SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
หน่วยที่ 2 การออกแบบวัตถุ

การตัดมุมวัตถุที่ออกแบบขึ้น ใช้หลักการของการเลือกเส้นขอบมุม หรือด้านที่
ต้องการแล้วใช้คาสั่งในการตัดเหลี่ยมมุม จะช่วยทาให้ชิ้นงานมีความสวยงามมากขึ้น

การตัดมุมแบบเหลี่ยม
การตัดมุมแบบเหลี่ยม เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการปรับเปลี่ยนรูปทรง ที่อาศัยหลักการของการเลือกด้าน
(Edges) หรือเลือกพื้นผิว(Faces)ของวัตถุทรงตันที่มีขอบเหลี่ยม แล้วนามาใช้คาสั่ง Chamfer Edges โดยตั้งค่า Setback
ที่ต้องการลบเหลี่ยมตามความต้องการ
ขั้นตอนการออกแบบ
1. ออกแบบรูปทรงตัน
2. คลิกเครื่องมือ Select Edges
บนแถบเครื่องมือ Design
3. คลิกเมนู Feature เลือกเครื่องมือ Chamfer Edges
บนแถบเครื่องมือ Feature
หลังจากนั้นกาหนดค่าของเหลี่ยมที่จะตัดออกในช่อง Setback s(mm) ในที่นี้กาหนดเป็น 10 (mm)

4. คลิกปุ่ม OK หรือ กดแป้น Enter จะได้รูปทรงดังภาพ

1
หน่วยที่ 2 การออกแบบวัตถุ

กรณีต้องการตัดมุมมากกว่า 1 ด้าน
1. คลิกเครื่องมือ Select Edges
บนแถบเครื่องมือ Design
2. คลิกเลือกด้านที่ต้องการ และกดปุ่ม Shift ค้าง คลิกเลือกด้านต่อไปจนครบ สังเกตว่าจะมีเส้นสี
แดงทุกด้านทีเลือก
3. คลิกเมนู Feature เลือกเครื่องมือ Chamfer Edges บนแถบเครื่องมือ Feature หลังจากนั้น
กาหนดค่า
4. คลิกเมนู Feature เลือกเครื่องมือ Chamfer Edges
บนแถบเครื่องมือ Feature
หลังจากนั้นกาหนดค่าของเหลี่ยมที่จะตัดออกในช่อง Setback s(mm) ในที่นี้กาหนดเป็น 10 (mm)

กรณีต้องการลบแบบระบุค่าความเอียง
1. คลิกเครื่องมือ Select Edges
บนแถบเครื่องมือ Design
2. คลิกเลือกด้านที่ต้องการตัดมุมมน สังเกตได้จากด้านที่เลือกจะเป็นเส้นสีแดง

3. คลิกเมนู Feature เลือกเครื่องมือ Chamfer Edges
Angle setback เพื่อ

บนแถบเครื่องมือ Feature เลือก

2
หน่วยที่ 2 การออกแบบวัตถุ

4. กาหนดองศาของความเอียง หลังจากนั้นกาหนดค่าของเหลี่ยมที่จะตัดออกในช่อง
s(mm) และกาหนดค่า องศาในช่อง Angle a

5. คลิกปุ่ม OK หรือ กดแป้น Enter ที่ Keyboard จะได้รูปทรงดังภาพ

Setback

3

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 การเลือกเฉพาะส่วนของรูปภาพ
บทที่ 4 การเลือกเฉพาะส่วนของรูปภาพบทที่ 4 การเลือกเฉพาะส่วนของรูปภาพ
บทที่ 4 การเลือกเฉพาะส่วนของรูปภาพtonta01
 
แบบฝึกที่11 หน้า27 28
แบบฝึกที่11 หน้า27 28แบบฝึกที่11 หน้า27 28
แบบฝึกที่11 หน้า27 28dechathon
 
ใบปฏิบัติงานที่ 022 1 1
ใบปฏิบัติงานที่  022 1 1ใบปฏิบัติงานที่  022 1 1
ใบปฏิบัติงานที่ 022 1 1Duangsuwun Lasadang
 
prodesk Lesson3
prodesk Lesson3prodesk Lesson3
prodesk Lesson3Palasut
 
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1ใบปฏิบัติงานที่ 018 1
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1Duangsuwun Lasadang
 
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบอิฐบล็อกได้
แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบอิฐบล็อกได้แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบอิฐบล็อกได้
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบอิฐบล็อกได้dechathon
 
ใบปฏิบัติงานที่ 022 3 1
ใบปฏิบัติงานที่  022 3 1ใบปฏิบัติงานที่  022 3 1
ใบปฏิบัติงานที่ 022 3 1Duangsuwun Lasadang
 
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบรูปทรงแกนลอน
แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบรูปทรงแกนลอนแบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบรูปทรงแกนลอน
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบรูปทรงแกนลอนdechathon
 
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6krissada634
 
การวิเคราะห์พื้นผิว
การวิเคราะห์พื้นผิวการวิเคราะห์พื้นผิว
การวิเคราะห์พื้นผิวWanida Sarasuk
 
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1ใบปฏิบัติงานที่ 017 1
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1Duangsuwun Lasadang
 
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์
แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์dechathon
 
ใบปฏิบัติงานที่ 022 4 1
ใบปฏิบัติงานที่  022 4 1ใบปฏิบัติงานที่  022 4 1
ใบปฏิบัติงานที่ 022 4 1Duangsuwun Lasadang
 

What's hot (18)

บทที่ 4 การเลือกเฉพาะส่วนของรูปภาพ
บทที่ 4 การเลือกเฉพาะส่วนของรูปภาพบทที่ 4 การเลือกเฉพาะส่วนของรูปภาพ
บทที่ 4 การเลือกเฉพาะส่วนของรูปภาพ
 
แบบฝึกที่11 หน้า27 28
แบบฝึกที่11 หน้า27 28แบบฝึกที่11 หน้า27 28
แบบฝึกที่11 หน้า27 28
 
ใบปฏิบัติงานที่ 022 1 1
ใบปฏิบัติงานที่  022 1 1ใบปฏิบัติงานที่  022 1 1
ใบปฏิบัติงานที่ 022 1 1
 
prodesk Lesson3
prodesk Lesson3prodesk Lesson3
prodesk Lesson3
 
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1ใบปฏิบัติงานที่ 018 1
ใบปฏิบัติงานที่ 018 1
 
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบอิฐบล็อกได้
แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบอิฐบล็อกได้แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบอิฐบล็อกได้
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบอิฐบล็อกได้
 
ใบปฏิบัติงานที่ 022 3 1
ใบปฏิบัติงานที่  022 3 1ใบปฏิบัติงานที่  022 3 1
ใบปฏิบัติงานที่ 022 3 1
 
3.4
3.43.4
3.4
 
301
301301
301
 
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบรูปทรงแกนลอน
แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบรูปทรงแกนลอนแบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบรูปทรงแกนลอน
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบรูปทรงแกนลอน
 
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
 
Pwp data4.3-4.4
Pwp data4.3-4.4Pwp data4.3-4.4
Pwp data4.3-4.4
 
104
104104
104
 
Crop Tool photoshop cs5
 Crop Tool photoshop cs5 Crop Tool photoshop cs5
Crop Tool photoshop cs5
 
การวิเคราะห์พื้นผิว
การวิเคราะห์พื้นผิวการวิเคราะห์พื้นผิว
การวิเคราะห์พื้นผิว
 
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1ใบปฏิบัติงานที่ 017 1
ใบปฏิบัติงานที่ 017 1
 
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์
แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์แบบฝึกปฏิบัติ  ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์
แบบฝึกปฏิบัติ ประยุกต์ใช้โดยการออกแบบการสร้างรูปทรงเกียร์
 
ใบปฏิบัติงานที่ 022 4 1
ใบปฏิบัติงานที่  022 4 1ใบปฏิบัติงานที่  022 4 1
ใบปฏิบัติงานที่ 022 4 1
 

Viewers also liked

วิชาคอมพิวเตอร์ ง22242 ม 5
วิชาคอมพิวเตอร์ ง22242 ม 5วิชาคอมพิวเตอร์ ง22242 ม 5
วิชาคอมพิวเตอร์ ง22242 ม 5Nichakorn Sengsui
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nichakorn Sengsui
 
การทางานกับสีด้วย Transparency และ Mesh
การทางานกับสีด้วย Transparency และ Meshการทางานกับสีด้วย Transparency และ Mesh
การทางานกับสีด้วย Transparency และ MeshNichakorn Sengsui
 
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustratorการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม IllustratorNichakorn Sengsui
 
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์Nichakorn Sengsui
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustratorส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม IllustratorNichakorn Sengsui
 
Pen Tool และเส้น Path
Pen Tool และเส้น PathPen Tool และเส้น Path
Pen Tool และเส้น PathNichakorn Sengsui
 
การทำงานกับสีด้วย Transparency และ Mesh
การทำงานกับสีด้วย Transparency และ Meshการทำงานกับสีด้วย Transparency และ Mesh
การทำงานกับสีด้วย Transparency และ MeshNichakorn Sengsui
 
Apps to support students with learning differences
Apps to support students with learning differencesApps to support students with learning differences
Apps to support students with learning differencesShannon Haley-Mize
 
พื้นฐานการใช้งานสีใน Illustrator
พื้นฐานการใช้งานสีใน Illustratorพื้นฐานการใช้งานสีใน Illustrator
พื้นฐานการใช้งานสีใน IllustratorNichakorn Sengsui
 
Swing Dancing: History and Culture
Swing Dancing: History and CultureSwing Dancing: History and Culture
Swing Dancing: History and Culturecrywhite
 

Viewers also liked (17)

1
11
1
 
วิชาคอมพิวเตอร์ ง22242 ม 5
วิชาคอมพิวเตอร์ ง22242 ม 5วิชาคอมพิวเตอร์ ง22242 ม 5
วิชาคอมพิวเตอร์ ง22242 ม 5
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
1
11
1
 
การทางานกับสีด้วย Transparency และ Mesh
การทางานกับสีด้วย Transparency และ Meshการทางานกับสีด้วย Transparency และ Mesh
การทางานกับสีด้วย Transparency และ Mesh
 
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustratorการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
 
Pdp presentation
Pdp presentationPdp presentation
Pdp presentation
 
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustratorส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
 
Pen Tool และเส้น Path
Pen Tool และเส้น PathPen Tool และเส้น Path
Pen Tool และเส้น Path
 
การทำงานกับสีด้วย Transparency และ Mesh
การทำงานกับสีด้วย Transparency และ Meshการทำงานกับสีด้วย Transparency และ Mesh
การทำงานกับสีด้วย Transparency และ Mesh
 
Tourette’s
Tourette’sTourette’s
Tourette’s
 
Apps to support students with learning differences
Apps to support students with learning differencesApps to support students with learning differences
Apps to support students with learning differences
 
CSS
CSSCSS
CSS
 
พื้นฐานการใช้งานสีใน Illustrator
พื้นฐานการใช้งานสีใน Illustratorพื้นฐานการใช้งานสีใน Illustrator
พื้นฐานการใช้งานสีใน Illustrator
 
Multimodal texts
Multimodal textsMultimodal texts
Multimodal texts
 
Swing Dancing: History and Culture
Swing Dancing: History and CultureSwing Dancing: History and Culture
Swing Dancing: History and Culture
 

วัตถุโค้งมนและแบบเหลี่ยม

  • 1. หน่วยที่ 2 การออกแบบวัตถุ การตัดมุมวัตถุที่ออกแบบขึ้น ใช้หลักการของการเลือกเส้นขอบมุม หรือด้านที่ ต้องการแล้วใช้คาสั่งในการตัดเหลี่ยมมุม จะช่วยทาให้ชิ้นงานมีความสวยงามมากขึ้น การตัดมุมแบบเหลี่ยม การตัดมุมแบบเหลี่ยม เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการปรับเปลี่ยนรูปทรง ที่อาศัยหลักการของการเลือกด้าน (Edges) หรือเลือกพื้นผิว(Faces)ของวัตถุทรงตันที่มีขอบเหลี่ยม แล้วนามาใช้คาสั่ง Chamfer Edges โดยตั้งค่า Setback ที่ต้องการลบเหลี่ยมตามความต้องการ ขั้นตอนการออกแบบ 1. ออกแบบรูปทรงตัน 2. คลิกเครื่องมือ Select Edges บนแถบเครื่องมือ Design 3. คลิกเมนู Feature เลือกเครื่องมือ Chamfer Edges บนแถบเครื่องมือ Feature หลังจากนั้นกาหนดค่าของเหลี่ยมที่จะตัดออกในช่อง Setback s(mm) ในที่นี้กาหนดเป็น 10 (mm) 4. คลิกปุ่ม OK หรือ กดแป้น Enter จะได้รูปทรงดังภาพ 1
  • 2. หน่วยที่ 2 การออกแบบวัตถุ กรณีต้องการตัดมุมมากกว่า 1 ด้าน 1. คลิกเครื่องมือ Select Edges บนแถบเครื่องมือ Design 2. คลิกเลือกด้านที่ต้องการ และกดปุ่ม Shift ค้าง คลิกเลือกด้านต่อไปจนครบ สังเกตว่าจะมีเส้นสี แดงทุกด้านทีเลือก 3. คลิกเมนู Feature เลือกเครื่องมือ Chamfer Edges บนแถบเครื่องมือ Feature หลังจากนั้น กาหนดค่า 4. คลิกเมนู Feature เลือกเครื่องมือ Chamfer Edges บนแถบเครื่องมือ Feature หลังจากนั้นกาหนดค่าของเหลี่ยมที่จะตัดออกในช่อง Setback s(mm) ในที่นี้กาหนดเป็น 10 (mm) กรณีต้องการลบแบบระบุค่าความเอียง 1. คลิกเครื่องมือ Select Edges บนแถบเครื่องมือ Design 2. คลิกเลือกด้านที่ต้องการตัดมุมมน สังเกตได้จากด้านที่เลือกจะเป็นเส้นสีแดง 3. คลิกเมนู Feature เลือกเครื่องมือ Chamfer Edges Angle setback เพื่อ บนแถบเครื่องมือ Feature เลือก 2
  • 3. หน่วยที่ 2 การออกแบบวัตถุ 4. กาหนดองศาของความเอียง หลังจากนั้นกาหนดค่าของเหลี่ยมที่จะตัดออกในช่อง s(mm) และกาหนดค่า องศาในช่อง Angle a 5. คลิกปุ่ม OK หรือ กดแป้น Enter ที่ Keyboard จะได้รูปทรงดังภาพ Setback 3