
2556-541-คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีฝนรหัสประจำตัวผิด ปรับตกไม่ได้2556-541-คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีฝนรหัสประจำตัวผิด ปรับตกไม่ได้
2556-541-คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีฝนรหัสประจำตัวผิด ปรับตกไม่ได้
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
 
2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 

Viewers also liked

คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
หนังสือร้องเรียน
หนังสือร้องเรียนหนังสือร้องเรียน
หนังสือร้องเรียนChor Chang
 
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาคคำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาคปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ความเห็นคกก.ปฏิรูปกฎหมายต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเห็นคกก.ปฏิรูปกฎหมายต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯความเห็นคกก.ปฏิรูปกฎหมายต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเห็นคกก.ปฏิรูปกฎหมายต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
คำพิพากษาศาลปกครองกลางให้คนไข้ชนะคดีรพ.ศิริราชกรณีทำเวชระเบียนหาย 17พย53
คำพิพากษาศาลปกครองกลางให้คนไข้ชนะคดีรพ.ศิริราชกรณีทำเวชระเบียนหาย 17พย53คำพิพากษาศาลปกครองกลางให้คนไข้ชนะคดีรพ.ศิริราชกรณีทำเวชระเบียนหาย 17พย53
คำพิพากษาศาลปกครองกลางให้คนไข้ชนะคดีรพ.ศิริราชกรณีทำเวชระเบียนหาย 17พย53ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

Viewers also liked (20)

คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดีคำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด แพทยสภาผู้ถูกฟ้องคดี
 
หนังสือร้องเรียน
หนังสือร้องเรียนหนังสือร้องเรียน
หนังสือร้องเรียน
 
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาคคำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
คำพิพากษาศาลชั้นต้น คดีคุณพรสรัญ ปริญญาวิภาค
 
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
 
ทำไมต้องมีพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ทำไมต้องมีพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯทำไมต้องมีพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ทำไมต้องมีพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
 
ความเห็นคกก.ปฏิรูปกฎหมายต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเห็นคกก.ปฏิรูปกฎหมายต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯความเห็นคกก.ปฏิรูปกฎหมายต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเห็นคกก.ปฏิรูปกฎหมายต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
 
วาระการประชุมสภาฯ 15 16กพ.55
วาระการประชุมสภาฯ 15 16กพ.55วาระการประชุมสภาฯ 15 16กพ.55
วาระการประชุมสภาฯ 15 16กพ.55
 
รายงานคกก.สิทธฯ รพ.พญาไท1+แพทยสภา
รายงานคกก.สิทธฯ รพ.พญาไท1+แพทยสภารายงานคกก.สิทธฯ รพ.พญาไท1+แพทยสภา
รายงานคกก.สิทธฯ รพ.พญาไท1+แพทยสภา
 
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
 
ป้าบุญมา1
ป้าบุญมา1ป้าบุญมา1
ป้าบุญมา1
 
คำแถลงการณ์ตุลาการผู้แถลงคดี
คำแถลงการณ์ตุลาการผู้แถลงคดีคำแถลงการณ์ตุลาการผู้แถลงคดี
คำแถลงการณ์ตุลาการผู้แถลงคดี
 
เอกสารเครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์
เอกสารเครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์เอกสารเครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์
เอกสารเครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์
 
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ 18 ต.ค.54
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ 18 ต.ค.54คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ 18 ต.ค.54
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ 18 ต.ค.54
 
คำพิพากษาคดีน้องต้นกล้า
คำพิพากษาคดีน้องต้นกล้าคำพิพากษาคดีน้องต้นกล้า
คำพิพากษาคดีน้องต้นกล้า
 
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีน้องบู่บู๊ 26-03-56
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีน้องบู่บู๊ 26-03-56คำพิพากษาศาลฎีกาคดีน้องบู่บู๊ 26-03-56
คำพิพากษาศาลฎีกาคดีน้องบู่บู๊ 26-03-56
 
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีน้องน้ำผึ้งจ.ตาก
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีน้องน้ำผึ้งจ.ตากคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีน้องน้ำผึ้งจ.ตาก
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีน้องน้ำผึ้งจ.ตาก
 
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ คดีน้องแชมป์
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ คดีน้องแชมป์คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ คดีน้องแชมป์
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ คดีน้องแชมป์
 
คำพิพากษาศาลปกครองกลางให้คนไข้ชนะคดีรพ.ศิริราชกรณีทำเวชระเบียนหาย 17พย53
คำพิพากษาศาลปกครองกลางให้คนไข้ชนะคดีรพ.ศิริราชกรณีทำเวชระเบียนหาย 17พย53คำพิพากษาศาลปกครองกลางให้คนไข้ชนะคดีรพ.ศิริราชกรณีทำเวชระเบียนหาย 17พย53
คำพิพากษาศาลปกครองกลางให้คนไข้ชนะคดีรพ.ศิริราชกรณีทำเวชระเบียนหาย 17พย53
 
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีคลอดลูกแม่เสียชีวิต
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีคลอดลูกแม่เสียชีวิตคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีคลอดลูกแม่เสียชีวิต
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีคลอดลูกแม่เสียชีวิต
 

คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา

  • 1. คดีหมายเลขดาที่อ. ๑๕๓/๒๕๕๑ คดีหมายเลขแดงที่อ. ๓๑/๒๕๕๔ ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ศาลปกครองสูงสุด วันที่ ๑ เดือน กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๕๔ นายฉลองชัย ยงเสมอ สภาทนายความ ที่ ๑ คณะกรรมการมรรยาททนายความ ที่ ๒ คณะกรรมการสภาทนายความ ที่ ๓ สภานายกพิเศษแห่งสภาทนายความ ที่ ๔ เรื่อง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย (อุทธรณ์คาพิพากษา) ผู้ฟ้องคดียื่นอุทธรณ์คาพิพากษา ในคดีหมายเลขดาที่ ๑๒๖๐/๒๕๔๙ หมายเลขแดงที่ ๒๒๕๙/๒๕๕๐ ของศาลปกครองชั้นต้น (ศาลปกครองกลาง) ผู้ฟ้องคดีฟ้องว่า ผู้ฟ้องคดีประกอบอาชีพทนายความ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๔ นางอรวรรณ ตั้งศิริไพศาล ได้ยื่นหนังสือต่อผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ กล่าวหาว่า ผู้ฟ้องคดีประพฤติผิดมรรยาททนายความ กรณีนางอรวรรณ ได้มอบหมายให้ผู้ฟ้องคดี เป็นทนายความฟ้องดาเนินคดีนางบุษบา กล่าเสือ เป็นจาเลยต่อศาลแพ่งธนบุรี ในฐาน คาพิพากษา (อุทธรณ์) (ต. ๒๒) ระหว่าง /ความผิดสัญญา… ผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดี
  • 2. ๒ ความผิดสัญญากู้ยืมเงินและสัญญาจานอง มีทุนทรัพย์ จานวน ๑,๖๔๐,๑๗๐ บาท ต่อมา ศาลแพ่งธนบุรีมีคาพิพากษาให้จาเลยชาระหนี้ให้แก่นางอรวรรณ เพียง ๓๐๐,๐๐๐ บาทเศษ นางอรวรรณ ประสงค์จะยื่นอุทธรณ์ต่อไป ผู้ฟ้องคดีจึงได้ขอเบิกเงินจากนางอรวรรณ เพื่อเป็นค่าทนายความและค่าธรรมเนียมอุทธรณ์เป็นเงิน ๖๐,๐๐๐ บาท จากนั้นได้ติดตาม ทวงถามเรื่องอุทธรณ์กับผู้ฟ้องคดีมาตลอดแต่ผู้ฟ้องคดีก็ผัดผ่อนเรื่อยมา จนกระทั่งวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๔ นางอรวรรณได้ไปตรวจสานวนที่ศาลแพ่งธนบุรีจึงทราบว่าหมดสิทธิ อุทธรณ์แล้ว เนื่องจากพ้นระยะเวลาอุทธรณ์และถูกผู้ฟ้องคดีหลอกเอาเงินไป ๖๐,๐๐๐ บาท จึงโทรศัพท์ต่อว่าผู้ฟ้องคดีและขอเงินคืน ผู้ฟ้องคดีจึงได้คืนเงินให้เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๔๔ และนอกจากนั้นผู้ฟ้องคดียังคิดค่าทนายความร้อยละ ๑๐ ของเงินที่นางอรวรรณจะได้รับ จากการขายทอดตลาด ซึ่งเป็นการกระทาผิดมรรยาททนายความตามพระราชบัญญัติ ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นแก้ข้อกล่าวหาดังกล่าวว่า ผู้ฟ้องคดีได้ดาเนินคดีแทนนางอรวรรณ จนกระทั่งศาลมีคาพิพากษาให้ได้รับการชาระหนี้และดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๑๕ ต่อปี เป็นเงิน ๓๔๙,๖๔๕ บาท ผู้ฟ้องคดีจึงได้โทรสารย่อคาพิพากษาให้นางอรวรรณทราบทันที และแนะนาว่าไม่ควรอุทธรณ์คาพิพากษา เพราะบันทึกท้ายสัญญาจานองไม่ได้ระบุว่า หากบังคับจานองได้เงินไม่พอชาระหนี้ให้ยึดทรัพย์สินอื่นได้อีก หากอุทธรณ์ไปและศาล อุทธรณ์พิพากษาให้ได้รับชาระหนี้มากกว่าก็ไม่แน่นอนว่าจะขายทอดตลาดที่ดินจานอง ได้เงินเท่าใดและยังจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการอุทธรณ์อีกต่างหาก จึงควรเข้าประมูลซื้อที่ดิน จากการขายทอดตลาดจะคุ้มค่ากว่า ซึ่งนางอรวรรณเห็นด้วยและตกลงว่าจะไม่ยื่นอุทธรณ์ แต่ไม่ได้ยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษร ผู้ฟ้องคดีจึงได้ไปยื่นขอคัดถ่ายรับรองสาเนา คาพิพากษาเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ เมื่อใกล้ครบกาหนดยื่นอุทธรณ์แล้ว ก็ยังไม่ได้รับสาเนาคาพิพากษา จากนั้นในวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓ จึงได้มอบหมายให้ นายธวัชชัย หอมสุคนธ์ เสมียนทนายความ ไปยื่นเรื่องขอขยายเวลาอุทธรณ์ ครั้งที่ ๑ เป็นเวลา ๔๕ วัน ซึ่งจะครบกาหนดในวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๔ และจากการสอบถาม นายธวัชชัยได้รับแจ้งว่าศาลอนุญาตตามขอ ต่อมา เห็นว่าระยะเวลาขยายอุทธรณ์ครั้งแรก ใกล้จะครบกาหนดแต่ยังมิได้รับสาเนาคาพิพากษาจากศาล จึงได้มอบหมายให้นายธวัชชัย /เสมียนทนายความ…
  • 3. ๓ เสมียนทนายความไปยื่นเรื่องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์อีกครั้งเป็นครั้งที่ ๒ มีกาหนด ๓๐ วัน ซึ่งจะครบกาหนดในวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ ซึ่งก่อนนั้นผู้ฟ้องคดีได้มีหนังสือ ถึงนางอรวรรณ ให้แจ้งยืนยันว่าจะอุทธรณ์คาพิพากษาหรือไม่ ภายในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ แต่นางอรวรรณก็ไม่ได้ยืนยันกลับมา ผู้ฟ้องคดีจึงได้โทรศัพท์ไปหานางอรวรรณ อีกครั้ง นางอรวรรณแจ้งว่าประสงค์จะยื่นอุทธรณ์ ผู้ฟ้องคดีจึงได้ขอเบิกเงินค่าธรรมเนียมศาล เดินทางไปศาลแพ่งธนบุรีขอให้เจ้าหน้าที่ศาลคานวณค่าธรรมเนียมอุทธรณ์ จึงทราบว่า ศาลมีคาสั่งยกคาร้องในการยื่นคาขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์คาพิพากษา ครั้งที่ ๒ เนื่องจาก เป็นการยื่นคาร้องอุทธรณ์เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ได้แจ้งให้ ผู้ฟ้องคดีนาเงินคืนให้นางอรวรรณ ส่วนค่าทนายความร้อยละ ๑๐ ของเงินที่ได้จากการขาย ทอดตลาดเป็นหนี้ที่มีจานวนไม่แน่นอน หากเรียกเป็นเปอร์เซ็นต์จากทุนทรัพย์ที่ฟ้องและ ศาลพิพากษาให้ไม่เต็มตามจานวน นางอรวรรณก็จะต้องชาระเป็นเงินจานวนสูง จึงตกลงกัน ให้คิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากยอดเงินที่จะประมูลซื้อขายจากการขายทอดตลาด ผู้ฟ้องคดีจึงมิได้ ประพฤติผิดมรรยาททนายความแต่อย่างใด ต่อมา ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ได้สอบสวนแล้วมี ความเห็นว่า การที่ผู้ฟ้องคดีมอบให้เสมียนทนายความไปยื่นคาร้องขอขยายระยะเวลา ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาโดยเชื่อตามคารายงานของเสมียนทนายความซึ่งเป็นคารายงาน ที่ผิดพลาดโดยมิได้ติดตามตรวจสอบดูแลให้ถูกต้องจนล่วงเลยกาหนดเวลายื่นอุทธรณ์ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ลูกความ การกระทาของผู้ฟ้องคดีจึงเป็นการละเว้นหน้าที่ที่ควร กระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตนเป็นการประพฤติผิด ข้อบังคับ สภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ หมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒) จึงมีมติ ห้ามผู้ฟ้องคดีทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ พิจารณาแล้ว เห็นชอบด้วย โดยมีมติยืนตามคาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นอุทธรณ์คาสั่ง ต่อผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ต่อมา ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ พิจารณาแล้วให้ยกอุทธรณ์ ผู้ฟ้องคดีเห็นว่า การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ จะลงโทษผู้ฟ้องคดีตามมาตรา ๕๒ (๒) แห่งพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้นั้น การสอบสวนจะต้องยุติว่า การกระทาของผู้ฟ้องคดีเป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดี แห่งลูกความของตน จึงจะถือว่าเป็นการกระทาผิดข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาท /ทนายความ…
  • 4. ๔ ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ หมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒) แต่กรณีของผู้ฟ้องคดีมิได้มีพฤติการณ์ เช่นนั้น ผู้ฟ้องคดีไม่ได้ละทิ้งหน้าที่ได้ติดตามสอบถามเสมียนทนายความมาตลอดว่า ศาลมีคาสั่งคาร้องอย่างไรและเชื่อไปตามนั้น ผู้ฟ้องคดีไม่ได้เบียดบังเอาเงินค่าใช้จ่ายและ ค่าทนายความชั้นอุทธรณ์จากนางอรวรรณผู้กล่าวหาร้องเรียน โดยลักษณะคดีแล้ว เมื่อนางอรวรรณได้รับชาระดอกเบี้ยจากลูกหนี้ตามคาพิพากษาไปมากแล้ว นางอรวรรณ จึงไม่เสียหายจากการกระทาของผู้ฟ้องคดี ทั้งผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ก็ยังมีความเห็นว่า การกระทาของผู้ฟ้องคดีนั้นเป็นเพียงความสะเพร่าเท่านั้น ผู้ฟ้องคดีไม่ได้กระทาผิดตามที่ ถูกกล่าวหา จึงฟ้องคดีต่อศาล ขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่ง ดังนี้ ๑. เพิกถอนมติของคณะกรรมการสอบสวน ที่มีมติว่าการกระทาของ ผู้ฟ้องคดีเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความ เห็นควรให้ภาคทัณฑ์ ๒. เพิกถอนมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ในการประชุมครั้งที่ ๑๔/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ที่มีมติว่าการกระทาของผู้ฟ้องคดีเป็นการประพฤติผิด ข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ หมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒) เห็นควรห้ามทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน ๓. เพิกถอนมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ ที่มีมติเช่นเดียวกับมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ๔. เพิกถอนคาสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ที่ห้ามผู้ฟ้องคดีทาการเป็น ทนายความมีกาหนด ๖ เดือน ในชั้นรับฟ้อง ศาลมีคาสั่งรับคาฟ้องเฉพาะส่วนของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ และ ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ไว้พิจารณา และไม่รับคาฟ้องผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ เนื่องจากผู้ฟ้องคดีมิใช่ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดร้อน หรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ อันเนื่องจากการกระทาหรืองดเว้นการกระทาของ ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ผู้ฟ้องคดีมิได้อุทธรณ์คาสั่งดังกล่าว ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ให้การว่า ตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๕๒ ข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ เป็นมาตรฐานขั้นต่าที่ทนายความทุกคนต้องยึดถือปฏิบัติ หากทนายความผู้ใด /ฝ่าฝืน…
  • 5. ๕ ฝ่าฝืนหรือไม่ปฎิบัติตามอาจจะต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกาหนด ซึ่งมาตรฐานขั้นต่านี้ มิใช่เป็นมาตรฐานในระดับวิญญูชนทั่วไป แต่เป็นมาตรฐานของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ ผู้ซึ่งมีความรู้ความสามารถในทางกฎหมาย ซึ่งจะต้องมีระดับความรับผิดชอบสูงกว่า วิญญูชนทั่วไป ทั้งต้องใช้ความระมัดระวังและเอาใจใส่การปฏิบัติหน้าที่ยิ่งกว่าอาชีพอื่น เนื่องจากการประกอบอาชีพทนายความเป็นการทาหน้าที่รักษาประโยชน์ของลูกความ ผลดีผลร้ายจากการกระทาของทนายความย่อมตกแก่ลูกความ ประกอบกับกฎหมาย วิธีพิจารณาความได้กาหนดบทบาทหน้าที่ของลูกความให้ต้องปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ หากผู้ประกอบวิชาชีพทนายความไม่ทาหน้าที่ด้วยความระมัดระวังเอาใจใส่เป็นพิเศษ ด้วยแล้ว ย่อมเกิดผลร้ายต่อลูกความ การที่ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความไม่ไปศาลในวันนัด หรือไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนดในกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง อันเป็นการทอดทิ้งคดี หรือละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีของลูกความของตน หรือมิได้บอก ข้อความที่ควรแจ้งให้ทราบ ไม่ว่าจะเป็นการหลงลืมหรือเลินเล่อหรือเข้าใจผิดประการใด ประการหนึ่ง หรือไม่ทราบถึงบทบัญญัติของกฎหมายถือเป็นความจงใจทั้งสิ้น การที่ผู้ฟ้องคดีมอบฉันทะให้นายธวัชชัย เสมียนทนายความไปยื่นคาร้อง ขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลแพ่งธนบุรีเป็นเวลา ๔๕ วัน ซึ่งท้ายคาร้องได้ หมายเหตุว่าข้าพเจ้ารอฟังคาสั่งอยู่ ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว และยังปรากฏข้อความต่อไป ว่า ข้าพเจ้าจะมาฟังคาสั่งภายใน ๗ วันนับแต่วันนี้ หากไม่มาให้ถือว่าทราบคาสั่งแล้ว โดยนายธวัชชัย ในฐานะเสมียนทนายความลงลายมือชื่อรับทราบไว้ จึงมีความหมายว่า ผู้ฟ้องคดีต้องมารับฟังคาสั่งศาลแพ่งธนบุรี เกี่ยวกับคาร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ ดังนั้น เมื่อผู้ฟ้องคดีและนายธวัชชัย มิได้มารับทราบคาสั่งศาลแพ่งธนบุรี ผู้ฟ้องคดีต้องรับผิดชอบ ในการที่นายธวัชชัย ผู้รับมอบฉันทะของผู้ฟ้องคดีได้กระทาไปทุกประการ การที่ผู้ฟ้องคดี ยื่นคาร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์คาพิพากษา เกินระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดและ ศาลมีคาสั่งยกคาร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์นั้น ผู้ฟ้องคดีในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ทนายความซึ่งมีหน้าที่ควบคุมดูแลให้นายธวัชชัย เสมียนทนายความติดตามรับทราบคาสั่ง ของศาลแพ่งธนบุรีทั้งสองฉบับ แต่ผู้ฟ้องคดีได้ละเว้นหน้าที่ของตนไม่ติดตามตรวจสอบ การทางานของเสมียนทนายความจนเกิดความเสียหายแก่ลูกความ การกระทาของผู้ฟ้องคดี /เป็นการจงใจ…
  • 6. ๖ เป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน คาสั่งลงโทษผู้ฟ้องคดี จึงชอบด้วยกฎหมายแล้ว ผู้ฟ้องคดีคัดค้านคาให้การของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ว่า การที่ผู้ฟ้องคดีจะผิด ข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ หมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒) นั้น การกระทาของผู้ฟ้องคดีจะต้องเป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวแก่ การดาเนินคดีแห่งลูกความของตนและตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๕๒ (๒) กาหนดว่า การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ จะมีมติลงโทษผู้ฟ้องคดีนั้น จะต้องทาการ สอบสวนจนได้ความจริงยุติว่า การกระทาของผู้ฟ้องคดีเป็นการจงใจละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน แต่เมื่อพิจารณาพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของคาว่า “จงใจ” หมายถึง ตั้งใจ หมายใจ เจตนา แต่กรณีของผู้ฟ้องคดีนั้นมิได้จงใจละเว้นหน้าที่ แต่เกิดจากการไว้วางใจเสมียนทนายความ ซึ่งได้มอบหมายให้ไปดาเนินการแทนและได้สอบถามมาตลอดว่าศาลมีคาสั่งอย่างไร จึงเชื่อ ตามคาบอกกล่าวของเสมียนทนายความ เหตุที่เกิดขึ้นเกิดจากการขาดความระมัดระวัง ซึ่งเป็นการกระทาโดยประมาทเท่านั้น ซึ่งตามพจนานุกรมก็ได้ให้ความหมายของคาว่า “จงใจ” และ “ประมาท” ที่แตกต่างกัน ทั้งตามประมวลกฎหมายอาญาก็ยังแยกความรับผิด ของผู้กระทาผิดในความผิดฐานจงใจและฐานประมาทไว้แตกต่างกันอย่างชัดเจน ดังนั้น การกระทาของผู้ฟ้องคดีจึงมิได้เป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่จะต้องรับผิดตามมาตรา ๕๒ (๒) แห่งพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ให้การว่า ข้อบังคับสภาทนายความว่า ด้วยมรรยาท ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ ข้อ ๑๒ (๒) กาหนดว่า การกระทาโดยจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควร กระทาอันเกี่ยวกับการดาเนินคดีแห่งลูกความของตนหรือปิดบังข้อความที่ควรแจ้ง ให้ลูกความทราบเป็นการผิดมรรยาทต่อตัวความ ซึ่งมีบทลงโทษตามพระราชบัญญัติ ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๕๒ (๒) ห้ามทาการเป็นทนายความมีกาหนดไม่เกิน สามปี เมื่อผู้ฟ้องคดีตกลงรับเป็นทนายความเพื่อดาเนินคดีให้แก่นางอรวรรณแล้ว ผู้ฟ้องคดี ต้องทาหน้าที่ทนายความไปจนกว่าคดีจะถึงที่สุดหรือจนกว่าลูกความจะบอกเลิกการจ้าง ดังนั้น ผู้ฟ้องคดีในฐานะทนายความย่อมมีหน้าที่จัดการอันสมควรทุกอย่าง เพื่อปกป้องรักษา /ผลประโยชน์…
  • 7. ๗ ผลประโยชน์ของลูกความตามที่ได้รับมอบหมาย การที่ผู้ฟ้องคดีอ้างว่ามิได้จงใจละเว้น หน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน เนื่องจากการที่ศาลมีคาสั่ง ยกคาร้องขอขยายระยะเวลาในครั้งที่ ๒ นั้น นายธวัชชัยได้แจ้งแก่ผู้ฟ้องคดีว่า ศาลอนุญาต ตามขอ ผู้ฟ้องคดีจึงเชื่อโดยสุจริตใจว่ายังสามารถยื่นอุทธรณ์ได้ และการที่มิได้ยื่นอุทธรณ์ ต่อศาลภายในกาหนดเวลาเป็นความรับผิดชอบในทางละเมิดซึ่งเป็นเรื่องในทางแพ่งนั้น เห็นว่า เมื่อผู้ฟ้องคดีมอบฉันทะให้เสมียนทนายความเป็นผู้ไปยื่นคาร้องขอขยายระยะเวลา อุทธรณ์แทนแล้ว แต่ผู้ฟ้องคดีไม่ติดตามดูคาสั่งศาลหรือตรวจสอบข้อมูลว่าศาลสั่งในคาร้อง ว่าอย่างไร แต่เชื่อเพียงคาบอกกล่าวของผู้รับมอบฉันทะที่รายงานข้อมูลที่ไม่ตรงตามความ เป็นจริง จึงถือว่าเป็นการบกพร่องต่อหน้าที่อันอาจทาให้เสื่อมเสียประโยชน์ของลูกความ เนื่องจากทนายความเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ความชานาญในวิชาชีพเป็นพิเศษ ยิ่งกว่าอาชีพอื่น จึงต้องปฏิบัติงานอย่างละเอียดรอบคอบ ระมัดระวังเอาใจใส่ในหน้าที่ ของตนเอง ประกอบกับในใบมอบฉันทะฉบับลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓ ได้ระบุว่า มอบฉันทะให้นายธวัชชัยไปยื่นคาร้องขอขยายอุทธรณ์รับทราบคาสั่งศาลและอื่นๆ โดย ผู้ฟ้องคดียอมรับผิดในการที่ผู้รับมอบฉันทะได้ทาไปทุกประการ ดังนั้น การที่ผู้ฟ้องคดีมิได้ ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลตามกาหนดเวลา ย่อมอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ฟ้องคดีและไม่เป็น เหตุผลเพียงพอที่จะปฏิเสธความรับผิดของผู้ฟ้องคดีได้ การกระทาของผู้ฟ้องคดีจึงเป็นการ จงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน เป็นการ ประพฤติผิดมรรยาททนายความ ตามข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ ข้อ ๑๒ (๒) การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ มีคาสั่งลงโทษผู้ฟ้องคดี ห้ามผู้ฟ้องคดี ทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน จึงเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดีแล้ว ผู้ฟ้องคดีคัดค้านคาให้การของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ มีเนื้อความทานองเดียวกัน กับคาคัดค้านคาให้การของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ให้การเพิ่มเติมว่า คาว่า “จงใจ” ในหมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒) ของข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ มีความแตกต่างจาก คาว่า“จงใจ”ในความหมายทั่วไป เนื่องจากผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ จาเป็นต้องใช้ความ ระมัดระวังตามมาตรฐานของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ ดังนั้น การที่ทนายความมีหน้าที่ /ต้องกระทา…
  • 8. ๘ ต้องกระทาการให้แก่ลูกความแล้ว เมื่อไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวจึงถือว่าจงใจละเว้นหน้าที่ แล้ว การกระทาของผู้ถูกฟ้องคดีเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายเพื่อควบคุมสมาชิก สภาทนายความให้ประพฤติอยู่ในกรอบของข้อบังคับมรรยาททนายความ อันเป็น จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพทนายความ เพื่อสร้างความเชื่อถือของประชาชนต่อผู้ประกอบ วิชาชีพทนายความโดยส่วนรวม ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ให้การเพิ่มเติมว่า ขอยืนยันข้อเท็จจริงตามคาให้การ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๙ ทุกประการ ศาลปกครองชั้นต้นพิจารณาแล้วเห็นว่า ผู้ฟ้องคดีซึ่งเป็นผู้ประกอบอาชีพ ทนายความย่อมรู้อยู่แล้วว่า หากมิได้ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาภายในระยะเวลาที่กฎหมาย กาหนดย่อมส่งผลให้คดีนั้นถึงที่สุด นางอรวรรณซึ่งเป็นโจทก์ไม่อาจใช้สิทธิทางศาล ต่อไปอีกได้ ส่งผลให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่นางอรวรรณ ซึ่งเป็นลูกความของตน และโดยวิสัยของผู้มีวิชาชีพทนายความแล้ว ย่อมต้องมีระดับความรับผิดชอบและความระมัดระวัง ในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ อันเป็นที่ไว้วางใจของประชาชนที่จะต้องรักษาประโยชน์ของ ลูกความ สูงกว่ามาตรฐานของบุคคลธรรมดา ดังนั้น ผู้ฟ้องคดีจึงไม่อาจยกเหตุแห่งความ สะเพร่าของตนเองที่ไม่ควบคุมดูแลงานที่มอบหมายให้นายธวัชชัย เสมียนทนายความ ไปกระทาจนเกิดความเสียหายแก่นางอรวรรณ เป็นข้อแก้ตัวเพื่อปฏิเสธความรับผิดตามที่ ถูกกล่าวหาได้ ข้ออ้างของผู้ฟ้องคดีจึงฟังไม่ขึ้น พฤติการณ์และการกระทาของผู้ฟ้องคดี เป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน ตามข้อ ๑๒ (๒) ของข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ แล้ว การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ใช้อานาจตามมาตรา ๕๒ แห่งพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ มีคาสั่งชี้ขาดลงโทษห้ามผู้ฟ้องคดีทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน นั้น เหมาะสม แก่กรณีความผิดที่ผู้ฟ้องคดีได้กระทาแล้ว และการที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ วินิจฉัยอุทธรณ์ของ ผู้ฟ้องคดีและมีคาสั่งชี้ขาดยืนตามความเห็นของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ห้ามผู้ฟ้องคดีทาการ เป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน จึงชอบด้วยกฎหมายเช่นกัน พิพากษายกฟ้อง ผู้ฟ้องคดีอุทธรณ์ว่า ที่ศาลปกครองชั้นต้นวินิจฉัยว่า ผู้ฟ้องคดีไม่อาจยกเหตุ แห่งความสะเพร่าของตนเอง ที่ไม่ควบคุมดูแลงานที่มอบหมายให้เสมียนทนายความ /ไปกระทา…
  • 9. ๙ ไปกระทาจนเกิดความเสียหายแก่นางอรวรรณเป็นข้อแก้ตัวเพื่อปฏิเสธความรับผิด ตามที่ถูกกล่าวหาได้ ข้ออ้างของผู้ฟ้องคดีจึงฟังไม่ขึ้น พฤติการณ์และการกระทาของผู้ฟ้องคดี เป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน ตามข้อ ๑๒ (๒) ของข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ นั้น ตามข้อ ๑๒ (๒) ของข้อบังคับดังกล่าว การที่จะลงโทษทนายความที่ผิดมรรยาท ในข้อบังคับดังกล่าวได้ จะต้องเกิดจากการจงใจ เมื่อพิจารณาตามพฤติการณ์ และการกระทาของผู้ฟ้องคดีซึ่งมิได้จงใจละเว้นแต่อย่างใด หากแต่เกิดจากการหลงเชื่อ เสมียนทนายความเท่านั้น ซึ่งผู้ฟ้องคดีก็ยอมรับมาตลอดว่าเหตุที่เกิดขึ้นเกิดจากความสะเพร่า ที่เชื่อเสมียนทนายความมากเกินไป ซึ่งเป็นความประมาทเลินเล่อของผู้ฟ้องคดีเท่านั้น อันเป็นมูลละเมิดทางแพ่ง และนางอรวรรณก็มิได้ดาเนินคดีแพ่งเรียกร้องค่าเสียหายจาก ผู้ฟ้องคดีแต่อย่างใด และเมื่อพิจารณาความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ ให้ความหมายของคาว่า“จงใจ” หมายถึง ตั้งใจ หมายใจ เจตนา แต่ผู้ฟ้องคดีไม่ได้จงใจละเว้นหน้าที่ แต่อย่างใด ดังนั้น จึงไม่อาจยกเหตุแห่งความประมาทของผู้ฟ้องคดีมาถือเป็นการจงใจ อันเป็นการกระทาผิดตาม ข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ ข้อ ๑๒ (๒) ได้ จึงขอศาลปกครองสูงสุดพิพากษาตามคาขอท้ายฟ้องของผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ แก้อุทธรณ์ว่า ข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยมรรยาท ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ เป็นมาตรฐานขั้นต่าที่ทนายความทุกคนต้องยึดถือปฏิบัติ หากทนายความผู้ใดฝ่าฝืน อาจจะต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกาหนด โดยไม่ใช่มาตรฐาน ในระดับวิญญูชนทั่วไป ดังนั้น มาตรฐานความรับผิดของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ จึงต้องมีระดับมาตรฐานสูงกว่าวิญญูชนทั่วไป วิชาชีพทนายความเป็นวิชาชีพที่ต้อง ใช้ความรู้ความสามารถและความชานาญเป็นพิเศษ ต้องใช้ความระมัดระวังและเอาใจใส่ใน การปฏิบัติหน้าที่ยิ่งกว่าอาชีพอื่น เนื่องจากเป็นการทาหน้าที่รักษาประโยชน์ของลูกความ ผลจาก การกระทาของทนายความย่อมตกแก่ลูกความเพียงฝ่ายเดียว หากผู้ประกอบวิชาชีพ ทนายความไม่ทาหน้าที่ด้วยความระมัดระวังและเอาใจใส่เป็นพิเศษแล้ว ย่อมเกิดผลร้าย ต่อลูกความ การที่ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความไม่ไปศาลในวันนัด หรือไม่ปฏิบัติตาม ขั้นตอนที่กาหนดในกฎหมายวิธีพิจารณาความ อันเป็นการทอดทิ้งคดี หรือละเว้นหน้าที่ /ที่ควรกระทา…
  • 10. ๑๐ ที่ควรกระทาเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน ไม่ว่าจะเป็นเพราะเหตุแห่งการ หลงลืม หรือเลินเล่อ หรือเข้าใจผิดประการใดประการหนึ่ง หรือไม่ทราบถึงบทบัญญัติ ของกฎหมายของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ ต้องถือว่าเป็นความจงใจทั้งสิ้น ผู้ประกอบ วิชาชีพทนายความจะอ้างเหตุแห่งการหลงลืม หรือความสะเพร่า หรือความเข้าใจผิด หรือไม่ทราบบทบัญญัติของกฎหมาย มาเป็นเหตุให้ตนพ้นความรับผิดทางวิชาชีพย่อมไม่ได้ เมื่อทนายความไม่ได้ใช้ความระมัดระวังในการปฏิบัติงานจึงเป็นการจงใจไม่ปฏิบัติหน้าที่ ทนายความ และการที่ผู้ฟ้องคดีมอบฉันทะให้เสมียนทนายความไปยื่นคาร้องขอขยาย ระยะเวลาอุทธรณ์ และใบมอบฉันทะดังกล่าวผู้ฟ้องคดีได้ลงชื่อในท้ายคาร้องซึ่งมีข้อความ หมายเหตุว่า “ข้าพเจ้ารอฟังคาสั่งอยู่ ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว ” และเสมียนทนายความ ผู้รับมอบฉันทะได้ลงชื่อท้ายข้อความว่า “ข้าพเจ้าจะมาฟังคาสั่งภายใน ๗ วัน นับแต่วันนี้ หากไม่มาให้ถือว่าทราบคาสั่งแล้ว ” จึงมีความหมายว่า ผู้ฟ้องคดีต้องมารับฟังคาสั่งศาล เกี่ยวกับคาร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ดังกล่าว เมื่อผู้ฟ้องคดีและผู้รับมอบฉันทะมิได้มา รับทราบคาสั่งศาล ผู้ฟ้องคดีก็ต้องรับผิดชอบในการที่ผู้รับมอบฉันทะจากผู้ฟ้องคดีได้ทาไป ทุกประการ ซึ่งเสมียนทนายความผู้รับมอบฉันทะได้ให้การต่อคณะกรรมการสอบสวนคดี มรรยาททนายความว่า ผู้รับมอบฉันทะมิได้ไปติดตามเพื่อทราบคาสั่งของศาล ดังนั้น ผู้ฟ้องคดีในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพทนายความที่มีหน้าที่ควบคุมดูแลให้เสมียนทนายความ ติดตามรับทราบคาสั่งของศาล แต่ผู้ฟ้องคดีได้ละเว้นหน้าที่ของตนไม่ติดตามตรวจสอบ การทางานของเสมียนทนายความ และไม่ติดตามรับทราบคาสั่งของศาลด้วยตนเอง จนเกิดความเสียหายแก่ลูกความที่ไม่สามารถอุทธรณ์คาพิพากษาได้ ดังนั้น การกระทา ของผู้ฟ้องคดีจึงเป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวกับการดาเนินคดีแห่ง ลูกความของตน ผู้ฟ้องคดีไม่อาจอ้างความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน มาใช้ในการพิจารณาคดีมรรยาททนายความได้ เพราะประชาชนที่มีอรรถคดีย่อมได้รับความ เสียหายอย่างมาก เมื่อเกิดความเสียหายแก่ลูกความแล้ว ผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ ก็อ้างเหตุความผิดพลาดของเสมียนทนายความมาเป็นข้อแก้ตัว เพื่อมิให้ตนเองต้องรับผิดได้ ดังนั้น จะอ้างเหตุดังกล่าวเพื่อให้พ้นความรับผิดทางวิชาชีพทนายความไม่ได้อย่างเด็ดขาด การที่นางอรวรรณผู้กล่าวหาในคดีมรรยาททนายความมิได้ดาเนินการทางกฎหมายอาญา /หรือกฎหมาย …
  • 11. ๑๑ หรือกฎหมายแพ่งกับผู้ฟ้องคดี ก็เป็นเพียงการไม่ประสงค์ใช้สิทธิของผู้กล่าวหาเท่านั้น มิได้ทาให้ผู้ฟ้องคดีได้รับประโยชน์ในทางคดีมรรยาททนายความแต่อย่างใด คาสั่ง ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ที่ให้ลงโทษผู้ฟ้องคดีจึงชอบด้วยกฎหมายแล้ว จึงขอศาลปกครองสูงสุดพิพากษาให้ยกอุทธรณ์ของผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ถือเอาคาให้การและคาให้การเพิ่มเติมพร้อมทั้งเอกสาร ท้ายคาให้การและคาพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นเป็นคาแก้อุทธรณ์ ศาลปกครองสูงสุดออกนั่งพิจารณาคดีโดยได้รับฟังสรุปข้อเท็จจริงของ ตุลาการเจ้าของสานวน และคาชี้แจงด้วยวาจาประกอบคาแถลงการณ์ของตุลาการผู้แถลงคดี ศาลปกครองสูงสุดได้ตรวจพิจารณาเอกสารทั้งหมดในสานวนคดี กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยแล้ว ข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ผู้ฟ้องคดีประกอบวิชาชีพทนายความรับเป็น ทนายความให้แก่นางอรวรรณ ตั้งศิริไพศาล เป็นโจทก์ยื่นฟ้องนางบุษบา กล่าเสือ ต่อศาลแพ่งธนบุรี ในฐานความผิดสัญญากู้ยืมเงินและสัญญาจานอง ในคดีหมายเลขดาที่ ย. ๑๒/๒๕๔๓ คดีหมายเลขแดงที่ ย. ๖๔๓/๒๕๔๓ ต่อมา ศาลแพ่งธนบุรีมีคาพิพากษาให้ นางอรวรรณชนะคดีโดยได้รับชาระหนี้บางส่วนไม่เต็มตามฟ้อง ผู้ฟ้องคดีได้ แนะนา นางอรวรรณว่าไม่ควรอุทธรณ์คาพิพากษา เพราะบันทึกท้ายสัญญาจานองไม่ได้ระบุ ให้ยึดทรัพย์สินได้อีก หากบังคับจานองอาจได้เงินไม่พอชาระหนี้ หากศาลอุทธรณ์พิพากษา ให้ได้รับชาระหนี้เพิ่มขึ้น ก็ไม่แน่นอนว่าจะขายทอดตลาดทรัพย์จานองได้เงินเท่าใด และจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการอุทธรณ์อีกต่างหาก ซึ่งนางอรวรรณเห็นด้วยและตกลงว่า จะไม่ยื่นอุทธรณ์ หลังจากนั้น เมื่อใกล้ครบกาหนดระยะเวลาอุทธรณ์ วันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๓ ผู้ฟ้องคดีได้ทาหนังสือมอบฉันทะให้นายธวัชชัย หอมสุคนธ์ เสมียนทนายความไปยื่นคาร้อง ขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์คาพิพากษาออกไปอีก ๔๕ วัน นับแต่วันครบกาหนดคือวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๔๓ ไปจนถึงวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๔ แต่ศาลมีคาสั่งอนุญาตให้ขยาย ระยะเวลายื่นอุทธรณ์เพียง ๓๐ วันนับแต่วันครบกาหนดคือ ให้ยื่นอุทธรณ์ภายในวันที่ /๑๕ มกราคม …
  • 12. ๑๒ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๔ ผู้ฟ้องคดีมิได้ไปติดตามคาสั่งศาลด้วยตนเอง จึงเข้าใจว่าศาลอนุญาต ให้ขยายระยะเวลาออกไปอีก ๔๕ วัน ตามขอ และผู้ฟ้องคดีได้สอบถามนางอรวรรณว่า จะยื่นอุทธรณ์หรือไม่ ทั้งๆ ที่แนะนาว่าไม่ควรยื่นอุทธรณ์จนนางอรวรรณ ต้องการ ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาจึงได้มอบเงินจานวน ๖๐,๐๐๐ บาท เป็นค่ายื่นอุทธรณ์ให้กับ ผู้ฟ้องคดี เมื่อใกล้ครบกาหนดระยะเวลายื่นอุทธรณ์ ผู้ฟ้องคดีจึงได้มอบฉันทะให้นายธวัชชัย ไปยื่นคาร้องขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์คาพิพากษาเป็นครั้งที่ ๒ ออกไปอีก ๓๐ วัน นับแต่วันครบกาหนดไปจนถึงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ แต่ศาลมีคาสั่งยกคาร้อง ไม่อนุญาตให้ขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์ครั้งที่ ๒ เนื่องจากเป็นการยื่นคาร้องขอขยาย ระยะเวลาอุทธรณ์คาพิพากษาที่ล่วงพ้นกาหนดระยะเวลาแล้ว ทาให้นางอรวรรณไม่สามารถ ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาของศาลชั้นต้นได้ นางอรวรรณจึงได้ร้องเรียนกล่าวหาผู้ฟ้องคดี ต่อผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ว่ากระทาผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพทนายความ จากนั้นผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ ได้สอบสวนแล้วมีความเห็นว่าผู้ฟ้องคดีกระทาผิด ตามที่ถูกกล่าวหาจริง จึงเสนอผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ให้ลงโทษห้ามผู้ฟ้องคดีทาการ เป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ เห็นชอบด้วย ผู้ฟ้องคดีจึงยื่นอุทธรณ์ คาสั่งต่อผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ผลการพิจารณาของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ เห็นว่า ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ลงโทษผู้ฟ้องคดีเหมาะสมแก่กรณีแล้ว จึงมีคาสั่งชี้ขาดยืนตามความเห็นของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ผู้ฟ้องคดีเห็นว่า ไม่ได้กระทาผิดตามที่ถูกกล่าวหา จึงฟ้องคดีต่อศาล ขอให้มีคาพิพากษาหรือมีคาสั่ง ดังนี้ ๑. ให้เพิกถอนมติของคณะกรรมการสอบสวนที่มีมติว่าการกระทาของ ผู้ฟ้องคดีเป็นการประพฤติผิดมรรยาททนายความเห็นควรให้ภาคทัณฑ์ ๒. ให้เพิกถอนมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ในการประชุมครั้งที่ ๑๔/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ที่มีมติว่าการกระทาของผู้ฟ้องคดีเป็นการประพฤติผิด ข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ หมวด ๓ ข้อ ๑๒ (๒) เห็นควรห้ามทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน ๓. ให้เพิกถอนมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ ที่มีมติเช่นเดียวกับมติของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ /๔. ให้เพิกถอน…
  • 13. ๑๓ ๔. ให้เพิกถอนคาสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ที่ห้ามผู้ฟ้องคดีทาการเป็นทนายความ มีกาหนด ๖ เดือน ศาลปกครองชั้นต้นมีคาสั่งไม่รับฟ้องของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ เนื่องจากผู้ฟ้องคดีมิใช่ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ อันเนื่องจากการกระทาหรืองดเว้นการกระทาของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ผู้ฟ้องคดีมิได้อุทธรณ์คาสั่งดังกล่าว คดีมีประเด็นต้องวินิจฉัยว่า คาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ที่ห้ามผู้ฟ้องคดี ทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน และคาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ที่วินิจฉัยอุทธรณ์ ยืนตามคาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ผู้ฟ้องคดีอุทธรณ์แต่เพียงว่า การกระทาของผู้ฟ้องคดีไม่เป็นการจงใจ ละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา พิเคราะห์แล้วเห็นว่า ตามหมวด ๓ มรรยาทต่อตัวความ ข้อ ๑๒ ของ ข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๒๙ บัญญัติว่า กระทาการ อย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าวต่อไปนี้ อันอาจทาให้เสื่อมเสียประโยชน์ของลูกความ (๒) จงใจ ละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความของตน หรือปิดบังข้อความ ที่ควรแจ้งให้ลูกความทราบ มีปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยว่า การที่ผู้ฟ้องคดีมอบหมายให้เสมียน ทนายความไปยื่นต่อศาล เพื่อขอขยายระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์มีกาหนดระยะเวลา ๔๕ วัน โดยไม่ติดตามว่าศาลอนุญาตให้ขยายระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์ให้เพียง ๓๐ วัน เป็นเหตุให้ นางอรวรรณเสียสิทธิการยื่นอุทธรณ์เป็นการกระทาที่จงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทา อันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความหรือไม่ เห็นว่าผู้ฟ้องคดีมีภาระหน้าที่ที่จะต้องยื่นอุทธรณ์ แทนลูกความให้ทันตามกาหนดระยะเวลาที่ได้รับอนุญาต เมื่อผู้ฟ้องคดีมอบหมายให้ เสมียนทนายความไปยื่นขอขยายระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์ ผู้ฟ้องคดีมีภาระหน้าที่ ต้องติดตามผลว่าศาลได้มีคาสั่งอนุญาตให้ขยายระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์ถึงวันที่เท่าไร การที่ผู้ฟ้องคดีไม่กระทาการตามหน้าที่ทนายความติดตามผลการขยายระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์ เป็นเหตุให้ลูกความได้รับความเสียหายถึงเสียสิทธิการยื่นอุทธรณ์ การกระทาของผู้ฟ้องคดี ฟังได้ว่าเป็นการจงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาอันเกี่ยวแก่การดาเนินคดีแห่งลูกความแล้ว ดังนั้น /ที่ผู้ฟ้องคดี…
  • 14. ๑๔ ที่ผู้ฟ้องคดีอุทธรณ์ว่าไม่จงใจละเว้นหน้าที่ที่ควรกระทาจึงฟังไม่ขึ้น คาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ ที่ห้ามผู้ฟ้องคดีทาการเป็นทนายความมีกาหนด ๖ เดือน และคาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๔ ที่วินิจฉัยอุทธรณ์ยืนตามคาสั่งชี้ขาดของผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๓ จึงชอบด้วยกฎหมาย ที่ศาลปกครองชั้นต้น พิพากษายกฟ้องนั้น ศาลปกครองสูงสุดเห็นพ้องด้วย พิพากษายืน นายพรชัย มนัสศิริเพ็ญ ตุลาการเจ้าของสานวน ตุลาการศาลปกครองสูงสุด นายเกษม คมสัตย์ธรรม ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด รองประธานศาลปกครองสูงสุด นายวรวิทย์ กังศศิเทียม ตุลาการศาลปกครองสูงสุด นายประสิทธิ์ศักดิ์ มีลาภ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด นายมนูญ ปุญญกริยากร ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ตุลาการผู้แถลงคดี : พันเอก วรศักดิ์ อารีเปี่ยม วันที่อ่าน ธนวรรณ : ผู้พิมพ์