SlideShare a Scribd company logo
องคความรู (body of knowledge)

- องคความรู (body of knowledge) หมายถึง ความรูที่อยูในศาสตร ไดแก ความคิดรวบยอด หลักการ
วิธีการ ที่อยูในตํารา อยูในหองสมุด ซึ่งอยูภายนอกตัวบุคคล ที่สั่งสมกันมาเพื่อใหคนรุนหลังไดเรียนรู
โครงสรางความรู (representations of knowledge) หมายถึง ความรูที่อยูภายในตัวบุคคล ที่เกิดจากการเรียนรู
ของบุคคลนั้นๆ ซึ่งไมไดลอกเลียนมาจากองคความรู แตผูเรียนตองสราง(construct) ขึ้นมาดวยตนเอง เปน
ความรูที่เกิดขึ้นใหม เมื่อพัฒนาโครงสรางความรูตอไปก็สามารถสรางผลงานเปนองคความรูใหคนอื่น
คนควาได (ธเนศ ขําเกิดT08@hotmail.com)
- องคความรู หมายถึง ความรูในการทําบางสิ่งบางอยาง (know how หรือ how to) ที่เปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ที่กิจกรรมอื่นๆ ไมสามารถกระทําได (ศรันย ชูเกียรติ. 2541: 14)
- องคความรู เปนความรูที่เกิดขึ้นตอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งอาจเกิดขึนจากการถายทอดจากประสบการณ หรือ
                                                                        ้
จากการวิเคราะหและสังเคราะหขอมูล โดยความรูเกิดขึนนั้นผูรับสามารถนําไปใชไดโดยตรง หรือสามารถ
                                                           ้
นํามาปรับใชได เพื่อใหเหมาะกับสถานการณหรืองานทีกระทําอยู (http://www.ago.go.th)
                                                             ่
- องคความรู เปนความรูที่เกิดขึ้นตอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยความรูที่เกิดขึ้นนั้นผูรับสามารถนําไปใชใน
ลักษณะตาง ๆ ได
     ลักษณะสําคัญขององคความรูกับองคกร
           1. มีลักษณะเปนนามธรรมมากกวารูปธรรม
           2. มักเกิดขึ้นกับเฉพาะบุคคลมักจะติดบุคคลไปมากกวาจะตกอยูที่องคกร
           3. ถือไดวาเปนสินทรัพยอยางหนึ่งที่ทรงคุณคาขององคกรชวยเพิ่มมูลคาใหกับองคกรทั้งใน
ระยะสั้นและระยะยาว
     แหลงกําเนิดขององคความรู
           1. ความรูที่ไดรับการถายทอดจากบุคคลอื่น
           2. ความรูเกิดจากประสบการณการทํางาน
           3. ความรูที่ไดจากการวิจัยทดลอง
           4. ความรูจากการประดิษฐคิดคนสิ่งใหม ๆ
           5. ความรูที่มีปรากฎอยูในแหลงความรูภายนอกองคกรและองคกรไดนํามาใช
     ประเภทขององคความรู แบงได เปน 2 ประเภท ดังนี้
          1. องคความรูที่สามารถอธิบายไดเปนองคความรูที่สามารถทําความเขาใจไดจากการฟง การ
อธิบาย การอาน และนําไปใชปฏิบัติ ซึ่งจะถูกจัดไวอยางมีแบบแผนมีโครงสรางและอธิบายกระบวนการ
วิธี ขั้นตอนที่สามารถนําไปใชได
          2. องคความรูที่ไมสามารถอธิบายไดหรืออธิบายไดยาก เปนองคความรูที่อธิบายไดยากหรือใน
บางครั้งไมสามารถอธิบายวาเกิดความรู เหลานั้นไดอยางไร ไมมีแบบแผน โครงสรางแนชัด มักเกิด
ขึ้นกับตัวบุคคล ผลของการถายทอดขึ้นอยูกับผูถายทอดและผูรับเปนสําคัญ
(กัมปนาท : ศรีเชื้อ www.loei2.net)

More Related Content

Similar to องค์ความรู้

ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ruttanaphareenoon
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
krupornpana55
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
sofia-m15
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
soh26
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
Benjarat Meechalat
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
Chuleekorn Rakchart
 

Similar to องค์ความรู้ (20)

ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
HRM 01 in Ed.
HRM 01 in Ed.HRM 01 in Ed.
HRM 01 in Ed.
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
SMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend: KM
SMEfriend: KM
 
Km` กพร
Km` กพรKm` กพร
Km` กพร
 
Km` กพร
Km` กพรKm` กพร
Km` กพร
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 

องค์ความรู้

  • 1. องคความรู (body of knowledge) - องคความรู (body of knowledge) หมายถึง ความรูที่อยูในศาสตร ไดแก ความคิดรวบยอด หลักการ วิธีการ ที่อยูในตํารา อยูในหองสมุด ซึ่งอยูภายนอกตัวบุคคล ที่สั่งสมกันมาเพื่อใหคนรุนหลังไดเรียนรู โครงสรางความรู (representations of knowledge) หมายถึง ความรูที่อยูภายในตัวบุคคล ที่เกิดจากการเรียนรู ของบุคคลนั้นๆ ซึ่งไมไดลอกเลียนมาจากองคความรู แตผูเรียนตองสราง(construct) ขึ้นมาดวยตนเอง เปน ความรูที่เกิดขึ้นใหม เมื่อพัฒนาโครงสรางความรูตอไปก็สามารถสรางผลงานเปนองคความรูใหคนอื่น คนควาได (ธเนศ ขําเกิดT08@hotmail.com) - องคความรู หมายถึง ความรูในการทําบางสิ่งบางอยาง (know how หรือ how to) ที่เปนไปอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ที่กิจกรรมอื่นๆ ไมสามารถกระทําได (ศรันย ชูเกียรติ. 2541: 14) - องคความรู เปนความรูที่เกิดขึ้นตอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งอาจเกิดขึนจากการถายทอดจากประสบการณ หรือ ้ จากการวิเคราะหและสังเคราะหขอมูล โดยความรูเกิดขึนนั้นผูรับสามารถนําไปใชไดโดยตรง หรือสามารถ ้ นํามาปรับใชได เพื่อใหเหมาะกับสถานการณหรืองานทีกระทําอยู (http://www.ago.go.th) ่ - องคความรู เปนความรูที่เกิดขึ้นตอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยความรูที่เกิดขึ้นนั้นผูรับสามารถนําไปใชใน ลักษณะตาง ๆ ได ลักษณะสําคัญขององคความรูกับองคกร 1. มีลักษณะเปนนามธรรมมากกวารูปธรรม 2. มักเกิดขึ้นกับเฉพาะบุคคลมักจะติดบุคคลไปมากกวาจะตกอยูที่องคกร 3. ถือไดวาเปนสินทรัพยอยางหนึ่งที่ทรงคุณคาขององคกรชวยเพิ่มมูลคาใหกับองคกรทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาว แหลงกําเนิดขององคความรู 1. ความรูที่ไดรับการถายทอดจากบุคคลอื่น 2. ความรูเกิดจากประสบการณการทํางาน 3. ความรูที่ไดจากการวิจัยทดลอง 4. ความรูจากการประดิษฐคิดคนสิ่งใหม ๆ 5. ความรูที่มีปรากฎอยูในแหลงความรูภายนอกองคกรและองคกรไดนํามาใช ประเภทขององคความรู แบงได เปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. องคความรูที่สามารถอธิบายไดเปนองคความรูที่สามารถทําความเขาใจไดจากการฟง การ อธิบาย การอาน และนําไปใชปฏิบัติ ซึ่งจะถูกจัดไวอยางมีแบบแผนมีโครงสรางและอธิบายกระบวนการ วิธี ขั้นตอนที่สามารถนําไปใชได 2. องคความรูที่ไมสามารถอธิบายไดหรืออธิบายไดยาก เปนองคความรูที่อธิบายไดยากหรือใน บางครั้งไมสามารถอธิบายวาเกิดความรู เหลานั้นไดอยางไร ไมมีแบบแผน โครงสรางแนชัด มักเกิด ขึ้นกับตัวบุคคล ผลของการถายทอดขึ้นอยูกับผูถายทอดและผูรับเปนสําคัญ (กัมปนาท : ศรีเชื้อ www.loei2.net)