SlideShare a Scribd company logo
1 of 199
Download to read offline
วิศวกรรมฐานรากวิศวกรรมฐานราก
FFoundationoundation EEngineeringngineering
รองศาสตราจารยรองศาสตราจารย ดรดร.. สุขสุขสันติ์สันติ์ หอพิบูลสุขหอพิบูลสุข
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรสุรนารีนารี
ฐานรากลึกฐานรากลึก :: ทฤษฎีและการออกแบบทฤษฎีและการออกแบบ
33 (DEEP FOUNDATION : THEORY AND DESIGN)(DEEP FOUNDATION : THEORY AND DESIGN)
3.13.1 บทนําบทนํา
ฐานรากลึก คือ ฐานรากที่ใชเสาเข็มทําหนาที่ถายน้ําหนักหรือแรงสูชั้นดินในลักษณะแรงเสียดทานรอบ
เสาเข็ม (Skin friction) และแรงแบกทานที่ปลายเสาเข็ม (End bearing) สามารถแบงประเภทของ
เสาเข็มออกเปน 2 ประเภท ตามลักษณะการรับน้ําหนัก
1) เสาเข็มเสียดทานหรือเสาเข็มลอย (Friction/Floating pile) คือเสาเข็มที่รับน้ําหนัก
บรรทุกโดยแรงเสียดทานรอบเสาเข็มเปนสวนใหญ
2) เสาเข็มดาล (End bearing pile) คือเสาเข็มที่มีแรงตานที่ปลายเสาเข็มสูงมากเมื่อ
เปรียบเทียบกับแรงเสียดทานรอบเสาเข็ม
3.13.1 บทนําบทนํา
ลักษณะงานที่ตองใชฐานรากลึก
3.23.2 ประเภทของเสาเข็มประเภทของเสาเข็ม
เสาเข็มอาจจําแนกตามชนิดของวัสดุ วิธีการผลิต หรือวิธีการกอสรางไดดังนี้
ก) จําแนกตามชนิดของวัสดุ ไดแก เสาเข็มไม เสาเข็มคอนกรีต เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก
เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กและลวดอัดแรง เสาเข็มเหล็กรูปพรรณ และเสาเข็มประกอบ
เชน เหล็กรูปพรรณชนิดทอกลมที่เติม (Filled) ดวยคอนกรีต หรือเสาเข็มคอนกรีตที่มี
แกนเหล็กรูปพรรณ เปนตน
ข) จําแนกตามวิธีการผลิต ไดแก เสาเข็มหลอในที่ (Cast-in-situ piles) และเสาเข็ม
สําเร็จรูป (Precast or Prefabricated piles) ซึ่งอาจเปนเสาเข็มคอนกรีตเสริม
เหล็ก หรือเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง
3.23.2 ประเภทของเสาเข็มประเภทของเสาเข็ม
เสาเข็มอาจจําแนกตามชนิดของวัสดุ วิธีการผลิต หรือวิธีการกอสรางไดดังนี้
ค) จําแนกตามวิธีการกอสราง ไดแก เสาเข็มเจาะ (Bored piles) เสาเข็มตอก (Driven
piles) เสาเข็มเจาะเสียบ (Pre-auger piles) และเสาเข็มเหล็กชนิดหลายทอนตอ
ติดตั้งโดยการกดหรือสั่นสะเทือน (Vibrating or Ramming) เปนตน
ง) จําแนกตามการเคลื่อนตัวของดินในระหวางการติดตั้งเสาเข็ม ไดแก เสาเข็มเคลื่อนตัว
มาก (Very large displacement pile) (เสาเข็มตอกปลายปด) เสาเข็มเคลื่อนตัว
นอย (Small displacement pile) (เสาเข็มตอกปลายเปดและเสาเข็มตอกรูปตัว H)
และเสาเข็มไมมีการเคลื่อนตัว (No displacement pile) (เสาเข็มเจาะ)
3.23.2 ประเภทของเสาเข็มประเภทของเสาเข็ม
เสาเข็มคอนกรีตหลอในที่
Uncased pile Step-Tamper pile Base pile
3.33.3 เสาเข็มตอกเสาเข็มตอก
เสาเข็มตอกสวนใหญจะเปนเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced concrete pile) หรือ
คอนกรีตอัดแรง (Pre-stressed pile) การติดตั้งกระทําโดยใชตุมน้ําหนัก เสาเข็มตอกเปนเสาเข็มที่ไดรับ
ความนิยมมาก เนื่องจากการติดตั้งกระทําไดอยางงายดายและมีราคาต่ํา
รูปหนาตัดของเสาเข็มชนิดตางๆ
Solid square
Steel pile Hollow square Steel box
Circular (bored pile) Hexagonal
Hollow circulaIWide flange,I or H
3.33.3 เสาเข็มตอกเสาเข็มตอก
ขอดีของเสาเข็มตอก
• ตรวจสอบคุณภาพของโครงสรางในเสาเข็มไดกอนตอกเสาเข็ม
• การตอกเสาเข็มจะทําใหความหนาแนนของดินเม็ดหยาบเพิ่มขึ้น สงผลใหความสามารถในการ
รับน้ําหนักบรรทุกเพิ่มขึ้น
• ระดับน้ําใตดินไมมีผลกระทบตอการติดตั้ง (ตอก) เสาเข็ม
ขอเสียของเสาเข็มตอก
• ทําใหเกิดความสั่นสะเทือนในขณะตอกเสาเข็ม และเปนผลทําใหเกิดการยกตัวสูงขึ้นของผิว
ดินใกลเคียง ซึ่งอาจเปนอันตรายตอโครงสรางในบริเวณนั้นได
• ทําใหเสาเข็มเกิดความเสียหาย ถาตอกเสาเข็มแรงเกินไป
3.33.3 เสาเข็มตอกเสาเข็มตอก
Drop Hammer เปนชนิดที่ไดรับความนิยมตอเนื่องมาเปน
ระยะเวลานานจนถึงปจจุบัน ประกอบดวยตุมน้ําหนัก (ขนาดตั้งแต 2.5
- 12 ตัน) โยงยึดกับเครื่องกวานดวยสลิงและรอก การตอกทําไดโดยใช
เครื่องกวานดึงตุมน้ําหนักใหยกตัวสูงขึ้นตามระยะที่ตองการ แลวปลอย
ใหตกกระแทกเสาเข็มอยางอิสระ (Free drop) ตุมน้ําหนักประเภทนี้
ใชตอกเสาเข็มไดทุกประเภท มีคาใชจายต่ํา แตมีประสิทธิผลในการสง
ถายพลังงานไปยังเสาเข็มคอนขางต่ํา (เกิดการสูญเสียพลังงานมาก)
3.3.1 ระบบของตุมน้ําหนักที่ใชตอกเสาเข็ม
Drop Hammer
Ram
Hammer cushion
Pile cap
Pile
Pile cushion
3.33.3 เสาเข็มตอกเสาเข็มตอก
Single-Acting Hammer เปนปนจั่นที่ใชไอน้ํา (Steam)
แรงอัดอากาศ (Air pressure) หรือแรงดันไฮดรอลิค (Hydraulic
pressure) ยกตุมน้ําหนักขึ้นสูงตามตองการ แลวปลอยใหตก
กระแทกเสาเข็มอยางอิสระ ปนจั่นประเภทนี้มีตุมน้ําหนักขนาดตั้งแต
2.5 - 20 ตัน และใชตอกเสาเข็มไดทุกประเภท มีประสิทธิผลสูง
3.3.1 ระบบของตุมน้ําหนักที่ใชตอกเสาเข็ม
Single-Acting Hammer
Exhaust
Cylinder
Intake
Ram
Hammer cushion
Pile cap
Pile cushion
Pile
3.33.3 เสาเข็มตอกเสาเข็มตอก
Double-Acting Hammer เปนปนจั่นที่ใชไอน้ํา แรงอัด
อากาศ หรือแรงดันไฮดรอลิค ในการยกตุมน้ําหนักขึ้นและเรง
ความเร็วในการตกกระแทก ปนจั่นชนิดนี้จึงมีประสิทธิภาพสูงมาก
และมีขนาดเล็กกวา Single-Acting Hammer
3.3.1 ระบบของตุมน้ําหนักที่ใชตอกเสาเข็ม
3.33.3 เสาเข็มตอกเสาเข็มตอก
Diesel Hammer ทํางานโดยการอัดฉีดน้ํามันเขาไปในหอง
เผาไหมในขณะที่ตุมน้ําหนักกําลังตกกระแทกเสาเข็ม ทําใหเกิดการจุด
ระเบิดสวนผสมระหวางอากาศและน้ํามัน ดันใหตุมน้ําหนักเคลื่อนที่
กลับขึ้นไปยังตําแหนงเดิม ปนจั่นประเภทนี้ไมเหมาะสมกับการตอก
เสาเข็มในชั้นดินออนที่หนามาก เนื่องจากการจุดระเบิดเกิดไดอยางไม
เต็มที่ (เสาเข็มเคลื่อนตัวมาก) ปนจั่น Diesel Hammer ที่มีใชใน
ประเทศไทย (ขนาด 1.8 - 4.5 ตัน) จึงไมเหมาะที่จะใชในการตอก
เสาเข็มขนาดใหญ
3.3.1 ระบบของตุมน้ําหนักที่ใชตอกเสาเข็ม
Diesel Hammer
Ram
Hammer cushion
Pile cap
Pile cushion
Pile
Anvil
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
เสาเข็มเจาะแหง มีความแตกตางจากเสาเข็มตอกตรงที่เสาเข็มประเภทนี้เปนเสาเข็มที่หลอในที่ เสาเข็ม
เจาะแหงเหมาะสําหรับชั้นดินที่มีระดับน้ําใตดินต่ํามาก และเปนดินเชื่อมแนน (Cohesive soils) ที่มีกําลัง
ตานทานแรงเฉือนสูงปานกลาง เชน ดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทราย ความเชื่อมแนนจะปองกันไมให
หลุมเจาะพังทลาย
เสาเข็มประเภทนี้เหมาะสําหรับดินในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งมีความแข็ง
มากและไมสามารถทําการตอกเสาเข็มใหไดความลึกตามตองการ และสามารถประยุกตใชกับดินเหนียวออน
ในแถบกรุงเทพมหานครและปริมณฑลได แตตองระวังมิใหทําการเจาะหลุมเจาะจนถึงชั้นทราย อันจะเปน
สาเหตุใหเกิดการพังทลายของหลุมเจาะ เนื่องจากปรากฏการณทรายเดือด (Boiling)
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
Casing
ขั้นตอนการทําเสาเข็มเจาะแหงสามารถสรุปอยางคราวๆ ไดดังนี้
1) ติดตั้งปลอกเหล็กความยาวประมาณ 1 - 2 เมตร เพื่อปองกันการพังทลายของปากหลุมเจาะ (ดิน
บริเวณปากหลุมจะมีความเคนประสิทธิผลต่ํา สงผลใหกําลังตานทานแรงเฉือนมีคาคอนขางต่ํา)
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
2) เจาะหลุมเจาะผานปลอกเหล็กโดยใชหัวเจาะ (Drill rig) จนถึงความลึกที่ตองการ หัวเจาะจะมี
ลักษณะเปนเกลียว ในขณะเจาะดินจะติดขึ้นมาตามเกลียว ดังนั้นจึงตองยกหัวเจาะขึ้นเมื่อดินติดเต็มเกลียว
เพื่อสะบัดดินออก และทําการเจาะตอ
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
3) ใสเหล็กแกน โดยพื้นที่หนาตัดรวมของเหล็กแกนตองมีคาไมนอยกวา 0.5 เปอรเซ็นต ของหนาตัด
เสาเข็ม (ตามมาตรฐาน วสท.)
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
4) เทคอนกรีตลงในหลุมเจาะโดยใชทอ Drop chute
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
การขุดเปดหนาดิน
5) ขุดเปดหนาดินจนถึงระดับฐานรากโดยประมาณ
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
6) เททรายปรับระดับและคอนกรีตหยาบหนาประมาณ 5-10 เซนติเมตร เมื่อคอนกรีตหยาบแข็งตัว
ประมาณ 2-3 วัน ทําการทุบหัวเสาเข็ม และทําความสะอาด
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
7) ตรวจสอบความสมบูรณของเสาเข็มทุกตนดวยวิธีการวัดคลื่น (Seismic test)
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
8) ประกอบแบบเหล็กและใสเหล็กเสริม เพื่อเตรียมเทคอนกรีต
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
ฐานรากเสาเข็มพรอมเหล็กเสาตอมอ
9) ใสเหล็กเสริมเสาตอมอ และเทคอนกรีต ฐานรากที่หลอแลวเสร็จและพรอมประกอบเสาตอมอ
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
ขอดีของเสาเข็มเจาะแหง
• ขั้นตอนการทํางานไมกอใหเกิดมลพิษทางเสียงและการสั่นสะเทือนแกอาคารและบานเรือนที่อยู
ใกลบริเวณกอสราง
• วิศวกรสามารถสังเกตเห็นลักษณะชั้นดินและการเปลี่ยนแปลงของชั้นดินขณะที่เจาะหลุม
• ผูรับจางสามารถเปลี่ยนขนาดและความยาวของเสาเข็มเจาะใหสอดคลองกับสภาพดินในบาง
พื้นที่ที่มีความแตกตางจากขอมูลที่ไดจากหลุมสํารวจ
• ฐานรากเสาเข็มสามารถเจาะทะลุชั้นกรวดขนาดใหญหรือแมแตหินได
3.43.4 เสาเข็มเจาะแหงเสาเข็มเจาะแหง
ขอเสียของเสาเข็มเจาะแหง
• การกอสรางและควบคุมงานที่ไมดีจะทําใหไดเสาเข็มที่มีคุณภาพต่ํา และสงผลใหเสาเข็มไม
สามารถรับน้ําหนักบรรทุกไดตามที่ออกแบบ
• เสาเข็มเจาะจะมีความเสียดทานระหวางดินและเสาเข็มนอยกวาเสาเข็มตอก เนื่องจากการตอก
เสาเข็มจะทําใหดินเคลื่อนตัวออกดานขาง สงผลใหแรงดันดินดานขางเพิ่มขึ้น ในขณะที่ การ
ทําเสาเข็มเจาะจําเปนตองขุดดินออก ทําใหแรงดันดินดานขางมีคาเทาเดิมหรือนอยลง
• แรงตานทานที่ปลายเสาเข็มของเสาเข็มเจาะจะมีคานอยกวาเสาเข็มตอก เนื่องจากการตอก
เสาเข็มทําใหดินที่ปลายเข็มแนนขึ้น
การทําเสาเข็มเจาะที่มีความยาวเสาเข็มมากมีความจําเปนอยางมากสําหรับอาคารสูง เนื่องจากเปนการ
ประหยัดอยางมากเมื่อเปรียบเทียบกับการใชเสาเข็มหลายตน ตัวอยางเชน อาคารสูงหลายอาคารในแถบ
กรุงเทพมหานครใชเสาเข็มเจาะที่มีความยาวมากถึง 40-60 เมตร ซึ่งมีการเจาะผานชั้นดินเหนียวกรุงเทพ
และทะลุชั้นทรายชั้นที่ 1 ลงไปติดตั้งในชั้นดินเหนียวแข็งหรือในชั้นทรายชั้นที่ 2
การทําเสาเข็มเจาะแหงความยาวมากจึงไมเหมาะสมสําหรับชั้นดินเหนียวในแถบกรุงเทพมหานคร
เพราะอาจทําใหเกิดการพังทลายของหลุมเจาะ (Caving) ในชั้นทรายกอนและขณะเทคอนกรีต นอกจากนี้
ชั้นดินเหนียวออนอาจเกิดการปูดบวมขณะเทหรือหลังเทคอนกรีต
3.53.5 การทําเสาเข็มเจาะในชั้นดินการทําเสาเข็มเจาะในชั้นดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
3.53.5 การทําเสาเข็มเจาะในชั้นดินการทําเสาเข็มเจาะในชั้นดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
ลักษณะการเสียรูปของเสาเข็มในชั้นทราย
วิธีการแกปญหาการเสียรูปของเสาเข็มสามารถกระทําไดสองแบบ คือ
3.53.5 การทําเสาเข็มเจาะในชั้นดินการทําเสาเข็มเจาะในชั้นดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
1) การใชปลอกเหล็ก
2) การเจาะเปยกโดยการใชของเหลวสําหรับการเจาะ (Drilling fluid) เชน สารละลาย
เบนโทไนตหรือสารละลายโพลีเมอร
วิธีการใชปลอกเหล็ก
1) เจาะหลุมจนถึงชั้นดินที่มีปญหา (ดินเหนียวออนหรือทรายสะอาด)
2) กดปลอกเหล็กลงในหลุมเจาะจนทะลุชั้นดินที่มีปญหา การกดปลอกเหล็กอาจใชระบบ
สั่นสะเทือน เสนผานศูนยกลางของปลอกเหล็กโดยทั่วไปจะประมาณ 50-150 เซนติเมตร
3.53.5 การทําเสาเข็มเจาะในชั้นดินการทําเสาเข็มเจาะในชั้นดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
3.53.5 การทําเสาเข็มเจาะในชั้นดินการทําเสาเข็มเจาะในชั้นดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
3) ใชหัวเจาะที่มีขนาดเล็กกวาปลอกเหล็ก เจาะหลุมผานปลอกเหล็กจนถึงระดับความลึกที่
ตองการ
4) ใสเหล็กเสริมและเทคอนกรีต พรอมทั้งยกปลอกเหล็กขึ้น ขั้นตอนนี้ตองใชความระมัดระวัง
อยางมาก เนื่องจากการยกปลอกเหล็กขึ้นเร็วเกินไปอาจทําใหดินแทรกในเสาเข็มเจาะ
Vibratory
Driver
Water Table
Caving Soil
Cohesive Soil
3.53.5 การทําเสาเข็มเจาะในชั้นดินการทําเสาเข็มเจาะในชั้นดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
วิธีการเจาะเปยก (Slurry method)
1) ขุดหลุมเจาะประมาณ 3 เมตร
2) เติมสวนสารละลายระหวางน้ําและเบนโทไนต/สารละลายโพลีเมอรเพื่อใชเปนของเหลว
สําหรับเจาะ (Drilling slurry) ของเหลวนี้จะชวยปองกันการพังของหลุมเจาะ
3) ใชหัวเจาะเจาะทะลุชั้นดินจนไดความลึกที่ตองการ ในขณะเจาะตองใสของเหลวสําหรับเจาะ
เพิ่มอยูเสมอ
Cohesive Soil
Caving Soil
Soil
Slurry
3.53.5 การทําเสาเข็มเจาะในชั้นดินการทําเสาเข็มเจาะในชั้นดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
วิธีการเจาะเปยก (Slurry method)
4) ใสเหล็กเสริมลงในหลุมเจาะ
5) เทคอนกรีตลงในหลุมเจาะผานทอ Tremie โดยที่ปลายทออยูที่กนหลุม คอนกรีตจะดัน
ของเหลวสําหรับเจาะขึ้นมาที่ปากหลุมเจาะ
Cohesive Soil Sump
Caving Soil
Cohesive Soil
Caving Soil
3.63.6 เสาเข็มกดเสาเข็มกด
เสาเข็มกด เปนเสาเข็มที่ติดตั้งโดยการใชแมแรง (Hydraulic jack) กดเสาเข็มใหจมลงในดิน
เสาเข็มที่ใชอาจเปนเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กหรือทอเหล็กตอเปนทอนๆ ละประมาณ 1.0 เมตร เสนผาน
ศูนยกลางตั้งแต 10-20 เซนติเมตร เสาเข็มประเภทนี้นิยมใชสําหรับเสริมกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของฐานราก
เดิม
3.63.6 เสาเข็มกดเสาเข็มกด
ขั้นตอนการติดตั้งเสาเข็มกดในฐานราก สามารถสรุปอยางคราวๆ ไดดังนี้
1) ขุดหลุมจนถึงระดับฐานราก
3.63.6 เสาเข็มกดเสาเข็มกด
2) เจาะรูที่ฐานรากเดิมดวยหัวเจาะเพชร ใหมีขนาดใหญกวาขนาดเสนผานศูนยกลางของเสาเข็มที่ใช
ในการเสริมฐานราก ประมาณ 5-10 เซนติเมตร เสาเข็มเหล็กตองมีความหนามากพอที่จะปองกันการกัด
กรอน (Corrosion) เพื่อใหมีอายุการใชงานนานเทาที่ตองการ
3.63.6 เสาเข็มกดเสาเข็มกด
Reaction beam
Reaction
column
Hydraulic
jack
Steel
pile
3) กดเสาเข็มลงในรูดวยแมแรง (Hydraulic jack) โดยใชคานคอดินเปนคานรับแรง (Reaction
beam)
3.63.6 เสาเข็มกดเสาเข็มกด
4) เทมอรตาลงในเสาเข็มเหล็ก เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของเสาเข็ม กะเทาะคอนกรีตหุมเสาตอมอจน
ถึงเหล็กเสริมและนําเหล็กรูปตัวซีมาเชื่อมตอเขากับเหล็กแกน เพื่อเพิ่มแรงยึดเกาะระหวางเสาตอมอกับฐาน
รากใหม เจาะรูที่เสาตอมอและรอยเหล็กเสริมผาน และทําการเชื่อมเหล็กเสริมใหเปนตะแกรงใหมีระยะหาง
เพียงพอที่จะตานทานโมเมนตดัด
3.63.6 เสาเข็มกดเสาเข็มกด
5) ประกอบไมแบบและเทคอนกรีต
3.63.6 เสาเข็มกดเสาเข็มกด
6) ปรับยกเสาตอมอบางตนที่เกิดการทรุดตัวมากเกินไป โดยการติดตั้งค้ํายันบนฐานรากใหมกับคาน
และตัดเสาตอมอโดยใชสวาน
3.63.6 เสาเข็มกดเสาเข็มกด
7) หลังจากตัดเสาตอมอแลว ประกบแผนเหล็กเรียบเขาที่ผิวบนและผิวลางของตอมอ และติดตั้งแม
แรง
3.63.6 เสาเข็มกดเสาเข็มกด
Shoring
I-Beam
Existing pier
Shoring
8) ทําการยกปรับระดับเสาตอมอพรอมกันทุกตน โดยการยกปรับระดับเปนขั้นๆ ทุกครั้งที่มีการปรับ
ระดับ ตองขันตัวค้ํายัน (Shoring) ตามเสมอ
9) หลังจากไดระดับความสูงตามตองการแลว นําแมแรงออก และใสเหล็กตัว I เขาที่กึ่งกลางของเสา
ตอมอ และหลอเสาตอมอใหกลับสูสภาพเดิม
3.73.7 การถายน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยวการถายน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยว
เสาเข็มเดี่ยวถายน้ําหนักจากโครงสรางสูดินโดยผาน
ความเสียดทานระหวางเสาเข็มและดิน (Skin friction) และ
แรงแบกทานที่ปลายเข็ม (End bearing) ความเสียดทาน
ระหวางเสาเข็มและดิน คือผลรวมของแรงเสียดทานอันเกิด
จากแรงยึดเกาะ (Adhesion) ระหวางเสาเข็มและดินตลอด
ความยาวเสาเข็ม สวนแรงแบกทานที่ปลายเข็ม คือกําลังรับ
แรงแบกทานของดินที่ปลายเข็ม
1LΔ
2LΔ
3LΔ
4LΔ
3.73.7 การถายน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยวการถายน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยว
วิธีการประมาณความสามารถในการรับน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยว สามารถแบงไดสามวิธี ดังนี้
1) การวิเคราะหแบบสถิตยศาสตร โดยอาศัยผลทดสอบคุณสมบัติของดินในหองปฏิบัติการ
หรือในสนาม
2) การวิเคราะหแบบพลศาสตร ซึ่งคํานวณกําลังรับน้ําหนักจากการตอกเสาเข็ม หรือจาก
การสงผานของคลื่น
3) การทดสอบความสามารถในการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็มในสนาม (Pile load
test)
3.73.7 การถายน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยวการถายน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยว
การออกแบบเสาเข็ม มีหลักการที่ตองพิจารณาดังนี้
1) วัสดุที่ใชทําเสาเข็มตองมีความแข็งแรงพอสําหรับตานน้ําหนักบรรทุก
2) เมื่อเสาเข็มรับน้ําหนักบรรทุก ดินรอบขางและใตเสาเข็มตองไมเกิดการวิบัติเนื่องจาก
แรงเฉือน (Shear failure)
3) การทรุดตัวของเสาเข็มตองไมเกินคาการทรุดตัวยอมให
3.83.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
เสาเข็มในชั้นดินเหนียวสวนมากจะเปนเสาเข็มเสียดทาน ซึ่งรับน้ําหนักบรรทุกโดยแรงเสียดทานรอบ
เสาเข็มเปนสวนใหญ เพื่อความสะดวกในการออกแบบ (ไมตองพิจารณาความดันน้ําสวนเกินที่เกิดขึ้นขณะ
รับน้ําหนักบรรทุก) ซึ่งมักจะคํานวณน้ําหนักบรรทุกประลัยจากกําลังตานทานแรงเฉือนรวม (Total shear
strength analysis) แมวาการคํานวณโดยใชกําลังตานทานแรงเฉือนประสิทธิผลจะใหความละเอียด
ถูกตองมากกวา
3.83.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
พิจารณาเสาเข็มมีความแข็งแรงสูงมาก และไมเกิดการวิบัติของเสาเข็มขณะรับน้ําหนัก น้ําหนัก
บรรทุกประลัย (Failure load, Qf) ของเสาเข็มคํานวณไดจากผลรวมของแรงตานเนื่องจากแรงเสียดทาน
ระหวางเสาเข็มและดินเหนียว (Qs) และแรงตานทานที่ปลายเข็ม (Qb)
sf b
Q Q Q= +
( )p s s c uf b b
P W c A N A S qA+ = + +
เมื่อ Pf คือน้ําหนักบรรทุกประลัยสุทธิ Wp คือน้ําหนักของเสาเข็ม As คือพื้นที่รอบรูปของเสาเข็ม
Ab คือพื้นที่หนาตัดปลายเสาเข็ม Su คือกําลังตานทานแรงเฉือนที่ปลายเสาเข็ม cs คือหนวยแรง
ยึดเกาะเฉลี่ยระหวางผิวเสาเข็มและดิน Nc คือแฟคเตอรกําลังรับแรงแบกทาน และ q คือน้ําหนัก
กดทับ (Overburden pressure)
3.83.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
เนื่องจากน้ําหนักของเสาเข็ม (Wp) มีคาใกลเคียงกับ qAb ดังนั้น น้ําหนักบรรทุกประลัยสุทธิ (Pf) มี
คาเทากับ
sf b
P P P= +
s s s uf
P Q c A Sα= = =
c ub b
P N S A=
โดยที่
เมื่อ α คือแฟคเตอรยึดเกาะ (Adhesion factor) คา Pb คํานวณไดโดยการแทนคา Nc ดวย 9.0
สําหรับเสาเข็มที่มีอัตราสวนความยาวตอเสนผานศูนยกลางมากกวา 5.0 คา Nc ของเสาเข็มที่มีอัตราสวน
ความยาวตอเสนผานศูนยกลางนอยกวา 5.0
3.83.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
ความสัมพันธระหวาง Nc กับอัตราสวนความยาวตอขนาดของเสาเข็ม (Skempton, 1951)
0 1 2 3 4 5
5
6
7
8
9
10
Bearingcapacityfactor,Nc
Ratio of pile length to pile diameter
คา Nc ของเสาเข็มที่มีอัตราสวนความยาวตอเสนผานศูนยกลางนอยกวา 5.0
การตอกเสาเข็มลงในชั้นดินเหนียวกอใหเกิดความดันน้ําสวนเกิน นํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงของกําลัง
ตานทานแรงเฉือน และทําใหดินในสนามกลายสภาพเปนสภาพปนใหม (Remolded state) และเกิดการ
บวมตัวของผิวดิน ปรากฏการณนี้มีผลอยางมากตอแรงยึดเกาะระหวางเสาเข็มและดิน
คาแฟคเตอรยึดเกาะของดินเหนียวออนจึงมีคาสูง และอาจมีคามากกวา 1.0 สําหรับดินเหนียวออน
มาก ในทางตรงกันขาม คาแฟคเตอรยึดเกาะจะมีคานอยลงตามกําลังตานทานแรงเฉือนหรืออัตราสวนการอัด
ตัวมากกวาปกติ (Overconsolidation ratio) ของดิน
3.83.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
แฟคเตอรยึดเกาะสําหรับเสาเข็มตอกและเสาเข็มเจาะ
3.83.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
ความสัมพันธระหวาง Su กับ α (Horpibulsuk and Kampala, 2007)
3.83.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
คา α ที่ไดจากการทดสอบกําลังเสาเข็ม (Visic, 1977)
3.83.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
คาแฟคเตอรยึดเกาะมีคาแปรผันอยางมากกับชนิดของดิน ความสัมพันธที่เสนอโดย American
Petroleum Institute (API) มีความสอดคลองกับผลทดสอบที่เสนอโดยนักวิจัยอื่นๆ มาก ความสัมพันธ
ดังกลาวแสดงไดดังนี้
1.0α =
25kPa1 0.5
50kPa
uSα
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎜ ⎟
⎜ ⎟
⎝ ⎠
−= −
0.5α =
สําหรับ Su < 25 kPa (500 lb/ft2)
สําหรับ 25 kPa (500 lb/ft2) < Su < 75 kPa (15 lb/ft2)
สําหรับ Su > 75 kPa (1500 lb/ft2)
3.83.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
การตอกเสาเข็มลงในชั้นดินเหนียวแข็งถึงแข็งมาก (Stiff to very stiff clay) กอใหเกิดชองวางที่
สวนบนเสาเข็มโดยรอบ และมีผลกระทบอยางมากตอความสามารถในการรับน้ําหนักของเสาเข็ม โดยเฉพาะ
อยางยิ่งสําหรับเสาเข็มมีความยาวนอยกวา 20 เทาของเสนผานศูนยกลาง ผูออกแบบอาจใชคาแฟคเตอรแรง
ยึดเกาะเทากับ 0.4 สําหรับเสาเข็มที่มีความยาวระหวาง 8 ถึง 20 เทาของเสนผานศูนยกลาง และใชสมการ
ดานลาง สําหรับเสาเข็มที่มีความยาวมากกวา 20 เทาของเสนผานศูนยกลาง
1.0α =
25kPa1 0.5
50kPa
uSα
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎜ ⎟
⎜ ⎟
⎝ ⎠
−= −
0.5α =
สําหรับ Su < 25 kPa (500 lb/ft2)
สําหรับ 25 kPa (500 lb/ft2) < Su < 75 kPa (15 lb/ft2)
สําหรับ Su > 75 kPa (1500 lb/ft2)
3.83.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
สําหรับเสาเข็มเจาะ Skempton (1966) แนะนําใหใชคา α = 0.45 และเสนอสมการคํานวณน้ําหนัก
บรรทุกประลัยไวดังนี้
0.45s u sP S A=
9 ub b
P wA S=
เมื่อ w คือตัวคูณปรับลดกําลัง ซึ่งมีคาเทากับ 0.8 และ 0.75 สําหรับเสาเข็มที่มีขนาดเล็กกวาและใหญกวา
1.0 เมตร ตามลําดับ
น้ําหนักประลัยสุทธิของเสาเข็มในชั้นทรายคํานวณไดเชนเดียวกับวิธีการคํานวณของเสาเข็มในชั้นดิน
เหนียว เมื่อพิจารณาวาน้ําหนักของเสาเข็ม (Wp) มีคาประมาณ 0.5γBNγ จะได
3.93.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
sf b
P P P= +
tans s s s vsP A f A Kσ δ= = ′
qb b b b vb
P A q A Nσ= = ′
โดยที่
เมื่อ σ′vb คือความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่งที่ปลายเสาเข็ม σ′vs คือความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่งเฉลี่ย
ตลอดความยาวเสาเข็ม K คือสัมประสิทธิ์ความดันดินดานขาง δ′ คือมุมเสียดทานระหวางเสาเข็มและ
ทราย และ Nq คือแฟคเตอรกําลังรับแรงแบกทาน
3.93.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
ผิวสัมผัส δ′ / φ′
ทราย/คอนกรีตผิวหยาบ 1.0
ทราย/คอนกรีตผิวเรียบ 0.8 - 1.0
ทราย/เหล็กผิวหยาบ 0.7 - 0.9
ทราย/เหล็กผิวเรียบ 0.5 - 0.7
ทราย/ไม 0.8 - 0.9
มุมเสียดทานระหวางเสาเข็มและทราย (Stas and Kulhawy, 1984)
3.93.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
สัมประสิทธิ์ความดันดินดานขาง (Stas and Kulhawy, 1984)
ชนิดของเสาเข็มและวิธีการติดตั้ง K/K0
เสาเข็มฉีดน้ํา (Jetted pile) 0.5 - 0.67
เสาเข็มหลอในที่ (Cast-in-situ) 0.67 - 1.0
เสาเข็มตอกชนิดเคลื่อนตัวนอย 0.75 - 1.25
เสาเข็มตอกชนิดเคลื่อนตัวมาก 1 - 2
3.93.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
ลักษณะการวิบัติของเสาเข็มโดยทฤษฎีของ Berezantzev et al. (1961)
Berezantzev et al. (1961) สมมติวาลิ่มการวิบัติที่
ปลายเสาเข็มมีปลายแหลมทํามุม 90 องศา (ลิ่มการวิบัติ
ทํามุมเอียง 45 องศา กับแนวนอน) และสมมติวาที่จุด
วิบัติ ความเคนกดทับสุทธิที่ปลายเสาเข็ม (qT) มีคา
เทากับผลรวมของน้ําหนักดิน (W) และความเสียดทาน
เนื่องจากแรงดันดินดานขาง (T)
3.93.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
การเปลี่ยนแปลงของ Nq กับมุมเสียดทานภายใน (ดัดแปลงจาก Berezantzev et al., 1961)
25 30 35 40 45
10
50
100
500
1000
Nq
Internal friction angle (Degree)
Poulos (2001) กลาววา อัตราสวนระหวาง
ความยาวตอเสนผานศูนยกลางของเสาเข็ม มี
อิทธิพลตอความสัมพันธดังกลาวนอยมาก จึงได
ปรับปรุงและสรางความสัมพันธระหวางแฟคเตอร
กําลังรับแรงแบกทาน (Nq) และมุมเสียดทาน
ภายใน
3.93.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
โซนการวิบัติและการเปลี่ยนแปลงปริมาตรเนื่องจากการตอกเสาเข็ม (Meyerhof, 1959)
Meyerhof (1959) แสดงใหเห็นวาความกวางของ
โซนที่แนนขึ้นเนื่องจากการตอกเสาเข็ม (Zone of
volume change, b) มีคาประมาณ 6 ถึง 8 เทา
ของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม และความกวางของ
โซนการวิบัติ (Failure zone, a) มีคาประมาณ 4
เทาของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม
3.93.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
การเปลี่ยนแปลงมุมเสียดทานภายในของทราย เนื่องจากการตอกเสาเข็ม (Kishida, 1963)
Kishida (1963) สมมติวาการเปลี่ยนแปลงมุม
เสียดทานภายในของทรายมีคาลดลงเปนเสนตรง
ตามระยะหางของเสาเข็ม และมีคาคงที่เมื่อ
ระยะหางมีคาเทากับ 3.5 เทาของเสนผาน
ศูนยกลาง
Kishida and Meyerhof (1965) เสนอความสัมพันธระหวางมุมเสียดทานภายในหลังตอกเสาเข็ม
กับมุมเสียดทานภายในของทรายกอนตอกเสาเข็มดังนี้
3.93.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
0
1
40
2
φ
φ
+ °′
=′
เมื่อ φ′1 คือมุมเสียดทานภายในหลังตอกเสาเข็ม และ φ′0 คือมุมเสียดทานภายในกอนตอกเสาเข็ม
มุม 40 องศา ในสมการ บงบอกวาการตอกเสาเข็มในทรายที่มีมุมเสียดทานภายในเทากับ 40 องศา จะไม
กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตร
3.93.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
25 30 35 40 45
10
50
100
500
1000
Nq
Internal friction angle (Degree)
Poulos (2001) แนะนําวา ผูออกแบบสามารถใชรูปดาน
ซายมือ ประมาณคา Nq ไดทั้งกับเสาเข็มตอกและเสาเข็ม
เจาะ แตตองมีการปรับแกคาของมุมเสียดทานภายในกอน
โดยที่มุมเสียดทานภายในปรับแกหาไดจาก
สําหรับเสาเข็มตอก มีคาเทากับ องศา
สําหรับเสาเข็มเจาะ มีคาเทากับ (φ′0 – 3°) องศา
0
1
40
2
φ
φ
+ °′
=′
3.93.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตรในชั้นทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
ขอบเขตของคาความเคนที่ผิวและปลายเสาเข็มในชั้นทราย (API 1984)
ชนิดของดิน fsl (ตันตอตร.ม.) qbl (ตันตอตร.ม.)
ทรายหลวมถึงหลวมมาก และดินตะกอนหลวม 4.8 190
ดินตะกอนแนน ทรายหลวม ทราย/ดินตะกอนแนนปานกลาง 6.7 290
ดินตะกอนแนน ทรายแนนปานกลาง ทราย/ดินตะกอนแนน 8.0 480
ทรายแนน ทราย/ดินตะกอนแนนมาก 9.6 960
กรวดแนน ทรายแนนมาก 11.5 1200
API (1984) ไดแนะนําคาขอบเขตของความเคนที่ปลายเข็ม (qbl) และผิว (fsl ) สําหรับการออกแบบ
เสาเข็มในชั้นทราย คา qb ตองมีคาไมเกิน qbl และ fs ตองมีคาไมเกิน fsl
3.103.10 พื้นที่หนาตัดและพื้นที่รอบรูปของเสาเข็มพื้นที่หนาตัดและพื้นที่รอบรูปของเสาเข็ม
เสาเข็มหนาตัดปด (Closed-section pile) คือ เสาเข็มซึ่งผิวสัมผัสระหวางดินและเสาเข็มเกิดขึ้น
ตามแนวเสนรอบรูปของเสาเข็มไดอยางสมบูรณ เสาเข็มประเภทนี้ไดแกเสาเข็มทุกชนิด ยกเวนเสาเข็มรูปตัว
H (H pile) และเสาเข็มกลวง (Open-end pipe pile) การคํานวณพื้นที่หนาตัดปลายเสาเข็มและพื้นที่
รอบรูปเสาเข็มของเสาเข็มหนาตัดปดกระทําไดอยางงายดาย
เสาเข็มหนาตัดเปด (Open-section pile) คือ เสาเข็มที่มีผิวสัมผัสระหวางดินและเสาไมคอยดี
เสาเข็มประเภทนี้ไดแก เสาเข็มกลวง และเสาเข็มรูปตัว H พื้นที่สัมผัสที่ไมดีนี้กอใหเกิดความยุงยากในการ
คํานวณพื้นที่หนาตัดปลายเสาเข็มและพื้นที่รอบรูปเสาเข็ม
3.103.10 พื้นที่หนาตัดและพื้นที่รอบรูปของเสาเข็มพื้นที่หนาตัดและพื้นที่รอบรูปของเสาเข็ม
Paikowsky and Whitman (1990) ; Miller and Lutenegger (1997) พบวา ปจจัยที่มี
อิทธิพลตอการเกิดหัวจุกดินมีดวยกันหลายประการ ไดแก ชนิดของดิน ความเคนในสนาม เสนผาน
ศูนยกลางและความยาวของเสาเข็ม วิธีการตอกเสาเข็ม อัตราการตอก และอื่นๆ
Paikowsky and Whitman (1990) กลาววา หัวจุกดินจะเกิดก็เมื่ออัตราสวนระหวางความยาว
เสาเข็มตอเสนผานศูนยกลางเสาเข็มมากกวา 10 ถึง 20 และ 25 ถึง 35 สําหรับดินเหนียวและทราย
ตามลําดับ
3.103.10 พื้นที่หนาตัดและพื้นที่รอบรูปของเสาเข็มพื้นที่หนาตัดและพื้นที่รอบรูปของเสาเข็ม
การเกิดหัวจุกดินในเสาเข็มหนาตัดเปด
สําหรับเสาเข็มรูปตัว H ชองวางระหวางปกของ
เสาเข็มรูปตัว H มีนอยกวาชองวางภายใน
เสาเข็มมาก ดังนั้นระยะจมเพียงเล็กนอยก็
กอใหเกิดหัวจุกดิน ดังนั้นในการวิเคราะห
คํานวณ Ab และ As โดยสมมติวาหัวจุกดินเกิด
ไดอยางสมบูรณ
วิธีการนี้ใชไดกับเฉพาะเสาเข็มในชั้นทราย แรงแบกทานประลัยที่ปลายเสาเข็มมีคาประมาณ
3.113.11 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัย
จากผลทดสอบในสนามจากผลทดสอบในสนาม
3.11.1 การทดสอบการทะลุทะลวงดวยกรวย
เมื่อ qc คือกําลังตานทานที่ปลายกรวยเฉลี่ยตลอดความลึกจาก 4B เหนือปลายเสาเข็มถึง 1B ต่ํา
กวาปลายเสาเข็ม (B คือความกวางของเสาเข็ม) จากการศึกษาพบวา ถาใชอัตราสวนปลอดภัยเทากับ 2.5 ใน
การออกแบบ การทรุดตัวภายใตสภาวะการใชงานจะมีคาไมเกิน 12 มิลลิเมตร
cb b
P A q=
แรงเสียดทานรอบเสาเข็มสามารถคํานวณไดโดยใชทฤษฎีสถิตยศาสตร หรือจากผลทดสอบในสนาม
ดังจะแสดงตอไปนี้
3.113.11 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัย
จากผลทดสอบในสนามจากผลทดสอบในสนาม
3.11.1 การทดสอบการทะลุทะลวงดวยกรวย
สําหรับเสาเข็มเคลื่อนตัวมาก แรงเสียดทานประลัยรอบเสาเข็มสามารถคํานวณไดดังนี้
สําหรับเสาเข็มเคลื่อนตัวนอย เชน เสาเข็มรูปตัว H แรงเสียดทานประลัยคํานวณไดดังนี้
( ) 2kN/m
200
c av
s
q
f =
( ) 2kN/m
400
c av
s
q
f =
Meyerhof (1956) ไดเสนอความสัมพันธระหวางแรงเสียดทานประลัยรอบเสาเข็ม (fs) และกําลัง
ตานทานที่ปลายเข็ม (qb) กับคา SPT ซึ่งสามารถใชไดกับทั้งเสาเข็มในชั้นดินเหนียวและทราย ตอมา
Decourt (1982 และ 1995) ไดพัฒนาความสัมพันธดังกลาวในรูปของสมการดังตอไปนี้
3.113.11 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัย
จากผลทดสอบในสนามจากผลทดสอบในสนาม
3.11.2 การทดสอบการทะลุทะลวงมาตรฐาน
2
60
(2.8 10) kN/msf Nα= +
2
60
( ) kN/mb b b
q K N=
เมื่อ N60 คือคาตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานในสนาม α เทากับ 1 สําหรับเสาเข็มเคลื่อนตัวในดินทุกชนิด และ
สําหรับเสาเข็มไมเคลื่อนตัวในดินเหนียว และเทากับ 0.5 - 0.6 สําหรับเสาเข็มไมเคลื่อนตัวในดินเม็ดหยาบ
60
( )b
N คือคาเฉลี่ยของตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานที่บริเวณปลายเข็ม และ Kb คือแฟคเตอรปลายเข็ม
3.113.11 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัย
จากผลทดสอบในสนามจากผลทดสอบในสนาม
3.11.2 การทดสอบการทะลุทะลวงมาตรฐาน
ชนิดของดิน เสาเข็มเคลื่อนตัว เสาเข็มไมเคลื่อนตัว
ทราย 325 165
ดินตะกอนปนทราย 205 115
ดินตะกอนปนดินเหนียว 165 100
ดินเหนียว 100 80
แฟคเตอรปลายเข็ม (Decourt, 1995)
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
สัญลักษณที่ใชในสมการตอกเสาเข็มมีดังตอไปนี้
Wh คือน้ําหนักของตุมน้ําหนัก
Wp คือน้ําหนักของเสาเข็ม
Y คือระยะยกของตุมน้ําหนัก
R คือกําลังตานทานการตอก ซึ่งมีคาเทากับน้ําหนักบรรทุกประลัย
s คือระยะจมของเสาเข็มตอการตอกหนึ่งครั้ง
A คือพื้นที่หนาตัดของเสาเข็ม
L คือความยาวของเสาเข็ม
E คือโมดูลัสยืดหยุนของเสาเข็ม
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
สูตรที่ 1
สมมติฐาน
ก) ตุมน้ําหนักและเสาเข็มเปนวัสดุที่รับพลังงานเนื่องจากการกระแทก (Impinging particle)
ข) ตุมน้ําหนักสงผานพลังงานทั้งหมดไปกับการตกกระแทก
ค) เมื่อมีการกระแทกเกิดขึ้น กําลังตานทาน R ที่กระทําตอเสาเข็มเกิดขึ้นทันที และมีคาคงที่ตลอดการเคลื่อน
ตัวของเสาเข็ม
พลังงานที่เกิดจากการกระแทกมีคาเทากับ WhY และพลังงานตานการเคลื่อนตัวมีคาเทากับ Rs ดังนั้น
h
W Y Rs=
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
สูตรที่ 2
สมมติฐาน
ก) ตุมน้ําหนักและเสาเข็มเปนวัสดุที่รับพลังงานเนื่องจากการกระแทก (Impinging particle)
ข) ตุมน้ําหนักสงผานพลังงานทั้งหมดไปกับการตกกระแทก
ค) ทันทีที่มีการกระแทกของตุมน้ําหนัก กําลังตานทานมีคาเพิ่มขึ้นจนกระทั่งถึงคา R โดยมีพฤติกรรมเปน
แบบยืดหยุน หลังจากนั้น เสาเข็มจะเคลื่อนตัวตอไปดวยกําลังตานทานที่คงที่ จนกระทั่งไดระยะจมคาหนึ่ง
เสาเข็มก็จะเกิดการเคลื่อนตัวกลับ (Rebound) และกําลังตานทานจะมีคาลดลงจนกระทั่งเปนศูนย
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
ไดอะแกรมกําลังตานทานและการเคลื่อนตัวของเสาเข็ม
s
O
E C
c
D
BA
Displacement
R
พลังงานทั้งหมดที่ใชในการกระแทก = OABD
= OABC + BDC
( /2)h
W Y R s c= +
เมื่อ c คือการเคลื่อนตัวแบบยืดหยุนของเสาเข็ม
สําหรับ Drop Hammer:
สําหรับ Single Acting-Hammer:
( 1.0)h
W Y R s= +
( 0.1)h
W Y R s= +
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
สูตรที่ 3
สมมติฐาน
สมมติฐานเชนเดียวกับสมมติฐานของสูตรที่ 2
ถาแรงกระแทกมีคานอยกวาความตานทานของดิน ตุมน้ําหนักจะกระเดงกลับ และจะไมเกิดการเคลื่อนตัวของ
เสาเข็ม เสาเข็มจะเริ่มเคลื่อนตัวเมื่อตุมน้ําหนักสงถายน้ําหนักเทากับพื้นที่ OAE ถาพลังงานที่พอดีทําให
เสาเข็มเริ่มเคลื่อนตัวเกิดจากการยกตุมน้ําหนักสูง Y0 พลังงานเนื่องจากตุมน้ําหนักมีคาเทากับ WhY0 แต
เนื่องจาก OAE = CBD = Rc/2 ดังนั้น WhY0 = Rc/2 และจากสมการที่ จะได( /2)h
W Y R s c= +
0h h
W Y Rs W Y= +
เมื่อ Y0 เปนคาที่ประมาณไดจากการบันทึกผลการตอกเสาเข็ม โดยการสรางความสัมพันธระหวางระยะยกตุม
น้ําหนัก (Y) และระยะจมของเสาเข็ม (s)
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
ความสัมพันธระหวางระยะตกกระทบและระยะจม เพื่อใชหา Y0
Heightoffallofhammer(H)
Set (s)
H0
คา Y0 หาไดจากจุดตัดแกน y
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
Morrison (1868) พบวา คากําลังตานทานของดินสามารถหาไดจากคาระยะจมสองคา (s1 และ s2) ซึ่งเปน
คาที่ไดจากระยะตกกระทบเทากับ Y1 และ Y2 ตามลําดับ
1 1
/2h
W Y Rs Rc= +
2 2
/2h
W Y Rs Rc= +
ดังนั้น
1 2 1 2
( ) ( )h
W Y Y R s s− = −
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
สูตรที่ 4
สมมติฐาน
ก) ตุมน้ําหนักและเสาเข็มเปนวัสดุที่รับพลังงานเนื่องจากการกระแทก (Impinging particle) ซึ่งมี
สัมประสิทธิ์การพักฟน (Coefficient of restitution) เทากับ er
ข) สมการพลังงานแสดงดังนี้
h
W Y Rs U= +
เมื่อ U คือพลังงานที่สูญเสียเนื่องจากการตอกเสาเข็ม
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
ค) พลังงานที่สูญเสียเนื่องจากการตอกเสาเข็มเกิดเนื่องจากการกระแทกเพียงอยางเดียว
ตามกฎของนิวตัน พลังงานที่สูญเสียเนื่องจากกระแทกของวัสดุสองชนิด ซึ่งมีมวล M และ m มีความเร็ว V
และ v คือ โดยการแทนคา M = Wh/g, m = Wp/g, V = (2gY)0.5 และ
v = 0 จะได และเมื่อแทนคานี้ลงในสมการ จะได
2 2(1 ) ( )
2( )
re Mm V v
M m
− −
+
2(1 )
( )
r p h
ph
e W W Y
U
W W
−
=
+ h
W Y Rs U= +
2( )
( )
r ph h
ph
W Y W e W
Rs
W W
+
=
+
2
( )
h
ph
W Y
Rs
W W
=
+ถาสมมติให er = 0 จะได สมการของ Dutch หรือสมการของ Eytewein
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
สูตรที่ 5
สมมติฐาน
ก) พลังงานที่สูญเสียเนื่องจากการตอกเสาเข็มคํานวณไดจาก WY = Rs + U
ข) ขณะที่ตอกเสาเข็ม จะเกิดการสูญเสียพลังงานเนื่องจากการอัดตัวแบบยืดหยุนในเสาเข็ม ราวกับวามีแรง
R มากระทํา
การอัดตัวแบบยืดหยุนของเสาเข็มหาไดจาก RL/AE และพลังงานยืดหยุนมีคาเทากับ R2L/2AE ดังนั้น U
= R2L/2AE และ
2
2h
R LW Y Rs
AE
= + สมการของ Weibach (1850)
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
สูตรที่ 6
สมมติฐาน
ก) พลังงานที่กระแทกเสาเข็ม มีคาเทากับ kWhY โดยที่ k คือประสิทธิภาพของชุดตอกเสาเข็ม ซึ่งมีคา
นอยกวา 1.0 เนื่องจากการสูญเสียอันเกิดจากความฝดและการสูญเสียอื่นๆ ขณะตอกเสาเข็ม
ข) พลังงานที่สูญเสียเกิดเนื่องจากการอัดตัวของเสาเข็ม คํานวณไดเชนเดียวกับในสูตรที่ 5
ค) พลังงานที่สูญเสียเกิดเนื่องจากการกระแทกของวัสดุสองชนิด คํานวณไดเชนเดียวกับในสูตรที่ 4
ดังนั้น สมการพลังงานคือ
สมการของ Janbu (1953 )
2
2(1.5 0.3 / )
h
p h
kW Y R L Rs
AEW W
= +
+
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
สามารถเขียนในรูปแบบอยางงายไดดังนี้
h
u
W Y
R
K s
=
1 1u d
d
K C
C
λ
⎡ ⎤
⎢ ⎥
⎢ ⎥
⎢ ⎥
⎢ ⎥⎣ ⎦
= + +
0.75 0.15 p
d
h
W
C
W
= +
2
h
W YL
AEs
λ =
เมื่อ
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
สูตรที่ 7
สมมติฐาน
ก) พลังงานที่กระแทกเสาเข็มมีคาเทากับ kWhY
ข) พลังงานที่สูญเสียเนื่องจากการอัดตัวแบบยืดหยุนของเสาเข็มมีคาเทากับ (2kWhYL/AE)0.5
ดังนั้น สมการพลังงานคือ
สมการของ Danish
0.5
2
2
h
h
kW YLRkW Y Rs
AE
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎜ ⎟
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠
= +
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
สูตรที่ 8
พลังงานที่สูญเสียถูกสมมติวาเกิดจาก
ก) ระบบของตุมน้ําหนัก
ข) การกระแทก
ค) การอัดตัวแบบยืดหยุนของเสาเข็ม (cp)
ง) การอัดตัวของหมอนรองหัวเสาเข็ม (cc)
จ) การอัดตัวของดิน (cq)
ถา L′, A′, และ E′ คือความยาว พื้นที่ และโมดูลัสเทียบเทาของหมอนรองหัวเสาเข็ม ตามลําดับ สมการ
พลังงานสามารถแสดงไดดังนี้
2 2 2(1 )
2 2 2( )
q
ph h
ph
Rce R L R LkW Y Rs kW YW
AE A EW W
− ′= + + + +
+ ′ ′
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
2 2 2(1 )
2 2 2( )
q
ph h
ph
Rce R L R LkW Y Rs kW YW
AE A EW W
− ′= + + + +
+ ′ ′
เมื่อแทนคา และ ลงในสมการดานบน จะไดp
RL c
AE
= c
RL c
A E
′ =
′ ′
สมการนี้เรียกวา สมการของ Hiley
2( ) 1( )
2( )
ph h
p c q
ph
k W e W W Y
R s c c c
W W
⎡ ⎤
⎢ ⎥
⎢ ⎥
⎣ ⎦
+
= + + +
+
3.123.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยวการประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็มในชั้นทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
รูปแบบของสมการ Hiley ที่พบบอย คือ
/2
h
c p q
W Y
R
s c c c
η
⎡ ⎤⎛ ⎞
⎢ ⎥⎜ ⎟
⎢ ⎥⎝ ⎠⎣ ⎦
=
+ + +
2( )/( )r p ph h
k W e W W Wη = + +
0.72
p
RLc
A
=
2
1.8
c
RL
c
A
=
3.60q
Rc
A
=
เมื่อ
โดยที่ L2 คือความหนาของกระสอบรองหัวเสาเข็ม (เมตร)
โดยที่ R, L และ A มีหนวยเปนตัน เมตร และตารางเซนติเมตร ตามลําดับ
3.133.13 น้ําหนักบรรทุกยอมใหของเสาเข็มเดี่ยวน้ําหนักบรรทุกยอมใหของเสาเข็มเดี่ยว
Whitaker and Cooke (1966) ศึกษาอิทธิพลของรูปรางเสาเข็มตอพฤติกรรมการรับน้ําหนัก โดย
ติดตั้งมาตรวัดแรง (Load cell) ที่ผิวและปลายเสาเข็ม
ผลทดสอบแสดงใหเห็นวาเมื่อมีน้ําหนักบรรทุกกระทําบนเสาเข็ม แรงเสียดทานรอบเสาเข็มจะเกิดขึ้น
อยางรวดเร็วและมีความสัมพันธเชิงเสนตรงกับการเคลื่อนตัว แรงเสียดทานนี้เกิดขึ้นอยางเต็มที่ เมื่อเกิดการ
เคลื่อนตัวของเสาเข็มเพียงแค 0.5 เปอรเซ็นต ของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม ตอจากนั้น แรงเสียดทานนี้
อาจมีคาคงที่หรือลดลง ตามการเคลื่อนตัวของเสาเข็ม ในขณะที่ แรงแบกทานที่ปลายเข็มจะเกิดขึ้นอยาง
เต็มที่ เมื่อเกิดการทรุดตัวประมาณ 10 - 20 เปอรเซ็นต ของเสนผานศูนยกลางที่ปลายเข็ม
3.133.13 น้ําหนักบรรทุกยอมใหของเสาเข็มเดี่ยวน้ําหนักบรรทุกยอมใหของเสาเข็มเดี่ยว
ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและการทรุดตัวของเสาเข็มเจาะ
Total
Shaft
Base
Settlement
Load
Total
Shaft
Base
Settlement
Load
(a) เสาเข็มแรงเสียดทาน (b) เสาเข็มดาล
3.133.13 น้ําหนักบรรทุกยอมใหของเสาเข็มเดี่ยวน้ําหนักบรรทุกยอมใหของเสาเข็มเดี่ยว
น้ําหนักบรรทุกยอมให สามารถคํานวณไดดังนี้
s b
a
s b
PPP
FS FS
≤ +
เมื่อ FSs คืออัตราสวนปลอดภัยสําหรับแรงเสียดทาน ควรมีคาอยูระหวาง 1.2 ถึง 1.5
FSb คืออัตราสวนปลอดภัยสําหรับแรงแบกทานที่ปลายเข็ม ควรมีคาไมนอยกวา 3.0
ผูออกแบบตองคํานึงถึงอัตราสวนปลอดภัยโดยรวมของเสาเข็มดวย น้ําหนักบรรทุกยอมใหควรมีคาเทากับ
s b
a
P P
P
FS
+
≤
เมื่อ FS คืออัตราสวนปลอดภัยรวม ควรมีคาอยูระหวาง 2.0 ถึง 2.5
3.143.14 แรงฉุดลงของเสาเข็มแรงฉุดลงของเสาเข็ม ((Negative Skin FrictionNegative Skin Friction :: NFNF))
แรงฉุดลงของเสาเข็ม คือแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหวางมวลดินกับเสาเข็ม อันเปนผลจากการที่ดิน
บริเวณรอบเสาเข็มเกิดการเคลื่อนตัวมากกวาการทรุดตัวของเสาเข็ม สภาพที่ทําใหเกิดแรงฉุดลง คือปลาย
เสาเข็มวางตัวในชั้นที่มีการทรุดตัวนอยและมีชั้นดินอัดตัวสูง (Highly compressive soil) เชน ดิน
เหนียวออน วางตัวอยูดานบน แรงฉุดลงจะเกิดในชั้นดินเหนียวออน ตั้งแตหัวเสาเข็มจนถึงจุดสะเทิน
(Neutral point) ซึ่งเปนจุดที่การเคลื่อนตัวของมวลดินกับเสาเข็มประมาณเทากัน
3.143.14 แรงฉุดลงของเสาเข็มแรงฉุดลงของเสาเข็ม ((Negative Skin FrictionNegative Skin Friction :: NFNF))
การเกิดแรงฉุดลงเนื่องจากการถมดิน
3.143.14 แรงฉุดลงของเสาเข็มแรงฉุดลงของเสาเข็ม ((Negative Skin FrictionNegative Skin Friction :: NFNF))
3.14.1 สาเหตุของการเกิดแรงฉุดลง (Cause of Negative Skin Friction)
ในชั้นดินกรุงเทพ
1) ผลของการอัดตัวคายน้ําปฐมภูมิอันเนื่องจากความเคนที่กระทําบนผิวดิน เชน การถมดิน ฉุด
ใหเสาเข็มจมลง ในกรณีนี้ จุดสะเทิน (Neutral point) จะอยูบริเวณเสนขอบเขตระหวาง
ดินเหนียวออนกับดินเหนียวแข็งปานกลาง
2) การสูบน้ําบาดาลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่ง เนื่องจากการ
ลดลงของความดันน้ํา (Pore pressure)
3) ผลจากการตอกเสาเข็ม เนื่องจากการตอกเสาเข็มเปนการรบกวนดินรอบขาง และทําใหเกิด
ความดันน้ําสวนเกิน (Excess Pore Pressure) ซึ่งมีผลทําใหดินเกิดการทรุดตัวดวย
น้ําหนักของดินเอง กรณีเชนนี้ มักเกิดกับดินที่มีคาความไวตัว (Sensitivity) สูง
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม
ออกแบบเสาเข็ม

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มWichai Likitponrak
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2Chattichai
 
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณบทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณChattichai
 
สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมnutchaporn
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุนApinya Phuadsing
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
ตารางคำนวน งานระดับ
ตารางคำนวน งานระดับตารางคำนวน งานระดับ
ตารางคำนวน งานระดับKasetsart University
 
บทที่ 6 กล้องวัดมุม
บทที่ 6 กล้องวัดมุมบทที่ 6 กล้องวัดมุม
บทที่ 6 กล้องวัดมุมChattichai
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่ม
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2
 
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณบทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
 
สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยม
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
402
402402
402
 
6 1
6 16 1
6 1
 
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
2 6
2 62 6
2 6
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
ตารางคำนวน งานระดับ
ตารางคำนวน งานระดับตารางคำนวน งานระดับ
ตารางคำนวน งานระดับ
 
บทที่ 6 กล้องวัดมุม
บทที่ 6 กล้องวัดมุมบทที่ 6 กล้องวัดมุม
บทที่ 6 กล้องวัดมุม
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
Forklift 2
Forklift 2Forklift 2
Forklift 2
 

More from nsumato

โนวา ฉบับที่ 12 (มีนาคม 2526)
โนวา ฉบับที่ 12 (มีนาคม 2526)โนวา ฉบับที่ 12 (มีนาคม 2526)
โนวา ฉบับที่ 12 (มีนาคม 2526)nsumato
 
PDF โนวา 1 (กพ. พ.ศ.2525)
PDF โนวา 1 (กพ. พ.ศ.2525)PDF โนวา 1 (กพ. พ.ศ.2525)
PDF โนวา 1 (กพ. พ.ศ.2525)nsumato
 
Lpr 2016 summary_th
Lpr 2016 summary_thLpr 2016 summary_th
Lpr 2016 summary_thnsumato
 
P 424474
P 424474P 424474
P 424474nsumato
 
Miti4extra4 1989
Miti4extra4 1989Miti4extra4 1989
Miti4extra4 1989nsumato
 
มิติที่ 4 ฉบับที่ 45 (พฤษภาคม 2527) ราคาปก 15 บาท
มิติที่ 4 ฉบับที่ 45 (พฤษภาคม 2527) ราคาปก 15 บาทมิติที่ 4 ฉบับที่ 45 (พฤษภาคม 2527) ราคาปก 15 บาท
มิติที่ 4 ฉบับที่ 45 (พฤษภาคม 2527) ราคาปก 15 บาทnsumato
 
Miti4extra4 1989
Miti4extra4 1989Miti4extra4 1989
Miti4extra4 1989nsumato
 
Lpr 2016 summary_th
Lpr 2016 summary_thLpr 2016 summary_th
Lpr 2016 summary_thnsumato
 
Miti tee4 38
Miti tee4 38Miti tee4 38
Miti tee4 38nsumato
 
Chaiyapruek wit 113
Chaiyapruek wit 113Chaiyapruek wit 113
Chaiyapruek wit 113nsumato
 
Miti tee4 27
Miti tee4 27Miti tee4 27
Miti tee4 27nsumato
 
Miti tee4 25
Miti tee4 25Miti tee4 25
Miti tee4 25nsumato
 
013 japanese army air force aces 1937-1945
013   japanese army air force aces 1937-1945013   japanese army air force aces 1937-1945
013 japanese army air force aces 1937-1945nsumato
 
Model aircraft january 2017
Model aircraft   january 2017Model aircraft   january 2017
Model aircraft january 2017nsumato
 
Miti tee4 20
Miti tee4 20Miti tee4 20
Miti tee4 20nsumato
 
Miti tee4 11
Miti tee4 11Miti tee4 11
Miti tee4 11nsumato
 
Secretofthetime
SecretofthetimeSecretofthetime
Secretofthetimensumato
 
มิติที่ 4 ฉบับที่ 22 (มกราคม 2525) Miti tee4 22
มิติที่ 4 ฉบับที่ 22 (มกราคม 2525)  Miti tee4 22มิติที่ 4 ฉบับที่ 22 (มกราคม 2525)  Miti tee4 22
มิติที่ 4 ฉบับที่ 22 (มกราคม 2525) Miti tee4 22nsumato
 

More from nsumato (20)

Nova14
Nova14Nova14
Nova14
 
โนวา ฉบับที่ 12 (มีนาคม 2526)
โนวา ฉบับที่ 12 (มีนาคม 2526)โนวา ฉบับที่ 12 (มีนาคม 2526)
โนวา ฉบับที่ 12 (มีนาคม 2526)
 
PDF โนวา 1 (กพ. พ.ศ.2525)
PDF โนวา 1 (กพ. พ.ศ.2525)PDF โนวา 1 (กพ. พ.ศ.2525)
PDF โนวา 1 (กพ. พ.ศ.2525)
 
Lpr 2016 summary_th
Lpr 2016 summary_thLpr 2016 summary_th
Lpr 2016 summary_th
 
P 424474
P 424474P 424474
P 424474
 
Miti4extra4 1989
Miti4extra4 1989Miti4extra4 1989
Miti4extra4 1989
 
Nova01
Nova01Nova01
Nova01
 
มิติที่ 4 ฉบับที่ 45 (พฤษภาคม 2527) ราคาปก 15 บาท
มิติที่ 4 ฉบับที่ 45 (พฤษภาคม 2527) ราคาปก 15 บาทมิติที่ 4 ฉบับที่ 45 (พฤษภาคม 2527) ราคาปก 15 บาท
มิติที่ 4 ฉบับที่ 45 (พฤษภาคม 2527) ราคาปก 15 บาท
 
Miti4extra4 1989
Miti4extra4 1989Miti4extra4 1989
Miti4extra4 1989
 
Lpr 2016 summary_th
Lpr 2016 summary_thLpr 2016 summary_th
Lpr 2016 summary_th
 
Miti tee4 38
Miti tee4 38Miti tee4 38
Miti tee4 38
 
Chaiyapruek wit 113
Chaiyapruek wit 113Chaiyapruek wit 113
Chaiyapruek wit 113
 
Miti tee4 27
Miti tee4 27Miti tee4 27
Miti tee4 27
 
Miti tee4 25
Miti tee4 25Miti tee4 25
Miti tee4 25
 
013 japanese army air force aces 1937-1945
013   japanese army air force aces 1937-1945013   japanese army air force aces 1937-1945
013 japanese army air force aces 1937-1945
 
Model aircraft january 2017
Model aircraft   january 2017Model aircraft   january 2017
Model aircraft january 2017
 
Miti tee4 20
Miti tee4 20Miti tee4 20
Miti tee4 20
 
Miti tee4 11
Miti tee4 11Miti tee4 11
Miti tee4 11
 
Secretofthetime
SecretofthetimeSecretofthetime
Secretofthetime
 
มิติที่ 4 ฉบับที่ 22 (มกราคม 2525) Miti tee4 22
มิติที่ 4 ฉบับที่ 22 (มกราคม 2525)  Miti tee4 22มิติที่ 4 ฉบับที่ 22 (มกราคม 2525)  Miti tee4 22
มิติที่ 4 ฉบับที่ 22 (มกราคม 2525) Miti tee4 22
 

ออกแบบเสาเข็ม