SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
SIPOC
Supplier Input Process Output Customer
COPIS
CustomerOutputProcessInputSupplier
Input
Boundary
Output
Boundary
Requirement Requirement
High Level Process Map
Basic Structure of SIPOC
Suppliers
(Providers of
the require
resources)
Inputs
(Resources
required by the
process)
Process
(Top level description of
activity)
Outputs
(Deliverables
from the
process)
Customer
(Anyoune who receives a
deliverable from the
process)
Requirements Making Bread Requirements
SIPOC: Example form
SIPOC Work shop - Making bread
Mixing
การผสม
Kneading
การนวด
Rising
การทิ้งให้ฟู
Baking
การอบ
Suppliers
(Providers of
the require
resources)
Inputs
(Resources
required by the
process)
Process
(Top level description of
activity)
Outputs
(Deliverables
from the
process)
Customer
(Anyoune who receives a
deliverable from the
process)
Requirements
Making Bread
(ทาขนมปัง) Requirements
ตราสิงห์โต Flour
(แป้ง)
- Type of flour
- Weight
Good flavor
(รสชาติที่ดี)
เนื้อนิ่ม ออกหวานนิด
หน่อย
ลูกค้า
ตราหมี Yeast
(ยีสต์)
- Type of yeast
- Weight
Right Texture ผิวเกรียม
ตราช้าง Water
(น้า)
- Type of water
- Quantity
- Temperature
Color
(สี)
สีน้าตาลไหม้
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค Energy
(พลังงาน)
- Heater
- Temperature
Correct Weight
(น้าหนักที่ถูกต้อง)
3 ปอนด์
ตราเสือดาว Equipment
(อุปกรณ์) Type of pan
โรงเรียนสอนทาอาหาร
ยิ่งศักดิ์
Personnel
(บุคลากร) Certificated
ตราเสือ Canola oil Quantity
Mixing
การผสม
Kneading
การนวด
Rising
การทิ้งให้ฟู
Baking
การอบ
SIPOC: Example Making bread
+5
2-1/4
6-2/4
375
+
-
Outputs
ผิวเกรียมสี
น้ำตำล
ไหม้
(ผลลัพธ์อยู่
ในช่วงที่
ยอมรับได้)
ข้อ
กาหนด
ขั้นตอนที่#1
ขั้นตอนที่#2
ขั้นตอนที่#3
ขั้นตอนที่#4
ขั้นตอนที่#5
ขั้นตอนที่#..n
Process
(กรรมวิธี)
Environment
(สภาพแวดล้อม)
อุณหภูมิ
-5
ปริมำณแป้ง
+1/4
-1/4
ปริมำณน้ำ
+1/4
-1/4
ความผันแปรของ Input ส่งผลทาให้
Output มีความผันแปรตามไปด้วยเสมอ
ข้อกำหนด
+5
2-1/4
6-2/4
375
+
-
Outputs
ผิวเกรียมสี
น้ำตำล
ไหม้
(ผลลัพธ์อยู่
ในช่วงที่
ยอมรับได้)
ข้อ
กาหนด
ขั้นตอนที่#1
ขั้นตอนที่#2
ขั้นตอนที่#3
ขั้นตอนที่#4
ขั้นตอนที่#5
ขั้นตอนที่#..n
Process
(กรรมวิธี)
Environment
(สภาพแวดล้อม)
อุณหภูมิ
-5
ปริมำณแป้ง
+1/4
-1/4
ปริมำณน้ำ
+1/4
-1/4
ความผันแปรของ Input ส่งผลทาให้
Output มีความผันแปรตามไปด้วยเสมอ
ข้อกำหนด
+5
2-1/4
6-2/4
375
+
-
Outputs
ผิวเกรียมสี
น้ำตำล
ไหม้
(ผลลัพธ์อยู่
ในช่วงที่
ยอมรับได้)
ข้อ
กาหนด
ขั้นตอนที่#1
ขั้นตอนที่#2
ขั้นตอนที่#3
ขั้นตอนที่#4
ขั้นตอนที่#5
ขั้นตอนที่#..n
Process
(กรรมวิธี)
Environment
(สภาพแวดล้อม)
อุณหภูมิ
-5
ปริมำณแป้ง
+1/4
-1/4
ปริมำณน้ำ
+1/4
-1/4
ความผันแปรของ Input ส่งผลทาให้
Output มีความผันแปรตามไปด้วยเสมอ
ข้อกำหนด
+5
2-1/4
6-2/4
375
+
-
Outputs
ผิวเกรียมสี
น้ำตำล
ไหม้
(ผลลัพธ์อยู่
ในช่วงที่
ยอมรับได้)
ข้อ
กาหนด
ขั้นตอนที่#1
ขั้นตอนที่#2
ขั้นตอนที่#3
ขั้นตอนที่#4
ขั้นตอนที่#5
ขั้นตอนที่#..n
Process
(กรรมวิธี)
Environment
(สภาพแวดล้อม)
อุณหภูมิ
-5
ปริมำณแป้ง
+1/4
-1/4
ปริมำณน้ำ
+1/4
-1/4
ความผันแปรของ Input ส่งผลทาให้
Output มีความผันแปรตามไปด้วยเสมอ
ข้อกำหนด
+5
2-1/4
6-2/4
375
+
-
Outputs
ผิวเกรียมสี
น้ำตำล
ไหม้
(ผลลัพธ์อยู่
ในช่วงที่
ยอมรับได้)
ข้อ
กาหนด
ขั้นตอนที่#1
ขั้นตอนที่#2
ขั้นตอนที่#3
ขั้นตอนที่#4
ขั้นตอนที่#5
ขั้นตอนที่#..n
Process
(กรรมวิธี)
Environment
(สภาพแวดล้อม)
อุณหภูมิ
-5
ปริมำณแป้ง
+1/4
-1/4
ปริมำณน้ำ
+1/4
-1/4
ความผันแปรของ Input ส่งผลทาให้
Output มีความผันแปรตามไปด้วยเสมอ
ข้อกำหนด
+5
2-1/4
6-2/4
375
+
-
Outputs
ผิวเกรียมสี
น้ำตำล
ไหม้
(ผลลัพธ์อยู่
ในช่วงที่
ยอมรับได้)
ข้อ
กาหนด
ขั้นตอนที่#1
ขั้นตอนที่#2
ขั้นตอนที่#3
ขั้นตอนที่#4
ขั้นตอนที่#5
ขั้นตอนที่#..n
Process
(กรรมวิธี)
Environment
(อยู่ภายใต้
สภาพแวดล้อม)
อุณหภูมิ
-5
ปริมำณแป้ง
+1/4
-1/4
ปริมำณน้ำ
+1/4
-1/4
ความผันแปรของ Input ส่งผลทาให้
Output มีความผันแปรตามไปด้วยเสมอ
ข้อกำหนด
Inputs
(ปัจจัย
นาเข้า)
+
-
มาก
เกิน
น้อย
เกิน
Outputs
(ผลลัพธ์อยู่
ในช่วงที่
ยอมรับได้)
ปัญหา
(อาการ,
ลักษณะเฉพาะ
ปัญหา
(อาการ,
ลักษณะเฉพาะ
ข้อ
กาหนด
ข้อ
กาหนด
+
-
ขั้นตอนที่#1
ขั้นตอนที่#2
ขั้นตอนที่#3
ขั้นตอนที่#4
ขั้นตอนที่#5
ขั้นตอนที่#..n
Process
(กรรมวิธี)
Environment
(สภาพแวดล้อม)
มีการ inspection 100% ดีพอไหม?
• เป็นอิสระต่อกัน
• ต้องควบคุม
• ต้องหาจุดที่ดีที่สุด
• เปลี่ยนไปตาม X
เส้นควบคุมบน
เส้นควบคุมล่าง
ตามรูปจะเห็นได้ว่า ความผันผวนของ
Output ยังอยู่ เพราะแยกแค่ของดีกับของ
เสีย ไม่ได้แก้ไขกระบวนการผลิตเลย และ
ธรรมชาติของ Data จะวิ่งอยู่รอบๆ ค่ากลาง
ถ้าอยากจะลดความผันผวนจะทาอย่างไรได้บ้าง?
โดยธรรมชาติของ Output จะมีความผัน
ผวนอยู่เสมอจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความ
ผันแปรของ Input และ Process
งานที่อยู่ขอบระหว่าง pass กับ fail คุณมีความ
มั่นใจกับมันแค่ไหน?
เส้นควบคุมบน
เส้นควบคุมล่าง
• การ Monitor output ที่ดีจะต้องบันทึก defect ที่
เกิดขึ้นด้วยว่ามันเกิดขึ้นจากสาเหตุใด (ถ้าเป็นไปได้)
• โดยจะต้องครอบคลุมปัจจัยทั้งหมด (4M1E)
Line#1, Operator A, Shift D, Product Z, Defect ไหม้
Line#1, Operator B, Shift E, Product Z, Defect ไม่สุก
Output ของ Process นึง จะไปเป็น Input ของอีก Process นึง
Supplier Input Process Output Customer
…“นั่นหมำยถึงมันจะส่งควำมผันผวนไปด้วยนั่นเอง”…
RequirementRequirement
• การตรวจสอบทั้งหมด (100% inspection) เป็นแค่การแยกงานดีกับงานเสีย ออกจากกัน
• งานที่อยู่ตรง Upper กับ Low spec ถ้าเครื่องมือวัดแต่ละเครื่องค่าที่วัดได้มีความ
แตกต่างกันก็อาจจะส่งผลให้ส่งงานที่ out spec ออกไปจากกระบวนการก็ได้
• แต่ไม่ได้ทาให้ ควำมผันแปร (Variation) ของ input หรือ ความผันแปรของ
Process ลดลง
• ตามรูปจะเห็นได้ว่า ความผันผวนของ Output ยังอยู่ เพราะแยกแค่ของดีกับของเสีย ไม่ได้
แก้ไขกระบวนการผลิตเลย
"กำรออกแบบกำรทดลอง DOE (Design of Experiment)" เพื่อทาการวิเคราะห์
Input ตัวใดมีผลกระทบโดยตรง และหาจุดที่ดีที่สุดของ Process จากนั้นจึงทาการแก้ไขปรับปรุง ซึ่งเป็น
การแก้ไขปัญหาที่ต้นตออย่างแท้จริง จึงทาให้ความผันผวนของ Output ลดลง
Method
Output
Man, Machine, Material, Method, Environment = x
Output = y
=f(x)YMan Machine
Material
Environment
SIPOC

More Related Content

What's hot

S&OP - Sales and Operations Planning
S&OP - Sales and Operations PlanningS&OP - Sales and Operations Planning
S&OP - Sales and Operations PlanningAitor Barinaga
 
Η Αποκάλυψη του Ιωάννη Εικονογραφημένη
Η Αποκάλυψη του Ιωάννη ΕικονογραφημένηΗ Αποκάλυψη του Ιωάννη Εικονογραφημένη
Η Αποκάλυψη του Ιωάννη ΕικονογραφημένηNikitas Vougiouklis
 
B ΓΥΜΝΑΣΙΟΥ ΘΡΗΣΚΕΥΤΙΚΑ
B ΓΥΜΝΑΣΙΟΥ ΘΡΗΣΚΕΥΤΙΚΑB ΓΥΜΝΑΣΙΟΥ ΘΡΗΣΚΕΥΤΙΚΑ
B ΓΥΜΝΑΣΙΟΥ ΘΡΗΣΚΕΥΤΙΚΑklery78
 
Ιδιωτικότητα και προσωπικά δεδομένα στο Διαδίκτυο
Ιδιωτικότητα και προσωπικά δεδομένα στο ΔιαδίκτυοΙδιωτικότητα και προσωπικά δεδομένα στο Διαδίκτυο
Ιδιωτικότητα και προσωπικά δεδομένα στο ΔιαδίκτυοGeorge Tzikas
 
μηχανές και μεταμηχανές αναζήτησης
μηχανές και μεταμηχανές αναζήτησηςμηχανές και μεταμηχανές αναζήτησης
μηχανές και μεταμηχανές αναζήτησηςSerafeim Zotis
 
προβλήματα αλγόριθμοι-προγραμμα
προβλήματα   αλγόριθμοι-προγραμμαπροβλήματα   αλγόριθμοι-προγραμμα
προβλήματα αλγόριθμοι-προγραμμαIliopoulou Anthi
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureNattakorn Sunkdon
 
ECDL Internet Σημειώσεις 7/7
ECDL Internet Σημειώσεις 7/7ECDL Internet Σημειώσεις 7/7
ECDL Internet Σημειώσεις 7/7Michael Ntallas
 
2.1 Η ΠΑΡΑΔΟΣΗ ΤΗΣ ΟΡΘΟΔΟΞΗΣ ΕΚΚΛΗΣΙΑΣ
2.1 Η ΠΑΡΑΔΟΣΗ ΤΗΣ ΟΡΘΟΔΟΞΗΣ ΕΚΚΛΗΣΙΑΣ2.1 Η ΠΑΡΑΔΟΣΗ ΤΗΣ ΟΡΘΟΔΟΞΗΣ ΕΚΚΛΗΣΙΑΣ
2.1 Η ΠΑΡΑΔΟΣΗ ΤΗΣ ΟΡΘΟΔΟΞΗΣ ΕΚΚΛΗΣΙΑΣΕλενη Ζαχου
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursNattakorn Sunkdon
 
κεφάλαιο 6
κεφάλαιο 6κεφάλαιο 6
κεφάλαιο 6sotiriasa
 
Εισαγωγή στις αρχές της επιστήμης των ΗΥ κεφ 2 3 2
Εισαγωγή στις αρχές της επιστήμης των ΗΥ κεφ 2 3 2Εισαγωγή στις αρχές της επιστήμης των ΗΥ κεφ 2 3 2
Εισαγωγή στις αρχές της επιστήμης των ΗΥ κεφ 2 3 2Ιωάννου Γιαννάκης
 
ΠΡΟΤΕΣΤΑΝΤΙΚΕΣ ΟΜΟΛΟΓΙΕΣ
ΠΡΟΤΕΣΤΑΝΤΙΚΕΣ ΟΜΟΛΟΓΙΕΣΠΡΟΤΕΣΤΑΝΤΙΚΕΣ ΟΜΟΛΟΓΙΕΣ
ΠΡΟΤΕΣΤΑΝΤΙΚΕΣ ΟΜΟΛΟΓΙΕΣpapakostev
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็Thamonwan Theerabunchorn
 
ο διαδραστικός πίνακας στη σχολική τάξη
ο διαδραστικός πίνακας στη σχολική τάξηο διαδραστικός πίνακας στη σχολική τάξη
ο διαδραστικός πίνακας στη σχολική τάξηhelntoul
 

What's hot (20)

07.01epaggelmatikos rolos
07.01epaggelmatikos rolos07.01epaggelmatikos rolos
07.01epaggelmatikos rolos
 
Server with XAMPP
Server with XAMPPServer with XAMPP
Server with XAMPP
 
S&OP - Sales and Operations Planning
S&OP - Sales and Operations PlanningS&OP - Sales and Operations Planning
S&OP - Sales and Operations Planning
 
www - Web 1, 2, 3, x
www - Web 1, 2, 3, xwww - Web 1, 2, 3, x
www - Web 1, 2, 3, x
 
Η Αποκάλυψη του Ιωάννη Εικονογραφημένη
Η Αποκάλυψη του Ιωάννη ΕικονογραφημένηΗ Αποκάλυψη του Ιωάννη Εικονογραφημένη
Η Αποκάλυψη του Ιωάννη Εικονογραφημένη
 
B ΓΥΜΝΑΣΙΟΥ ΘΡΗΣΚΕΥΤΙΚΑ
B ΓΥΜΝΑΣΙΟΥ ΘΡΗΣΚΕΥΤΙΚΑB ΓΥΜΝΑΣΙΟΥ ΘΡΗΣΚΕΥΤΙΚΑ
B ΓΥΜΝΑΣΙΟΥ ΘΡΗΣΚΕΥΤΙΚΑ
 
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูลกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
 
Ιδιωτικότητα και προσωπικά δεδομένα στο Διαδίκτυο
Ιδιωτικότητα και προσωπικά δεδομένα στο ΔιαδίκτυοΙδιωτικότητα και προσωπικά δεδομένα στο Διαδίκτυο
Ιδιωτικότητα και προσωπικά δεδομένα στο Διαδίκτυο
 
μηχανές και μεταμηχανές αναζήτησης
μηχανές και μεταμηχανές αναζήτησηςμηχανές και μεταμηχανές αναζήτησης
μηχανές και μεταμηχανές αναζήτησης
 
προβλήματα αλγόριθμοι-προγραμμα
προβλήματα   αλγόριθμοι-προγραμμαπροβλήματα   αλγόριθμοι-προγραμμα
προβλήματα αλγόριθμοι-προγραμμα
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
 
ECDL Internet Σημειώσεις 7/7
ECDL Internet Σημειώσεις 7/7ECDL Internet Σημειώσεις 7/7
ECDL Internet Σημειώσεις 7/7
 
Presentc6
Presentc6Presentc6
Presentc6
 
2.1 Η ΠΑΡΑΔΟΣΗ ΤΗΣ ΟΡΘΟΔΟΞΗΣ ΕΚΚΛΗΣΙΑΣ
2.1 Η ΠΑΡΑΔΟΣΗ ΤΗΣ ΟΡΘΟΔΟΞΗΣ ΕΚΚΛΗΣΙΑΣ2.1 Η ΠΑΡΑΔΟΣΗ ΤΗΣ ΟΡΘΟΔΟΞΗΣ ΕΚΚΛΗΣΙΑΣ
2.1 Η ΠΑΡΑΔΟΣΗ ΤΗΣ ΟΡΘΟΔΟΞΗΣ ΕΚΚΛΗΣΙΑΣ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
 
κεφάλαιο 6
κεφάλαιο 6κεφάλαιο 6
κεφάλαιο 6
 
Εισαγωγή στις αρχές της επιστήμης των ΗΥ κεφ 2 3 2
Εισαγωγή στις αρχές της επιστήμης των ΗΥ κεφ 2 3 2Εισαγωγή στις αρχές της επιστήμης των ΗΥ κεφ 2 3 2
Εισαγωγή στις αρχές της επιστήμης των ΗΥ κεφ 2 3 2
 
ΠΡΟΤΕΣΤΑΝΤΙΚΕΣ ΟΜΟΛΟΓΙΕΣ
ΠΡΟΤΕΣΤΑΝΤΙΚΕΣ ΟΜΟΛΟΓΙΕΣΠΡΟΤΕΣΤΑΝΤΙΚΕΣ ΟΜΟΛΟΓΙΕΣ
ΠΡΟΤΕΣΤΑΝΤΙΚΕΣ ΟΜΟΛΟΓΙΕΣ
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
 
ο διαδραστικός πίνακας στη σχολική τάξη
ο διαδραστικός πίνακας στη σχολική τάξηο διαδραστικός πίνακας στη σχολική τάξη
ο διαδραστικός πίνακας στη σχολική τάξη
 

SIPOC

Editor's Notes

  1. โครงสร้างของ SIPOC จะเริ่มที่ Customer บอก Requirement ให้กับทาง Process ซึ่ง Output ของ Process ก็จะต้องตรงตาม Requirement ตัว Process เองก็จะต้องบอก Requirement ให้กับทาง Supplier ส่ง Input มาให้ตรงตาม Requirement ด้วยเช่นเดียวกัน หลังจากนั้นวัตถุดิบก็จะเริ่มส่งมาจาก Supplier มาเป็น Input ที่ถูกป้อนเข้าไปใน Process ที่ถูกควบคุมอย่างเหมาะสมออกมาเป็น Output ที่ตรงตามความต้องการของ Customer ที่เป็นผู้รับเอา Output ไปใช้ SIPOC จะเป็น High Level Process Map ที่ทำให้มองเห็นภาพกว้างของการไหลของวัตถุดิบที่ส่งผ่านไปยัง Customer นั่นเอง
  2. Form ของ SIPOC
  3. ลองฝึกทำ SIPOC กับตัวอย่างการทำขนมปังที่มีส่วนผสมและมี 4 ขั้นตอน และมีรายละเอียดของแต่ละขั้นตอนตามที่แสดงในหน้านี้
  4. ตัวอย่าง SIPOC การทำขนมปังที่ทำเสร็จแล้ว เริ่มจากสมมุติตัวเราเองว่าเป็น Customer ที่มี Requirement อยู่ 4 อย่างคือ 1.เนื้อนิ่ม ออกหวานนิดหน่อย 2.ผิวเกรียม 3.สีน้ำตาลไหม้ 4.น้ำหนัก 3 ปอนด์ แล้วให้กำหนด Output ที่ตอบสนองความต้องการของ Customer โดย Output จะมีอยู่สองแบบคือ แบบต่อเนื่องเช่น น้ำหนัก กับแบบไม่ต่อเนื่องเช่น รสชาติที่ดี, ลักษณะของผิว หรือ สี (แบบต่อเนื่องจะมีประโยชน์มากกว่า ซึ่งจะกล่าวถึงต่อไปในบท ประเภทของข้อมูล) ตามด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอน และตามด้วยใส่ Input และ requirement ของแต่ละ Input ที่ในตัวอย่างยังเขียนไว้ไม่สมบูรณ์ให้ลองเขียนให้สมบูรณ์ดูนะครับ เช่น Temperature ต้องใช้กี่องศา โดย requirement มันจะมีเขียนอยู่ใน slide หน้าที่แล้ว และสุดท้ายก็จะเป็น Supplier ของแต่ละ Input
  5. ทีนี้ลองมาดู Output ที่จะออกมาจาก Process กันดูบ้าง เพื่อให้ง่ายจะไม่เอา Input ทั้งหมดมาให้เล่นแต่จะเอา Input แค่สามตัวคือ อุณหภูมิ ปริมาณแป้ง และ ปริมาณน้ำ ส่วน Output จะเอาแค่เรื่อง ลักษณะผิวของขนมปังที่ต้องเกรียมสีน้ำตาลไหม้ ในกรณีนี้ที่ทั้ง อุณหภูมิ ปริมาณแป้ง และ ปริมาณน้ำ อยู่กึ่งกลางของ Spec ลักษณะผิวที่ได้ก็จะอยู่กึ่งกลางของ Spec
  6. กรณีที่สอง ทั้ง อุณหภูมิ ปริมาณแป้ง อยู่กึ่งกลางของ Spec แต่ ปริมาณน้ำค่อนมาทางด้าน low ลักษณะผิวที่ได้ก็จะอยู่สูงกว่ากึ่งกลางของ Spec
  7. กรณีที่สาม อุณหภูมิ อยู่ตรงกลางของ Spec ปริมาณแป้ง ค่อนมาทางด้าน low ของ Spec แต่ปริมาณน้ำก็ค่อนมาทางด้าน high ลักษณะผิวที่ได้ก็จะมาทางด้าน low ของ Spec
  8. กรณีที่สี่ อุณหภูมิ อยู่ตรงกลางของ Spec ปริมาณแป้ง ค่อนมาทางด้าน low ของ Spec และปริมาณน้ำก็ค่อนมาทางด้าน low ลักษณะผิวที่ได้ก็จะสูงกว่ากึ่งกลาง Spec นิดหน่อย
  9. กรณีที่ห้า ในกรณีนี้ที่ อุณหภูมิ อยู่ตรงกลางของ Spec ปริมาณแป้ง อยู่ max ของ Spec และปริมาณน้ำก็อยู่ max ลักษณะผิวที่ได้ก็จะออกนอกด้าน low ของ Spec
  10. กรณีที่หก ในกรณีนี้ที่ อุณหภูมิ อยู่ค่อนไปด้าน high ของ Spec ปริมาณแป้งอยู่กึ่งกลางของ Spec และปริมาณน้ำอยู่ตรงค่า low ลักษณะผิวที่ได้ก็จะสูงกว่ากึ่งกลาง Spec ไปอยู่แถวค่า high
  11. จาก Input ที่เป็นอิสระต่อกัน และควบคุมโดยมันจะต้องได้ตามข้อกำหนด ถูกส่งเข้ามาใน Process ที่ต้องหาจุดที่ดีที่สุด และมันก็อยู่ภายใต้ Environment และเปลี่ยน input มาเป็น output ที่อยู่ช่วงที่ยอมรับได้ ถ้ามันอยู่นอกช่วงที่ยอมรับได้มันก็เป็น ปัญหา โดยแต่ละปัญหาจะมีลักษณะเฉพาะของมัน เช่น ไหม้เกินไป หรือ ยังไม่สุกพอ เป็นต้น
  12. โดยธรรมชาติของ Output จะมีความผันผวนอยู่เสมอจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความผันแปรของ Input และ Process ตามรูปจะเห็นได้ว่า ความผันผวนของ Output ยังอยู่ เพราะแยกแค่ของดีกับของเสีย ไม่ได้แก้ไขกระบวนการผลิตเลย และธรรมชาติของ Data จะวิ่งอยู่รอบๆ ค่ากลาง ถ้าอยากจะลดความผันผวนจะทำอย่างไรได้บ้าง? จะลดความผันผวนได้คุณจะต้องหาจุดที่ดีที่สุดของแต่ละ input และเราจะได้เรียนกันในบท DOE (Design Of Experiment) งานที่อยู่ขอบระหว่าง pass กับ fail คุณมีความมั่นใจกับมันแค่ไหน? ซึ่งคุณจะต้องทำการตรวจสอบระบบการวัดของคุณและคุณจะได้เรียนกันในบท MSA (Measurement System Analysis)
  13. การ Monitor ที่ดีจะต้องบันทึก defect ที่เกิดขึ้นด้วยว่ามันเกิดขึ้นจากสาเหตุใด ซึ่งเราจะได้เรียนกันในบท Data collection โดยจะต้องครอบคลุม Input ทั้งหมดที่ส่งผลต่อ Output ทีจะทำให้นึกถึงปั่จจัยทั้งหมดได้ง่ายก็ให้นึกถึง Man Machine Material Method และ Environment จากตัวอย่าง จะลดความผันผวนของ Output ลงได้มากโดยไปดูที่การทำงานของ Operator A และ Operator B โดยอาจจะไปดูการทำงานเทียบกับ SOPs (Standard Operation Procedures) ว่ามีความผันแปรในเรื่องใดบ้าง SOP เป็นเอกสารที่แนะนำวิธีการปฏิบัติงานต่างๆ เพื่อให้องค์กรมีการปฏิบัติงานอย่างถูกต้องและมีทิศทางเดียวกันทั้งหมด โดยระบุขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และสามารถปรับปรุงพัฒนาได้ตามความเหมาะสมของแต่ละแผนกและองค์กร เพื่อให้เกิดผลจริงที่ปฏิบัติได้
  14. Output ของ Process นึง จะไปเป็น Input ของอีก Process นึง นั่นหมายถึงมันจะส่งความผันผวนไปด้วยนั่นเอง
  15. การตรวจสอบทั้งหมด (100% inspection) เป็นแค่การแยกงานดีกับงานเสีย ออกจากกัน งานที่อยู่ตรง Upper กับ Low spec ถ้าเครื่องมือวัดแต่ละเครื่องค่าที่วัดได้มีความแตกต่างกันก็อาจจะส่งผลให้ส่งงานที่ out spec ออกไปจากกระบวนการก็ได้ แต่ไม่ได้ทำให้ ความผันแปร (Variation) ของ input หรือ ความผันแปรของ Process ลดลง ตามรูปจะเห็นได้ว่า ความผันผวนของ Output ยังอยู่ เพราะแยกแค่ของดีกับของเสีย ไม่ได้แก้ไขกระบวนการผลิตเลย
  16. "การออกแบบการทดลอง DOE (Design of Experiment)" เพื่อทำการวิเคราะห์ Input ตัวใดมีผลกระทบโดยตรง และหาจุดที่ดีที่สุดของ Process จากนั้นจึงทำการแก้ไขปรับปรุง ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาที่ต้นตออย่างแท้จริง จึงทำให้ความผันผวนของ Output ลดลง
  17. Input ก็จะมี Man Machine Material Method และ Environment หรือเรียกง่ายๆว่า 4M1E นั่นเอง โดย 6Sigma จะแทน 4M1E ว่า X และแทน Output ของ process ว่า Y และมันจะอยู่ในรูปแบบของสมการ Y = f(x) ความสัมพันธ์ของ X กับ Y คือ Y จะเปลี่ยนไปตาม X ยกตัวอย่างเช่น ถ้าพ่อครัวผสมน้ำตาลมากไปในขั้นตอนการ Mixing ก็จะทำให้ขนมปังที่ผ่านขั้นตอนสุดท้ายคือการ Baking แล้วจะมีรสหวานกว่าที่ควรจะเป็น เข้าใจได้ง่ายว่าถ้า X เปลี่ยน Y เปลี่ยนตามไปด้วยเสมอ และ Y ที่ไม่ได้ตาม Requirement ก็คือปัญหา ที่สาเหตุก็เกิดจากความผันแปรของ X นั่นเอง