SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
จะเกิดอะไรขึ้นตอการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลก
ภายใตความไมแนนอนของการรวมมือระหวางประเทศและการพัฒนาเทคโนโลยีของโลก
It is not the strongest
of the species that survives,
nor the most intelligent
that survives.
It is the one that is the
most adaptable
to change.
Charles Robert Darwin
(12 February 1809 – 19 April 1882)
page 4
ความฝันอันสูงสุดของผู้บริหาร คือความต้องการให้
องค์กรที่ตนบริหารสามารถที่จะรับมือกับความไม่แน่นอน
(Uncertainties) ต่างๆ และเติบโตได้ในทุกสภาวการณ์ที่เกิด
ขึ้นในอนาคต
แต่ปัจจุบันการบริหารจัดการของผู้บริหารใน
ประเทศไทยเรา ไม่ว่าองค์กรขนาดใหญ่หรือเล็ก ส่วนใหญ่
ยังยึดติดกับความส�ำเร็จขององค์กรในอดีต มุ่งตอบ
สนองกับความต้องการของลูกค้า วางแผนกลยุทธ์ใน
ระยะแค่ 3-5 ปี สามารถเข้าใจและรับมือกับความเสี่ยงใน
ระยะสั้นเป็นอย่างดี แต่ไม่ได้มองการณ์ไกลระยะยาว 10-20
ปี ไม่ได้ค�ำนึงถึงแรงขับเคลื่อน (Driving Forces) จาก
ความไม่แน่นอน และความเสี่ยงที่องค์กรอาจต้องเผชิญ
ในอนาคตในระยะไกลๆ ซึ่งวิวัฒนาการของความไม่แน่นอน
เหล่านี้เกิดขึ้นในอัตราเร่งที่เร็วมากใน2-3ทศวรรษที่ผ่าน
มา ไม่ว่าจะเป็นวิวัฒนาการทางด้านสังคม เทคโนโลยี
เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และทางด้านการเมือง มีหลาย
ตัวอย่างที่องค์กรไม่ว่าขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กต้องปิด
กิจการไป เพราะไม่สามารถปรับตัวเองให้ทันต่อ
วิวัฒนาการเหล่านั้น
ไม่มีใครสามารถหยั่งรู้อนาคตได้ แต่ผู้บริหารสามารถ
ปั้น (Shape) อนาคตขององค์กรของตนได้
การบริหารในยุคสมัยนี้ผู้บริหารควรมองไปข้างหน้า
มุ่งเน้นอนาคต (Future Focus) สถาบันฯ ไม่ได้หมายถึง
ความสามารถในการปรับตัว (Adapt) ให้เข้ากับอนาคตซึ่ง
จะเป็นการวิ่งตามอนาคต หรือเป็นผู้ตาม (Follower) แต่
สถาบันฯ หมายถึงผู้บริหารต้องสามารถคาดหมาย
(Anticipate) อนาคตที่จะเกิดขึ้น สามารถวางแผนเตรียม
ความพร้อมรับมือกับความเสี่ยง ความไม่แน่นอน ก่อนที่
อนาคตจะมาถึง ถึงจะเป็นผู้น�ำ (Leader) ในอุตสาหกรรม
ที่องค์กรของตนด�ำรงอยู่ โดยเป็นผู้ก�ำหนดแนวโน้มของ
ตลาดให้ผู้อื่นเดินตาม
การศึกษา Climate Change: Scenarios to 2020
นี้ สถาบันฯ ต้องการหาค�ำตอบกับค�ำถามที่ว่า“จะเกิดอะไร
ขึ้นต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลก ในปี 2020” โดย
ได้น�ำ แนวโน้ม ความไม่แน่นอนทั้งเหตุการณ์ทางด้านสังคม
เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และทางด้านการเมือง
มาสร้างภาพเหตุการณ์จ�ำลองอนาคตเพื่อหาค�ำตอบ
จุดมุ่งหมายหลักไม่ใช่เป็นการคาดเดาหรือคาดหวัง
อนาคตว่าจะเกิดภาพดังที่สร้าง แต่เป็นการสร้างภาพ
เหตุการณ์จ�ำลองอนาคตที่อาจจะเกิดขึ้นได้ (Plausible)
ซึ่งจะเกิดผลตามที่ต้องการ หากสามารถช่วยสะท้อนให้เรา
เห็นถึงสิ่งที่อาจเกิดขึ้นได้ โดยที่เราไม่เคยคาดคิดมาก่อน
การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเป็นแรงขับเคลื่อนหนึ่งที่
มีผลกระทบสูงต่อองค์กรทุกประเภทและทุกขนาด และเป็น
ปัจจัยหลักที่ท�ำให้เกิดแนวโน้มใหญ่ทางธุรกิจ (Business
Mega-Trend) ที่ก�ำลังมาแรงในเรื่องของความสามารถ
อยู่อย่างยั่งยืน (Sustainability) การมองระยะยาวถึงปี
2020 ยังท�ำให้เราได้พิจารณาถึง Forces ที่เราไม่ได้ค�ำนึง
ถึงและเฝ้าระวังอยู่ ท�ำให้องค์กรไม่เพียงแค่สร้างความ
พร้อมในการรับมือกับความไม่แน่นอนของอนาคตที่จะเกิด
ขึ้น แต่ยังสามารถด�ำเนินการในเชิงรุกที่จะปั้นอนาคตที่
อยากจะให้เกิดและรุกลงทุนล่วงหน้าได้
ภาพเหตุการณ์จ�ำลองอนาคต (Scenario Planning)
ซึ่งเป็นเครื่องมือในการบริหารอนาคต (Future Manage-
ment) ที่น�ำเสนอนี้ เป็นการสร้างภาพเหตุการณ์จ�ำลอง
อนาคต 4 เหตุการณ์ที่แตกต่างกันอย่างมาก เป็น
เหตุการณ์ที่ท้าทาย แต่อาจจะเกิดขึ้นได้ในสภาวะแวดล้อม
ระหว่างเวลาจากปัจจุบันถึงปี 2020 ภาพทั้งสี่นี้สร้างภาย
ใต้ความไม่แน่นอนของการร่วมมือระหว่างประเทศในการ
แก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลกและ
การพัฒนาเทคโนโลยี โดยเฉพาะทางด้านพลังงาน
ในการศึกษาภาพเหตุการณ์จ�ำลองเหล่านี้ ท่านผู้บริหาร
ควรจะถามตนเองว่า
•	โลกรูปแบบไหนที่องค์กรของท่านอยากจะอยู่
•	อะไรที่ท่านสามารถท�ำ เพื่อให้เกิดโลกในรูปแบบนั้นๆ
•	ในโลกแต่ละรูปแบบ จะมีนัยและผลกระทบอะไรกับองค์กร
ของท่าน
•	อะไรที่ท่านต้องท�ำเพื่อให้องค์กรของท่านสามารถ
เติบโตได้ในโลกทุกรูปแบบ
สถาบันฯ หวังอย่างยิ่งว่า ท่านผู้บริหารจะพบว่าการ
สร้างภาพเหตุการณ์จ�ำลองอนาคต (Scenario Plan-
ning) จะเป็นเครื่องมือหนึ่งที่สามารถช่วยให้ท่านน�ำพา
องค์กรของท่านให้เจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ตลอดไป
ดร.สันติ กนกธนาพร
ผู้อ�ำนวยการสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
ไม่มีใครสามารถหยั่งรู้อนาคตได้
แต่ผู้บริหารสามารถปั้น (Shape)
อนาคตขององค์กรของตนได้
Forward
For the gods perceive things
in the future, ordinary people
perceive things in the present
but the wise man
perceives things
about to happen
Philostratus
(Greek sophist of the Roman imperial period.)
page 6
การผลิตหุ่นยนต์เชิงปริมาณมา
เพื่อจ�ำหน่ายหรือเกิดเป็น
อุตสาหกรรมผลิตหุ่นยนต์ใน
ประเทศไทย
ถ้ารัฐบาลให้ความส�ำคัญในการ
พัฒนาความสามารถการวิจัย
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
และมีการด�ำเนินการอย่างจริงจัง
ก็จะช่วยให้บริษัทต่างๆ มาตั้ง
ส�ำนักงานวิจัยในประเทศไทยเพิ่ม
ขึ้นและสามารถก้าวเป็นศูนย์การ
เรียนรู้ในภูมิภาค
งานวิจัยของเรายังขาดความ
สามารถในการมองอนาคตซึ่ง
เป็นเรื่องส�ำคัญมาก
Smart
People’s
Views
นายพุฒิพงษ์ ปุณณกันต์
อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา
ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม
ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล
รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ
นายครรชิต พุทธโกษา
ที่ปรึกษาด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยจะต้องมองถึง
กฎระเบียบ ข้อจ�ำกัดทางธุรกิจในอาเซียนทั้งหมดที่เป็น
เงื่อนไขหรือ Barrier ต้องเร่งศึกษาและเตรียมความพร้อม
เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากการเปิดตลาด AEC รวมทั้ง
การพิจารณาถึงองค์ประกอบที่เป็นปัจจัยภายนอก 2-3
เรื่องที่ยังไม่สามารถบริหารจัดการได้ ได้แก่ 1) ปัจจัย
ความเสี่ยงจากทั่วโลก 2) ค่าเงินบาท และ 3) การเปิด
ประเทศ เปิดเสรี ซึ่งเมื่อมีผู้ลงทุนเข้ามามาก เงินไหลเข้า
ตลอด จะเกิดเงินเฟ้อ และช่องว่างระหว่างคนจนคนรวย
เพิ่มมากขึ้นหรือไม่ ดังนั้นอาจมีการท�ำ Scenario
แผนการรองรับ และ Best Practice ขึ้น
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาการพัฒนาหุ่นยนต์และระบบ
อัตโนมัติมีอยู่ตลอด แต่เป็นลักษณะตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้าเฉพาะราย เช่น หุ่นยนต์ในการท�ำความ
สะอาดช่องแอร์ แต่อยากจะเห็นมากกว่านี้ คือ การผลิต
หุ่นยนต์เชิงปริมาณมาเพื่อจ�ำหน่ายหรือเกิดเป็น
อุตสาหกรรมผลิตหุ่นยนต์ในประเทศไทย
อนาคตของภาควิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยคือ
การพัฒนาความสามารถการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีให้ก้าวทันมาเลเซียที่นับวันจะห่างออกไป ในขณะ
ที่สิงคโปร์เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาได้แก่ มาเลเซีย ไทย
และเวียดนาม ดังนั้น ถ้ารัฐบาลให้ความส�ำคัญในการ
พัฒนาความสามารถการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีและมีการด�ำเนินงานอย่างจริงจัง ก็จะช่วยให้
บริษัทต่างๆ มาตั้งส�ำนักงานวิจัยในประเทศไทยเพิ่มขึ้นและ
สามารถก้าวเป็นศูนย์การเรียนรู้ในภูมิภาค
แนวโน้มใหญ่ที่ไม่สามารถหยุดยั้งได้ในภาคการวิจัยของ
ไทยและจะมีผลกระทบต่อภาคการวิจัยคือโลกไร้พรมแดน
เช่น การรวมกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน จะมีผลกระทบมาก
กับวงการนักวิจัย และการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของ
เทคโนโลยี ท�ำให้หน่วยงานวิจัยไม่สามารถมองภาพอนาคต
ของทิศทางการวิจัยได้ชัดเจน เช่น Biodiesel มีการส่ง
เสริมการปลูกปาล์มน�้ำมัน แต่หากในอนาคตเครื่องยนต์ไม่
จ�ำเป็นต้องใช้น�้ำมัน จะท�ำอย่างไรกับชาวสวนปาล์มที่ก�ำลัง
เริ่มปลูกปาล์ม ซึ่งใช้ระยะเวลา 7–8 ปี และเมื่อถึงเวลาเก็บ
เกี่ยวแล้วผลผลิตไม่สามารถจ�ำหน่ายได้จะท�ำอย่างไร
อยากให้มีการมองอนาคตในจุดนี้ งานวิจัยของเรายังขาด
ความสามารถในการมองอนาคตซึ่งเป็นเรื่องส�ำคัญมาก
In this warp-speed world it is
no longer sufficient to learn
from experience
we must
learn from
the future
Wolfgang Grulke
(Chief Executive of Future World)
page 8
และต่อมาในเดือนธันวาคม ปี 2540 (ค.ศ.1997)
ประเทศต่างๆ ได้ประชุมและร่วมลงนามในพิธีสารเกียวโต
(Kyoto Protocol) ซึ่งก�ำหนดให้ประเทศอุตสาหกรรมใน
ภาคผนวกที่ 1 (Annex 1) รวม 42 ประเทศ* ต้องด�ำเนิน
การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Green House Gas:
GHG) ในช่วงปี พ.ศ. 2551-2555 ให้อยู่ในระดับต�่ำกว่า
ปริมาณการปล่อยในปี 2533 หรือลดลงโดยเฉลี่ยร้อย
ละ 5.2
ทั้งนี้ ก๊าซเรือนกระจก (Green House Gas:
GHG) ประกอบด้วยก๊าซต่างๆ รวม 6 ชนิด ได้แก่
• คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
• มีเทน (CH4)
• ไนตรัสออกไซด์ (N2O)
• ไฮโดรฟลูออคาร์บอน (HFCs)
• เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFCs)
• ซัลเฟอร์เฮกซาฟลูโอไรด์ (SF6)
* ประกอบด้วย ออสเตรเลีย ออสเตรีย เบรารุส เบลเยี่ยม บุลกาเรีย แคนาดา
โครเอเชีย สาธารณรัฐเชค เดนมาร์ค เอสโทเนีย สหภาพยุโรป ฟินแลนด์
ฝรั่งเศส เยอรมัน กรีซ ฮังการี ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ญี่ปุ่น ลัตเวีย
ลิกเตนสไตน์ ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลต้า โมนาโค เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์
นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส โรมาเนีย สหพันธรัฐรัสเซีย สโลวาเกีย สโลวา
เนีย สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี ยูเครน สหราชอาณาจักร และ
สหรัฐอเมริกา
ภาพจ�ำลองเหตุการณ์
จะเกิดอะไรขึ้น
ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
อากาศโลก
ภายใต้ความไม่แน่นอนของ
การร่วมมือระหว่างประเทศ
และการพัฒนา
เทคโนโลยีของโลก ในช่วงศตวรรษที่ 20 ความถี่และความรุนแรงของ
ภัยธรรมชาติส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศทั้ง
ในระดับประเทศ ภูมิภาคและทั่วโลก และส่งผลกระทบต่อการ
ด�ำเนินการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และ
การเมืองในบริบทของโลกและของแต่ละประเทศ ซึ่งเป็นผล
สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ของ
ฤดูกาล ลมฟ้าอากาศ ระดับน�้ำทะเล แหล่งน�้ำ ความแห้ง
แล้ง พื้นที่น�้ำท่วมขัง ความหลากหลายทางชีวภาพและ
ระบบนิเวศต่างๆ ที่เป็นผลมาจากการปล่อยปริมาณก๊าซ
เรือนกระจก (Green House Gas: GHG) สู่ชั้น
บรรยากาศโลกและเป็นสาเหตุท�ำให้อุณหภูมิของโลกปรับ
สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกท�ำให้เกิด
ปรากฏการณ์หลายประการที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ
ความเป็นอยู่ของมนุษย์ เช่น การเกิดพายุและน�้ำท่วมอย่าง
รุนแรง จากปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญา การเกิด
พายุไต้ฝุ่นทอร์นาโด เป็นต้น
ข้อมูลการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ ในปี 2001
พยากรณ์ว่า อุณหภูมิของโลกจะเพิ่มขึ้นประมาณ 1.4
– 5.8 องศาเซลเซียสก่อนปี 2100 และระดับน�้ำทะเลจะเพิ่ม
ขึ้นอย่างน้อย 0.09 เมตร – 0.88 เมตร ทั้งนี้ปัจจัย
ส�ำคัญที่ท�ำให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น คือการเผาไหม้เชื้อ
เพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel) เช่น น�้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซ
ธรรมชาติ รวมถึงการตัดไม้ท�ำลายป่า และการเพาะเลี้ยง
ปศุสัตว์ เป็นต้น
การแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศโลก
ประชาคมโลกตระหนักถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลง
สภาวะภูมิอากาศของโลกและด�ำเนินการแก้ไขปัญหาและ
สาเหตุของปัญหาอย่างจริงจังตั้งแต่ปี 2537 (ค.ศ.
1994) เป็นต้นมา โดยประเทศสมาชิกองค์กรสหประชาชาติ
รวม 195 ประเทศได้ร่วมลงมติเห็นชอบกรอบอนุสัญญา
สหประชาชาติในการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United
Nations Framework Convention on Climate
Change: UNFCCC) เพื่อด�ำเนินการแก้ไขปัญหาการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก หรือโลกร้อน (Global
Warming)
Introduction
สาระส�ำคัญ
ภาพเหตุการณ์
จ�ำลอง
อนาคต
page 10
ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประเทศสหรัฐอเมริกามีการปล่อยปริมาณก๊าซเรือน
กระจกประมาณ 1 ใน 4 ของปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่
ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศของโลก และมีพันธกิจต้องลด
ปริมาณก๊าซเรือนกระจกตามพิธีสารเกียวโต (Kyoto
Protocol) แต่ได้เพิกถอนสัตยาบันพิธีสารเกียวโตในสมัย
รัฐบาลจอร์จ บุช โดยให้เหตุผลว่า การด�ำเนินมาตรการ
ลดปริมาณ GHG ให้ได้ตามเป้าหมาย จะส่งผลกระทบต่อ
ภาระการเงินของคนอเมริกันอย่างมาก และไม่ยุติธรรมที่
ประเทศก�ำลังพัฒนายังมีการตัดต้นไม้ท�ำลายป่าเป็น
จ�ำนวนมาก
ในการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่า
ด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 16 (Cop-
16) เมืองแคนคูน ประเทศเม็กซิโก สหรัฐอเมริกาสนับสนุน
การจัดตั้งกองทุนสีเขียว (Green Fund) เพื่อการแก้ไข
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและใน
ปีงบประมาณ 2553 ได้จัดสรรงบประมาณตั้งกองทุน
รวมเพื่อแก้ไขสภาพภูมิอากาศจ�ำนวน 375 พันล้าน
เหรียญสหรัฐเพื่อด�ำเนินกิจกรรมส�ำคัญ เช่น
การศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสะอาดเพื่อเร่ง
การพัฒนาอย่างยั่งยืนและการแปลงพลังงานสะอาดใน
ประเทศก�ำลังพัฒนาในระยะยาว 300 ล้านเหรียญสหรัฐ
โครงการน�ำร่องเพื่อการกลับคืนสู่ปกติสภาพภูมิ
อากาศในประเทศที่ต้องการตอบสนองต่อผลกระทบของ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
จ�ำนวน 55 ล้านเหรียญสหรัฐ
โครงการบริการทางการเงินส�ำหรับเงินลงทุนใน
การก�ำกับดูแลป่าไม้และการพัฒนาศักยภาพสถาบันรวม
ทั้งมาตรการเพื่อลดการตัดไม้ท�ำลายป่าจ�ำนวน 20 ล้าน
เหรียญสหรัฐ
การจัดสรรเงินสนับสนุนตามกรอบอนุสัญญา
สหประชาชาติกองทุนสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (UN-
FCCC) ให้ประเทศก�ำลังพัฒนาเพื่อการวางแผนและใช้
มาตรการเร่งด่วนจ�ำนวน 20 ล้านเหรียญสหรัฐ
การด�ำเนินการเป็นหุ้นส่วนจัดการป่าไม้ (Carbon
Facility) และสนับสนุนประเทศก�ำลังพัฒนาลดก๊าซเรือน
กระจกจากการท�ำลายป่าและความเสื่อมโทรมของป่า
(Reducing Emission from Deforestation and Deg-
radation in Developing Country : REDD) จ�ำนวน
10 ล้านเหรียญสหรัฐ
ประเทศจีน
ประเทศจีนเริ่มมีบทบาทน�ำมากขึ้นในการจัดการ
ปัญหาก๊าซเรือนกระจกและการแก้ไขปัญหาสภาพการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทั้งในฐานะผู้ขายคาร์บอนเครดิตให้
กับประเทศตามภาคผนวกที่1 ซึ่งมีการด�ำเนินโครงการ
CDM เป็นจ�ำนวนมากและในฐานะผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจก
สู่ชั้นบรรยากาศของโลกมากเป็นอันดับที่ 2 รองจาก
สหรัฐอเมริกาและอาจก้าวเป็นอันดับหนึ่งในระยะเวลาอัน
ใกล้ ซึ่งเป็นผลมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ
และการขยายตัวของชุมชนเมือง ซึ่งท�ำให้มีความต้องการ
ใช้พลังงานฟอสซิลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
รัฐบาลจีนประกาศว่าภายในสิ้นปี 2553 จะลดการ
ใช้พลังงานลง 20 เปอร์เซ็นต์ ระหว่างปี 2549-2553
ซึ่งภายใต้มาตรการนี้ท�ำให้จีนสามารถลดปริมาณการ
ปล่อยก๊าซคาร์บอนได้ถึง 1,500 ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์ และได้ให้ค�ำมั่นว่าจะลดการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนต่อหน่วยของจีดีพีที่ประมาณ 40-45 เปอร์เซ็นต์
จากปี พ.ศ.2548 ให้ได้ก่อนปี พ.ศ.2563 และจะพึ่งกลไก
ตลาดเพื่อควบคุมปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนในช่วง
เวลาดังกล่าว
อย่างไรก็ตามนักสังเกตการณ์มีข้อสังเกตว่า ถ้า
สหรัฐอเมริกาและจีนสามารถบรรลุข้อตกลงร่วมกันเกี่ยว
กับปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ และทั้งสอง
ประเทศให้ความร่วมมือในการก�ำหนดนโยบายและข้อปฏิบัติ
ร่วมกันต่อไปจะน�ำโลกไปสู่การแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศโลกอย่างเป็นรูปธรรม
ประชาคมยุโรป
คณะกรรมาธิการยุโรปเปิดตัวโครงการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศยุโรป (European Climate Change
Programme: ECCP) ในปี 2000 โดยท�ำงานร่วมกับ
องค์กรด้านสิ่งแวดล้อมและผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ โดยระบุ
มาตรการประหยัดค่าใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทั้งนี้ ประชาคมยุโรปมีความมุ่งมั่น
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวมอย่างน้อย 20%
ต�่ำกว่าปี 1990 และมีความมุ่งมั่นที่จะเพิ่มขึ้นถึง 30% ใน
ปี 2020 หากประเทศอุตสาหกรรมอื่นๆ เห็นชอบกับข้อ
ตกลงที่จะท�ำเช่นเดียวกัน โดยมีเป้าหมายการด�ำเนินงานใน
ปี 2020 ดังนี้
เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้สูงขึ้นถึง 20%
เพิ่มส่วนแบ่งค่าเฉลี่ยของพลังงานหมุนเวียนเทียบ
กับการใช้พลังงานทั่วทั้งสหภาพยุโรปให้ได้ 20% ของการ
ใช้พลังงานทั้งหมด
เพิ่มการใช้พลังงานในสาขาการขนส่งโดยใช้เชื้อ
เพลิงชีวภาพให้ได้ 10% ของการใช้พลังงานในสาขาขนส่ง
ขยายขอบเขต Emissions Trading System (ETS)
ให้ครอบคลุมทุกอุตสาหกรรมที่เป็นผู้ปล่อยหลัก
(Emitters) ส�ำคัญมากขึ้นและแนะน�ำการท�ำในสาขาที่ไม่
ครอบคลุมโดย ETS เช่นการก่อสร้างอาคาร การขนส่ง
ทางการเกษตรและของเสีย
มาตรการอื่นๆ เช่น การพัฒนาเทคโนโลยีการจับ
ก๊าซคาร์บอนและการเก็บรักษา เพิ่มและลด CO2 จาก
รถยนต์ และการพัฒนามาตรฐานคุณภาพน�้ำมันเชื้อเพลิง
เป็นต้น
บทบาทของประเทศ
พัฒนาแล้วในกลุ่ม
ภาคผนวกที่ 1 ใน
การลดปริมาณก๊าซ
เรือนกระจก
ประเทศออสเตรเลีย
ออสเตรเลียเป็นประเทศหนึ่งที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตั้งแต่
ต้นศตวรรษที่ 21 รัฐบาลและประชาชนให้ความสนใจกับปัญหาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพิ่มขึ้น
เป็นล�ำดับ โดยพบว่า ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและพื้นที่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปออสเตรเลียมีปริมาณน�้ำ
ฝนเพิ่มขึ้นเล็กน้อยและมีแนวโน้มน้อยลงหรือไม่มีเลย ดังนั้นจึงมีการรณรงค์ต่อต้านการท�ำเหมืองถ่านหินใหม่และโรง
ไฟฟ้าพลังงานถ่านหิน
รัฐบาลออสเตรเลียด�ำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการส่งเสริมการ
ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การปรับสภาพชุมชน โรงงานและที่อยู่อาศัยให้เข้ากับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป
การด�ำเนินการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกสู่ชั้นบรรยากาศโลก รัฐบาลออสเตรเลียตั้ง
สมมุติฐานว่าถ้าไม่มีการด�ำเนินมาตรการใดๆ ก่อนปี 2020
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอาจสูงกว่าปริมาณ
ก๊าซคาร์บอนในปี 2000 ประมาณร้อยละ 20 ดังนั้น เพื่อ
ให้บรรลุเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้
ร้อยละ 25 รัฐบาลจึงจัดวาระการลดก๊าซคาร์บอนขึ้น
(The Carbon Pollution Reduction Scheme: CPRS)
และเพิ่มเงินลงทุน 5 พันล้านดอลลาร์ในการพัฒนา
เทคโนโลยีพลังงานสะอาด การวิจัยและพัฒนาพลังงาน
หมุนเวียน รวมทั้งมาตรการจัดการพลังงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ในด้านครัวเรือนสนับสนุนให้ประชาชนเปลี่ยนวิถี
ด�ำเนินชีวิต ตัวอย่างเช่น การจัดโปรแกรมส่งเสริมการใช้
พลังงานทดแทน (Programs and Rebates) หรือ Bonus
Scheme (REBS) โดยมีสิทธิ์ได้รับส่วนลด1,000 เหรียญ
ออสเตรเลีย ส�ำหรับการติดตั้งระบบน�้ำร้อนพลังงานแสง
อาทิตย์หรือได้รับส่วนลด 600 เหรียญออสเตรเลีย
ส�ำหรับการติดตั้งระบบปั๊มความร้อน
REDD เป็นกลไกใหม่ที่เสนอเพื่อการแก้ไขปัญหาโลกร้อนเนื่องจากมีข้อมูลว่า
ก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากการท�ำลายป่าและการท�ำให้ป่าเสื่อมโทรม
ในประเทศก�ำลังพัฒนาคิดเป็นประมาณร้อยละ 20 ของก๊าซเรือนกระจก
ทั้งหมดที่ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศโลก
page 12
จะเกิดอะไรขึ้นต่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลกภายใต้ความไม่แน่นอนของความร่วมมือระหว่างประเทศและ
การพัฒนาเทคโนโลยีของโลก
ภายใต้ภาพจ�ำลองเหตุการณ์อนาคต “จะเกิดอะไรขึ้นต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกในปี 2563 (What will
happen with the climate change (issue) in 2020?)” ที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานของแกนปัจจัยหลัก 2 แกน คือ แกน
ปัจจัยความร่วมมือของนานาประเทศที่เป็นลักษณะความร่วมมือเป็นไปในทิศทางเดียวกัน (Aligned) หรือเป็นลักษณะ
ความร่วมมือที่ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน (Unaligned) และแกนปัจจัยการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมบนพื้นฐาน
การใช้พลังงานจาก Fossil Fuel / Carbon-Based Fuel หรือ การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมบนพื้นฐานการ
เพิ่มปริมาณการใช้พลังงานทดแทน (Renewable Fuel / Non Carbon-Based Fuel) เพื่อทดแทนแหล่งพลังงาน
จากฟอสซิล
Four Scenarios on
“What will happen with
Climate Change
in 2020?”
page 14
Scenario1: Balancing World
•	 พฤติกรรมผู้บริโภคมุ่งช่วยการแก้ไขปัญหาการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (climate
change) และพยายามเพิ่มการใช้พลังงานทดแทน
(Renewable Energy) แม้ว่าจ�ำนวนประชากรโลก
เพิ่มขึ้นแต่ระดับความรู้ความสามารถของมนุษย์สูง
ขึ้นท�ำให้สามารถสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีอย่าง
ต่อเนื่อง
•	 ประเทศต่างๆ ให้ความร่วมมือในการลดปริมาณก๊าซ
เรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศโลก เคารพกติกาของ
องค์กรระหว่างประเทศและน�ำไปปฏิบัติ รวมทั้งมีการ
แลกเปลี่ยน เรียนรู้ การพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยี
ที่สะอาด (Clean Technology) เพื่อบรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาสู่ความยั่งยืน (Sustainable
Development) ในขณะเดียวกันการย้ายถิ่นฐาน
ของประชากรโลกแบบไร้พรมแดน และประชาคมโลก
ก้าวเป็นสังคมเดียวกัน (One World One Com-
munity)
•	 ความส�ำเร็จในการพัฒนาพลังงานทดแทนท�ำให้การ
ใช้พลังงานฟอสซิลลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งท�ำให้
ปัญหาโลกร้อนเริ่มผ่อนคลายมากขึ้น และประเทศ
ต่างๆ ส่วนใหญ่ด�ำเนินนโยบายการพัฒนาประเทศ
อย่างยั่งยืน
Scenario2: Uniting World
•	 ประชาคมโลกตระหนักถึงปัญหาโลกร้อน ท�ำให้
องค์กรระหว่างประเทศสามารถก�ำหนดกฎระเบียบ
ประชาคมโลกเพื่อลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้น
บรรยากาศโลก และประเทศต่างๆ น�ำไปปฏิบัติเพื่อ
ปกป้องระบบนิเวศของโลก มีความร่วมมือในการ
พัฒนาเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคมและการเตือนภัย
ธรรมชาติ โดยสหรัฐและประเทศจีนยอมรับข้อ
ตกลง Climate Change Scheme ในการลด
ปริมาณก๊าซเรือนกระจก (GHG)
•	 การพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมมุ่งการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานฟอสซิลควบคู่การ
พัฒนาพลังงานทดแทนที่ยังมีต้นทุนการพัฒนาสูง
ท�ำให้ประเทศก�ำลังพัฒนาต้องพึ่งพาพลังงาน
ฟอสซิลเป็นหลัก
Scenario3: Bleeding World
•	 โลกไม่ประสบความส�ำเร็จในการแก้ปัญหาโลกร้อน
•	 ประเทศในกลุ่ม Organization for Economic
Co-operation and Development : OECD ไม่
ยอมรับบทบาทขององค์กรระหว่างประเทศ และข้อ
จ�ำกัดของแต่ละประเทศด้านรายได้ การศึกษา
เทคโนโลยี และการเมือง รวมทั้งปัญหาวิกฤติ
เศรษฐกิจ การกระจายรายได้ท�ำให้ประเทศต่างๆ ยัง
ไม่สามารถตกลงผลประโยชน์ร่วมกันได้ ท�ำให้ตลาด
คาร์บอนเครดิตล้มเหลว
•	 การพัฒนาวิศวกรรม เทคโนโลยีมุ่งเพิ่ม
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานฟอสซิล ในขณะที่การ
พัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนเกิดขึ้นไม่มากนัก ท�ำให้
ราคาน�้ำมันปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เศรษฐกิจ
เผชิญภาวะถดถอยยาวนาน ท�ำให้อุณหภูมิโลกสูง
ขึ้นอย่างต่อเนื่อง
Scenario4: Scrambling World
•	 เหตุปัจจัยการเติบโตของเศรษฐกิจโลกมีความแตก
ต่างกันในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ท�ำให้ความ
ร่วมมือเกิดยากขึ้น และท�ำให้ UNFCCC ประสบ
ความล้มเหลวในการผลักดันให้ประเทศต่างๆ
ร่วมมือในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก แต่ผู้
บริโภคโดยทั่วไปตระหนักถึงผลกระทบที่จะตามมาและ
มุ่งการบริโภคอย่างยั่งยืน
•	 กลุ่มประเทศ OECD ประสบความส�ำเร็จในการ
พัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนอย่างมากแต่ต้นทุน
การพัฒนาสูงท�ำให้ประเทศก�ำลังพัฒนาได้รับ
ประโยชน์น้อย ท�ำให้อุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ
page 16
การพัฒนาเทคโนโลยีบนฐาน Renewable Energy และ
ประชาคมโลกเกิดความร่วมมือการพัฒนาและแก้ไขปัญหา
สภาวะโลกร้อน (Aligned) มีประเด็นเหตุการณ์และ
วิวัฒนาการต่างๆ ดังนี้
เหตุการณ์ส�ำคัญ ภายใต้เหตุการณ์ Balancing
World Scenario ประกอบด้วย
•	 ผู้บริโภคต้องการให้บริษัทและผู้ประกอบการ
อุตสาหกรรมแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมเพิ่ม
มากขึ้น
•	 มีนวัตกรรมด้านพลังงานทดแทนเกิดขึ้นมากและแพร่
กระจายไปทั่วโลก
•	 ต้นทุนการพัฒนาพลังงานทดแทนมีราคาต�่ำและ
สามารถแข่งขันได้กับพลังงานฟอสซิล
•	 ประเทศต่างๆ ให้ความร่วมมือในการพัฒนาอย่าง
ยั่งยืนและสนับสนุนการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก
สู่ชั้นบรรยากาศโลก
•	 เศรษฐกิจโลกเติบโตอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าราคาน�้ำมัน
ในตลาดโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะแรกและมี
เสถียรภาพหลังจากมีการพัฒนาแหล่งพลังงาน
ทดแทนมากขึ้น
•	 เศรษฐกิจไทยขยายตัวสูงตามเศรษฐกิจโลก
•	 กฎระเบียบการค้าโลกมีความชัดเจน
•	 อุณหภูมิโลกมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากมีการใช้
พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น
ทั้งนี้ วิวัฒนาการของเหตุการณ์ภายใต้ Balancing
World Scenario มีรายละเอียดล�ำดับของเหตุการณ์
ส�ำคัญต่างๆ ดังนี้
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและประชากร
(Population and Social Development)
เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013
•	 จ�ำนวนประชากรโลกมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
ในขณะที่ด้านพฤติกรรมผู้บริโภคเริ่มเปลี่ยนแปลง
อย่างชัดเจนและมุ่งสู่การบริโภคอย่างยั่งยืนโดยให้
ความส�ำคัญกับผลิตภัณฑ์และบริการที่ตอบสนอง
ต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
•	 การสื่อสารแบบไร้พรมแดน และอินเทอร์เน็ตมี
อิทธิพลอย่างมากต่อการก�ำหนดพฤติกรรมของ
ผู้บริโภคและการเลือก Lifestyle ของคนในเมือง
เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016
•	 ความเสี่ยงจากโรคระบาดสายพันธุ์ใหม่และภัย
ธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้นท�ำให้มีการเฝ้าระวังและให้
ความส�ำคัญกับมาตรการป้องกันภัยพิบัติ
ธรรมชาติและมาตรการป้องกันโรคระบาดต่างๆ ที่
คุกคามต่อสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ของ
มนุษย์ เช่น ไข้หวัดนก ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ รวม
ทั้งโรควัณโรคและมาเลเรีย ซึ่งมีความจ�ำเป็นต้อง
ด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่องในประเทศ
ที่พัฒนาแล้ว
•	 ระบบสาธารณสุขของแต่ละประเทศได้รับการพัฒนา
เป็นระบบการประกันสังคมที่มีระบบสาธารณสุข
พื้นฐานเข้มแข็งและความมั่นคง โดยเป็นส่วนหนึ่ง
ของระบบการช่วยเหลือและคุ้มครองขั้นพื้นฐาน
ของสังคม (Social Safety Net)
เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020
•	 ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และนัก
วิชาการอิสระมีบทบาทในการจัดการ เฝ้าระวังและ
การจัดการสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
•	 ความขัดแย้งจากปัญหาเชื้อชาติ ศาสนา ลัทธิ และ
ความแตกต่างในระดับรายได้ระหว่างประเทศที่
พัฒนาแล้วกับประเทศก�ำลังพัฒนา และความแตก
ต่างของรายได้ประชากรในเขตเมืองและชนบทที่
ขยายกว้างขึ้น ได้น�ำไปสู่ปัญหาความไม่สงบในสังคม
ปัญหาการเมืองและนโยบายการพัฒนาประเทศ
•	 การเติบโตของประชากรโลกเริ่มเข้าสู่ภาวะคงที่และมี
ขนาดที่พอเหมาะกับระบบนิเวศของโลก
•	 การเคลื่อนย้ายของประชากรในระดับภูมิภาคต่างๆ
เข้าสู่ระบบการเคลื่อนย้ายแบบเสรี
Scenario 1: Balancing World
Balancing
World
Scenario 1:
page 18
•	 ตลาดสินค้าเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม รวมทั้ง
ตลาดน�้ำมันและพลังงานในระยะยาวราคาจะเริ่มเข้าสู่
ระดับดุลยภาพ
•	 มาตรฐานพลังงานและสิ่งแวดล้อมระดับสากลถูก
ก�ำหนดเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ภาย
ใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และการค้าแบบไร้พรมแดน ที่
ประเทศต่างๆ สามารถส่งออกสินค้าได้อย่างเสรี
เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020
•	 กระแสโลกาภิวัตน์และอิทธิพลของสังคมออนไลน์
(Social Network) ท�ำให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ
ต้องจัดท�ำแผนการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศอย่างเป็นรูปธรรม และเป็นไปตาม
ข้อตกลงในเวทีการเจรจาระหว่างประเทศ
•	 รัฐบาลประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยน�ำภาษีสิ่ง
แวดล้อมและภาษีคาร์บอนมาใช้เพื่อเป็นฐานรายได้
ของรัฐบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในขณะที่
ประชาคมยุโรปบังคับให้สินค้าน�ำเข้ามีมาตรการลด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
•	 องค์กรระหว่างประเทศมีบทบาทน�ำในการสร้าง
กลไกการบริหารก๊าซเรือนกระจกที่อยู่บนพื้นฐาน
กลไกตลาด โดยประเทศที่มีการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกมากต้องรับภาระมากตามสัดส่วนการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจก
•	 ประชาคมโลกเกิดการผสมผสานเป็นสังคมเดียวกัน
(One World One Community) และรัฐบาลของ
ประเทศต่างๆ มีความร่วมมืออย่างใกล้ชิดในการ
แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดย
หน่วยงานภาครัฐออกกฎระเบียบการจัดการ
สิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดมากขึ้น
•	 เศรษฐกิจโลกมีเติบโตแบบยั่งยืน และก้าวเป็น
ประชาคมที่มีระเบียบ เกิดการก�ำหนดมาตรฐานร่วม
กัน รวมทั้งเกิดดุลยภาพความร่วมมือระหว่าง
ประเทศพัฒนาแล้วและประเทศก�ำลังพัฒนา
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกและ
สิ่งแวดล้อม
(Environmental and Climate Change)
เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013
•	 อุณหภูมิของโลกมีแนวโน้มสูงขึ้นตามปริมาณการ
ใช้พลังงานฟอสซิลที่สูงขึ้น
•	 โลกเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างรุนแรง
จากอิทธิพลของเอลนีโญและลานีญา
เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016
•	 กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development
Mechanism) เริ่มมีเสถียรภาพและส่งเสริมให้
ประเทศต่างๆ ด�ำเนินนโยบายการพัฒนาที่มุ่งสู่การ
พัฒนาอย่างยั่งยืน
เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020
•	 ตลาดซื้อขายคาร์บอนเครดิต (Carbon Credit
Market) ในยุโรป อเมริกา จีนและญี่ปุ่นมีการซื้อขาย
เพิ่มขึ้น หลังจากกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean
Development Mechanism) เริ่มมีเสถียรภาพ
มั่นคง และเป็นกลไกสนับสนุนให้ประเทศก�ำลังพัฒนา
มุ่งการผลิตสินค้าและบริการควบคู่กับการจัดการ
สิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน
•	 อุณหภูมิของโลกมีแนวโน้มลดต�่ำลงเนื่องจาก
ประชาคมโลกมีการใช้พลังงานทดแทนมากขึ้นโดย
เฉพาะจากแหล่งพลังงานนิวเคลียร์ และพลังงาน
ทดแทนอื่นๆ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม
(Technology Progress & Innovation)
เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013
•	 แรงกดดันจากกลุ่มประเทศผู้ผลิตน�้ำมัน (OPEC)
ท�ำให้ราคาน�้ำมันในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อ
เนื่องและเป็นแรงผลักดันให้ประเทศต่างๆ เร่งพัฒนา
แหล่งพลังงานหมุนเวียน และด�ำเนินมาตรการ
ประหยัดพลังงานท�ำให้ความต้องการพลังงานจาก
น�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน ลดลง
•	 เกิดการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีด้านพลังงาน
ทดแทนและเทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology)
อย่างต่อเนื่องโดยได้รับการสนับสนุนจากมาตรการ
ภาษีของรัฐ และโครงการร่วมพัฒนาระหว่าง
ประเทศในระดับภูมิภาคและกลุ่มความร่วมมือต่างๆ
เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016
•	 แม้ว่าราคาน�้ำมันในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่าง
ต่อเนื่องในช่วงก่อนหน้านี้ แต่เริ่มชะลอตัวลงและมี
เสถียรภาพเนื่องจากความต้องการพลังงานจาก
น�้ำมัน ถ่านหินและก๊าซธรรมชาติชะลอตัวลง ซึ่งเกิด
จากความส�ำเร็จในการพัฒนาแหล่งพลังงาน
ทดแทนเพิ่มขึ้น
•	 ประชาคมยุโรป สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นมีบทบาทน�ำ
ในการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน เช่น
พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานชีวภาพ พลังงาน
ลม และความร้อนใต้พิภพ
•	 ราคาน�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติและถ่านหินปรับตัวสูง
ขึ้นส่วนหนึ่งมาจากภาระภาษีสิ่งแวดล้อมและภาษี
คาร์บอนไดอ็อกไซด์
ความร่วมมือระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมและ
เศรษฐกิจ
(International Cooperation on Environment and
Economics)
เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013
•	 สหรัฐอเมริกาและจีนเห็นชอบกับเป้าหมายการลด
ปริมาณก๊าซเรือนกระจกและก�ำหนดทางเลือกที่
ชัดเจน คือ ประเทศสหรัฐอเมริกาจะให้ความส�ำคัญ
กับโครงการ CDM ที่มีต้นทุนในการลดปริมาณ
ก๊าซเรือนกระจกต�่ำกว่าวิธีการอื่นๆ โดยจะเริ่มขึ้น
อย่างจริงจังในช่วงปี 2013 เป็นต้นไป
•	 ประเทศพัฒนาแล้วได้สร้างระบบจูงใจให้ผู้บริโภคและ
ผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการ Carbon Footprint
โครงการปลูกป่าเพื่อลดสภาวะโลกร้อน และ
โครงการอื่นๆ ในขณะที่บางประเทศด�ำเนินมาตรการ
ภาษีสิ่งแวดล้อมและภาษีคาร์บอนไดออกไซด์
เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016
•	 เวทีการเจรจาระหว่างประเทศภายใต้กรอบความ
ร่วมมือต่างๆ เช่น กลุ่มความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Eco-
nomic Cooperation: APEC) สมัชชาประเทศภาคี
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศโลก (UNFCCC) กลุ่มประเทศ
อุตสาหกรรมชั้นน�ำและประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ 20
แห่ง หรือ G20 (The Group of Twenty Finance
Ministers and Central Bank Governors –
G20) สภาเศรษฐกิจโลก (World Economic
Forum- WEF) และเวทีเจรจาแบบพหุภาคีอื่นๆ มี
ความเห็นแบบพึ่งพาร่วมกัน ท�ำให้เกิดข้อตกลงการ
แก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก
เป็นรูปธรรมทั้งข้อตกลงในระยะสั้น ระยะปานกลาง
และระยะยาว
เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020
•	 ราคาพลังงานเริ่มมีเสถียรภาพ และไม่เป็นปัจจัย
ส�ำคัญต่อความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ
ต่างๆ
•	 การพัฒนาเทคโนโลยีหุ่นยนต์ และการพัฒนาแหล่ง
พลังงานทดแทนในประเทศพัฒนาแล้วประสบความ
ส�ำเร็จอย่างต่อเนื่องและเริ่มกระจายไปยังประเทศ
ก�ำลังพัฒนา โดยเฉพาะการพัฒนาโรงไฟฟ้า
นิวเคลียร์ และโรงไฟฟ้าจากการก�ำจัดขยะมูลฝอย
•	 เกิดความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีพลังงานและ
อุตสาหกรรมยานยนต์ โดยท�ำให้การคมนาคมขนส่ง
สามารถพึ่งพาพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น เช่น Fuel
Cell ในรถยนต์ขนาดเล็ก การพัฒนาระบบรถไฟฟ้า
มวลชน เป็นต้น
page 20
การพัฒนาเทคโนโลยีบนฐาน Fossil Fuel และประชาคมโลก
เกิดความร่วมมือการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสภาวะโลก
ร้อน (Aligned) มีประเด็นเหตุการณ์และวิวัฒนาการ
ต่างๆ ดังนี้
เหตุการณ์ส�ำคัญ ภายใต้ Uniting World
Scenario ประกอบด้วย
•	 ผู้บริโภคมีค่านิยมที่มุ่งการพัฒนาอย่างยั่งยืน
•	 การพัฒนาเทคโนโลยีอยู่บนพื้นฐานพลังงาน
ฟอสซิลและเกิดขึ้นอย่างช้าๆ
•	 ความร่วมมือระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหาโลก
ร้อนอยู่ในระดับสูง และมีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ธรรมชาติอย่างเป็นระบบ
•	 เศรษฐกิจโลกเติบโตอย่างช้าๆ และมีการค้นพบแหล่ง
ทรัพยากรน�้ำมันเพิ่มขึ้น
•	 การแข่งขันและการกีดกันการค้าระหว่างประเทศไม่
รุนแรงและมีแนวโน้มร่วมมือมากขึ้นอย่างช้าๆ
•	 ก๊าซเรือนกระจก อุณหภูมิโลกและภัยธรรมชาติมี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
อย่างไรก็ตาม วิวัฒนาการของเหตุการณ์ภายใต้ Uniting
World Scenario มีรายละเอียดล�ำดับของเหตุการณ์
จ�ำลอง ดังนี้
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและประชากร
(Population and Social Development)
เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013
•	 ประชากรโลกขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและเป็น
แรงกดดันการใช้พลังงานฟอสซิลและการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มมากขึ้น
•	 ผู้บริโภคในประเทศพัฒนาแล้วให้ความส�ำคัญกับ
Green Products & Sustainability Development
ในขณะที่ผู้บริโภคในประเทศยากจนยังมีความสนใจ
น้อย โดยยังมุ่งสินค้าราคาถูกมากกว่าการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
แต่การกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศไม่รุนแรง
•	 รัฐบาลของประเทศต่างๆ รวมทั้งกลุ่มองค์กรภาค
เอกชนที่ไม่แสวงหาก�ำไร (Non-Governmental
Organization: NGOs) ด�ำเนินการรณรงค์ให้
ประชาชน ธุรกิจเอกชนและองค์กรภาครัฐให้ความ
ส�ำคัญการใช้จ่าย การบริโภคอุปโภคที่มุ่งช่วยลด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศโลก โดย
ไม่มีการแบ่งแยกชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา และ
วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน เพราะต่างตระหนักดี
ว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกก่อให้เกิด
เหตุการณ์อันตรายร้ายแรงเพิ่มมากขึ้นเป็นล�ำดับ
เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016
•	 สังคมเมืองและสังคมชนบทเกิดกระแสการพัฒนา
อย่างยั่งยืน (Sustainable Development) อย่าง
จริงจังและต้องการให้รัฐบาลและผู้ประกอบการ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อย่างสมดุล กล่าวคือ “การตอบสนองความ
ต้องการของคนรุ่นปัจจุบัน โดยไม่มีผลกระทบใน
ทางลบต่อความต้องการของคนรุ่นต่อไปใน
อนาคต”
เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020
•	 ประชากรโลกเริ่มประสบปัญหาการขาดแคลน
พลังงานและอาหารไม่เพียงพอ ท�ำให้ประชากรโลก
เพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่อง
•	 ประชากรย้ายมาอยู่ในเมืองมากขึ้น ท�ำให้สังคมเมือง
มีขนาดใหญ่ขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ความสัมพันธ์ใน
สังคมเมืองเป็นแบบครอบครัวเดี่ยว และเป็นความ
สัมพันธ์แบบไม่ยั่งยืน
•	 กฏระเบียบ กฏหมาย และข้อบังคับในสังคมมีความ
ซับซ้อน และมีลักษณะเข้มงวด
•	 โลกให้ความส�ำคัญกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(Sufficient Economy) ควบคู่กับการพัฒนาอย่าง
ยั่งยืน (Sustainable Development) เพราะ
ตระหนักดีว่า การบริโภคในปัจจุบันต้องอยู่บน
พื้นฐานข้อจ�ำกัดของทรัพยากรธรรมชาติ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม
(Technology Progress & Innovation)
เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013
•	 ราคาน�้ำมันในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับ
โดยเพิ่มขึ้นจากระดับ 74 เหรียญสหรัฐต่อบาเรล
ในเดือนมกราคม 2553 เป็น 84 เหรียญสหรัฐต่อ
บาเรลในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ทั้งนี้จากความ
ต้องการน�้ำมัน ก๊าซและถ่านหินยังขยายตัวเพิ่มขึ้น
จากประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศก�ำลังพัฒนา
โดยเฉพาะประเทศจีน ซึ่งจะส่งผลให้ราคาน�้ำมันใน
ตลาดโลกเพิ่มขึ้นเป็นมากกว่า 130 เหรียญสหรัฐ
ต่อบาเรลในปี 2013
Scenario 2: Uniting World
Uniting
World
Scenario 2:
page 22
เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020
•	 ประเทศต่างๆ ยอมรับข้อผูกพันระหว่างประเทศใน
การออกระเบียบและมาตรฐานการจัดการสิ่ง
แวดล้อมแบบยั่งยืน (New World Order) ทั้งใน
ส่วนมาตรการสมัครใจ (Voluntary Measures) และ
มาตรการบังคับ (Compulsory Measures) เช่น
การส่งเสริมให้ภาคเอกชนด�ำเนินการปรับเปลี่ยน
เครื่องจักรประหยัดพลังงาน การออกแบบและ
ก่อสร้างอาคารประหยัดพลังงาน และการจัดท�ำ
คาร์บอนฟุตพริ้นท์ส�ำหรับผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรม การปรับโครงสร้างภาษีเพื่อลด
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Carbon
Taxation) การประกาศควบคุมปริมาณรถยนต์ใน
เมืองใหญ่ เป็นต้น
•	 รัฐบาลประเทศพัฒนาแล้วเริ่มน�ำภาษีสิ่งแวดล้อมและ
ภาษีก๊าซคาร์บอนมาบังคับใช้ รวมทั้งมาตรการลด
ก๊าซเรือนกระจกและการพัฒนามาตรฐานต่างๆ เพื่อ
จัดการแก้ไขปัญหาโลกร้อน โดยใช้กลไกตลาด
(Market Mechanism) เป็นเครื่องมือในการ
ควบคุมและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก
•	 การก�ำหนดนโยบาย Climate Change ของนานา
ประเทศเกิดขึ้นทั่วโลก และเกิดเป็นรูปแบบสากลที่
ก�ำหนดขึ้นโดยองค์กรระหว่างประเทศ เช่น
มาตรฐานสิ่งแวดล้อมโดยองค์การระหว่างประเทศ
ว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) องค์กรเอกชน และ
องค์กรคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น
•	 เศรษฐกิจโลกก้าวเข้าสู่ Low Carbon Economy
และเริ่มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผล
มาจากการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศได้กลับ
มาขยายตัวตามระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกและ
สิ่งแวดล้อม
(Environmental and Climate Change)
เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013
•	 อุณหภูมิโลกปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากประชาคม
โลกควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้เพียงบาง
ส่วน แม้ว่าความร่วมมือระหว่างประเทศในการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมีมากขึ้น และมีการค้นพบ
แหล่งทรัพยากรใหม่ๆ
•	 โลกเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างรุนแรง
จากอิทธิพลของเอลนีโญและลานีญา และการ
หลอมละลายของน�้ำแข็งบริเวณขั้วโลกเหนือ
เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016
•	 เกิดการพัฒนาประสิทธภาพเครื่องยนต์ เครื่องใช้
ไฟฟ้า หลอดไฟแสงสว่าง คอมพิวเตอร์ และ
อุปกรณ์ประหยัดพลังงานต่างๆ ซึ่งมีผลท�ำให้การ
ใช้พลังงานลดลงและลดปริมาณการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศโลก
•	 กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development
Mechanism) และตลาดซื้อขายคาร์บอนเครดิตเริ่ม
มีการซื้อขายมากขึ้น และกระตุ้นให้ประเทศต่างๆ
พัฒนาโครงการ CDM และโครงการความร่วมมือ
ในรูปแบบต่างๆ
เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020
•	 ตลาดคาร์บอนเครดิตในประเทศต่างๆ โดยเฉพาะใน
สหรัฐอเมริกา จีน และยุโรปโดยเป็นตลาดที่มีขนาด
ใหญ่และมีเสถียรภาพ
•	 อุณหภูมิของโลกมีแนวโน้มคงที่ เนื่องจากประชาคม
โลกมีการใช้พลังงานฟอสซิลลดน้อยลง รวมทั้ง
การใช้พลังงานทดแทนมากขึ้น เช่น พลังงาน
นิวเคลียร์ และพลังงานแสงอาทิตย์
•	 การพัฒนาเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน โดยใช้
หุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติเกิดขึ้นน้อย เพราะมี
ต้นทุนการพัฒนาสูง ท�ำให้ประชาคมโลกพึ่งพา
พลังงานจากก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินและน�้ำมัน แม้ว่า
มีราคาเพิ่มขึ้นสูงอย่างต่อเนื่องและผันผวนมาก
โดยกลุ่มโอเปคยังเป็นผู้ก�ำหนดราคาน�้ำมันในตลาด
โลก
•	 ประเทศพัฒนาแล้วที่มีความพร้อมทางเทคโนโลยี
ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ประชาคมยุโรป ญี่ปุ่น และ
เกาหลีใต้ทุ่มเทงบประมาณวิจัย พัฒนาเทคโนโลยี
เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เช่น การวิจัยเพิ่ม
ประสิทธิภาพเครื่องยนต์ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้าใน
โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม ศูนย์การค้าและที่อยู่
อาศัยในครัวเรือน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มี
ขนาดเบา การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพและ
การพัฒนาระบบโลจิสติกส์
เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016
•	 ราคาน�้ำมันมีแนวโน้มสูงขึ้นโดยตลอด ท�ำให้ราคา
น�้ำมันในตลาดโลกจะอยู่ระหว่าง 130 - 200
เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ทั้งนี้ยังขึ้นอยู่กับปัจจัย
แวดล้อมอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการปรับระดับราคา
น�้ำมันขึ้น-ลงในช่วงเวลานั้น เช่น การก่อการร้ายใน
สหรัฐอเมริกาและประชาคมยุโรป วิกฤตเศรษฐกิจ
การเงินในประชาคมยุโรป การเกิดภัยธรรมชาติ
อย่างรุนแรง และการขยายตัวของเศรษฐกิจใน
ประเทศพัฒนาแล้ว
•	 มีการค้นพบแหล่งทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึ้น รวม
ทั้งแหล่งน�้ำมันดิบ และการน�ำวัสดุกลับมาใช้ใหม่
(Recycle) เพิ่มขึ้นเป็นมากกว่าร้อยละ 50 ของการ
ใช้วัตถุดิบทั้งหมด
ความร่วมมือระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมและ
เศรษฐกิจ
(International Cooperation on Environment and
Economics)
เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013
•	 เศรษฐกิจโลกขยายตัวน้อยและผันผวนตามภาวะ
การเปลี่ยนแปลงของอากาศโลกและผลผลิต
การเกษตร ราคาพลังงานจากฟอสซิลปรับตัวเพิ่ม
ขึ้นอย่างช้าๆ และจากราคาน�้ำมันมีแนวโน้มสูงขึ้น
อย่างรวดเร็วและผันผวนอย่างรุนแรงก่อปัญหา
วิกฤตเศรษฐกิจอย่างส�ำคัญต่อประเทศผู้พึ่งพา
แหล่งพลังงานจากต่างประเทศ และน�ำไปสู่วิกฤต
เศรษฐกิจโลกโดยรวม กล่าวคือ ราคาน�้ำมันที่แพง
ขึ้นอย่างรวดเร็วท�ำให้เศรษฐกิจโลกถดถอย (Re-
cession)
•	 รัฐบาลของประเทศต่างๆ ให้ความส�ำคัญกับการแก้
ปัญหาสภาวะโลกร้อน โดยประเทศจีนและ
สหรัฐอเมริกาให้ความร่วมมือในการแก้ไขสภาวะโลก
ร้อนและปรับเงื่อนไขข้อตกลงให้เป็นที่ยอมรับจาก
ประชาคมยุโรปและญี่ปุ่น ซึ่งมีผลผูกพันก่อนปี
2012 หรือก่อนที่พันธกรณีของประเทศสมาชิก
ตามพิธีสารเกียวโตจะสิ้นสุดลง หลังจากประสบ
ภาวะชะงักงันในที่ประชุมประเทศภาคีสมาชิก
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศโลก (UNFCCC) ครั้งที่ 15 และ
ครั้งที่ 16 ที่ผ่านมา
เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016
•	 สหรัฐอเมริกาและจีนให้ความร่วมมือในการแก้ไข
สภาวะโลกร้อนโดยให้เงินสนับสนุนแก่ประเทศก�ำลัง
พัฒนาที่ยังไม่มีบทบาทส�ำคัญต่อการแก้ไขสภาวะ
โลกร้อน
•	 ประเทศในกลุ่มองค์การเพื่อความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for
Economic Co-operation and Development
- OECD) มีความร่วมมือระดับนโยบายในลักษณะ
Guidelines for best practices แต่นโยบายของ
ประเทศสมาชิกแต่ละประเทศยังคงมุ่งแข่งขันการ
พัฒนาให้มีประสิทธิภาพเหนือกว่าประเทศอื่นๆ
เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020
•	 ประเทศต่างๆ ด�ำเนินมาตรการประหยัดการใช้น�้ำมัน
และส่งเสริมการพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนและ
ทางเลือก เช่น พลังงานนิวเคลียร์ และพลังงาน
หมุนเวียนต่างๆ รวมทั้งการลงทุนค้นหาแหล่ง
น�้ำมันส�ำรองใหม่ๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ท�ำให้ราคาน�้ำมันใน
ตลาดโลกปรับตัวลดลงและเข้าสู่ระดับดุลยภาพของ
ตลาด
•	 เทคโนโลยีประหยัดพลังงานในสาขาการคมนาคมและ
ขนส่ง การผลิตอุปกรณ์แสงสว่าง การพัฒนาหุ่น
ยนต์ และระบบอัตโนมัติในภาคอุตสาหกรรมเกิดขึ้น
อย่างรวดเร็ว และมีต้นทุนลดลง โดยเฉพาะในประเทศ
อุตสาหกรรม
•	 เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีพลังงานสะอาด (Green
Technology) ที่มีรูปแบบชัดเจนระหว่างประเทศ
พัฒนาแล้วกับประเทศก�ำลังพัฒนา
•	 ประเทศก�ำลังพัฒนามีความสนใจเข้าร่วมโครงการ
ภายใต้กองทุนสิ่งแวดล้อม (Green Fund) ของ
องค์กรระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก และประเทศ
พัฒนาที่ส�ำคัญ โดยการให้เงินช่วยเหลือแก่ประเทศ
ก�ำลังพัฒนาในการปลูกป่า การจัดการป่าไม้แบบ
ยั่งยืนและการจัดซื้อเทคโนโลยีสีเขียว
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020
Climate Change Scenarios to 2020

More Related Content

Similar to Climate Change Scenarios to 2020

อะไรที่ทำให้ประเทศเจริญก้าวหน้า
อะไรที่ทำให้ประเทศเจริญก้าวหน้าอะไรที่ทำให้ประเทศเจริญก้าวหน้า
อะไรที่ทำให้ประเทศเจริญก้าวหน้าPoramate Minsiri
 
ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3DrDanai Thienphut
 
ศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดโลก ยุคไทยแลนด์ 4.0
ศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดโลก ยุคไทยแลนด์ 4.0 ศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดโลก ยุคไทยแลนด์ 4.0
ศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดโลก ยุคไทยแลนด์ 4.0 Peter Wises
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณSettapong Malisuwan
 
Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0maruay songtanin
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2i_cavalry
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนDrDanai Thienphut
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลกthammasat university
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก  01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก thammasat university
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์ออร์คิด คุง
 

Similar to Climate Change Scenarios to 2020 (14)

อะไรที่ทำให้ประเทศเจริญก้าวหน้า
อะไรที่ทำให้ประเทศเจริญก้าวหน้าอะไรที่ทำให้ประเทศเจริญก้าวหน้า
อะไรที่ทำให้ประเทศเจริญก้าวหน้า
 
ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3
 
ศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดโลก ยุคไทยแลนด์ 4.0
ศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดโลก ยุคไทยแลนด์ 4.0 ศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดโลก ยุคไทยแลนด์ 4.0
ศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดโลก ยุคไทยแลนด์ 4.0
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
smart อปท
smart อปทsmart อปท
smart อปท
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0Sustainability of production 4.0
Sustainability of production 4.0
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2
 
New rules of competition
New rules of competitionNew rules of competition
New rules of competition
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก  01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
 

Climate Change Scenarios to 2020

  • 2. It is not the strongest of the species that survives, nor the most intelligent that survives. It is the one that is the most adaptable to change. Charles Robert Darwin (12 February 1809 – 19 April 1882)
  • 3. page 4 ความฝันอันสูงสุดของผู้บริหาร คือความต้องการให้ องค์กรที่ตนบริหารสามารถที่จะรับมือกับความไม่แน่นอน (Uncertainties) ต่างๆ และเติบโตได้ในทุกสภาวการณ์ที่เกิด ขึ้นในอนาคต แต่ปัจจุบันการบริหารจัดการของผู้บริหารใน ประเทศไทยเรา ไม่ว่าองค์กรขนาดใหญ่หรือเล็ก ส่วนใหญ่ ยังยึดติดกับความส�ำเร็จขององค์กรในอดีต มุ่งตอบ สนองกับความต้องการของลูกค้า วางแผนกลยุทธ์ใน ระยะแค่ 3-5 ปี สามารถเข้าใจและรับมือกับความเสี่ยงใน ระยะสั้นเป็นอย่างดี แต่ไม่ได้มองการณ์ไกลระยะยาว 10-20 ปี ไม่ได้ค�ำนึงถึงแรงขับเคลื่อน (Driving Forces) จาก ความไม่แน่นอน และความเสี่ยงที่องค์กรอาจต้องเผชิญ ในอนาคตในระยะไกลๆ ซึ่งวิวัฒนาการของความไม่แน่นอน เหล่านี้เกิดขึ้นในอัตราเร่งที่เร็วมากใน2-3ทศวรรษที่ผ่าน มา ไม่ว่าจะเป็นวิวัฒนาการทางด้านสังคม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และทางด้านการเมือง มีหลาย ตัวอย่างที่องค์กรไม่ว่าขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กต้องปิด กิจการไป เพราะไม่สามารถปรับตัวเองให้ทันต่อ วิวัฒนาการเหล่านั้น ไม่มีใครสามารถหยั่งรู้อนาคตได้ แต่ผู้บริหารสามารถ ปั้น (Shape) อนาคตขององค์กรของตนได้ การบริหารในยุคสมัยนี้ผู้บริหารควรมองไปข้างหน้า มุ่งเน้นอนาคต (Future Focus) สถาบันฯ ไม่ได้หมายถึง ความสามารถในการปรับตัว (Adapt) ให้เข้ากับอนาคตซึ่ง จะเป็นการวิ่งตามอนาคต หรือเป็นผู้ตาม (Follower) แต่ สถาบันฯ หมายถึงผู้บริหารต้องสามารถคาดหมาย (Anticipate) อนาคตที่จะเกิดขึ้น สามารถวางแผนเตรียม ความพร้อมรับมือกับความเสี่ยง ความไม่แน่นอน ก่อนที่ อนาคตจะมาถึง ถึงจะเป็นผู้น�ำ (Leader) ในอุตสาหกรรม ที่องค์กรของตนด�ำรงอยู่ โดยเป็นผู้ก�ำหนดแนวโน้มของ ตลาดให้ผู้อื่นเดินตาม การศึกษา Climate Change: Scenarios to 2020 นี้ สถาบันฯ ต้องการหาค�ำตอบกับค�ำถามที่ว่า“จะเกิดอะไร ขึ้นต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลก ในปี 2020” โดย ได้น�ำ แนวโน้ม ความไม่แน่นอนทั้งเหตุการณ์ทางด้านสังคม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และทางด้านการเมือง มาสร้างภาพเหตุการณ์จ�ำลองอนาคตเพื่อหาค�ำตอบ จุดมุ่งหมายหลักไม่ใช่เป็นการคาดเดาหรือคาดหวัง อนาคตว่าจะเกิดภาพดังที่สร้าง แต่เป็นการสร้างภาพ เหตุการณ์จ�ำลองอนาคตที่อาจจะเกิดขึ้นได้ (Plausible) ซึ่งจะเกิดผลตามที่ต้องการ หากสามารถช่วยสะท้อนให้เรา เห็นถึงสิ่งที่อาจเกิดขึ้นได้ โดยที่เราไม่เคยคาดคิดมาก่อน การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเป็นแรงขับเคลื่อนหนึ่งที่ มีผลกระทบสูงต่อองค์กรทุกประเภทและทุกขนาด และเป็น ปัจจัยหลักที่ท�ำให้เกิดแนวโน้มใหญ่ทางธุรกิจ (Business Mega-Trend) ที่ก�ำลังมาแรงในเรื่องของความสามารถ อยู่อย่างยั่งยืน (Sustainability) การมองระยะยาวถึงปี 2020 ยังท�ำให้เราได้พิจารณาถึง Forces ที่เราไม่ได้ค�ำนึง ถึงและเฝ้าระวังอยู่ ท�ำให้องค์กรไม่เพียงแค่สร้างความ พร้อมในการรับมือกับความไม่แน่นอนของอนาคตที่จะเกิด ขึ้น แต่ยังสามารถด�ำเนินการในเชิงรุกที่จะปั้นอนาคตที่ อยากจะให้เกิดและรุกลงทุนล่วงหน้าได้ ภาพเหตุการณ์จ�ำลองอนาคต (Scenario Planning) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการบริหารอนาคต (Future Manage- ment) ที่น�ำเสนอนี้ เป็นการสร้างภาพเหตุการณ์จ�ำลอง อนาคต 4 เหตุการณ์ที่แตกต่างกันอย่างมาก เป็น เหตุการณ์ที่ท้าทาย แต่อาจจะเกิดขึ้นได้ในสภาวะแวดล้อม ระหว่างเวลาจากปัจจุบันถึงปี 2020 ภาพทั้งสี่นี้สร้างภาย ใต้ความไม่แน่นอนของการร่วมมือระหว่างประเทศในการ แก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลกและ การพัฒนาเทคโนโลยี โดยเฉพาะทางด้านพลังงาน ในการศึกษาภาพเหตุการณ์จ�ำลองเหล่านี้ ท่านผู้บริหาร ควรจะถามตนเองว่า • โลกรูปแบบไหนที่องค์กรของท่านอยากจะอยู่ • อะไรที่ท่านสามารถท�ำ เพื่อให้เกิดโลกในรูปแบบนั้นๆ • ในโลกแต่ละรูปแบบ จะมีนัยและผลกระทบอะไรกับองค์กร ของท่าน • อะไรที่ท่านต้องท�ำเพื่อให้องค์กรของท่านสามารถ เติบโตได้ในโลกทุกรูปแบบ สถาบันฯ หวังอย่างยิ่งว่า ท่านผู้บริหารจะพบว่าการ สร้างภาพเหตุการณ์จ�ำลองอนาคต (Scenario Plan- ning) จะเป็นเครื่องมือหนึ่งที่สามารถช่วยให้ท่านน�ำพา องค์กรของท่านให้เจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ตลอดไป ดร.สันติ กนกธนาพร ผู้อ�ำนวยการสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ไม่มีใครสามารถหยั่งรู้อนาคตได้ แต่ผู้บริหารสามารถปั้น (Shape) อนาคตขององค์กรของตนได้ Forward For the gods perceive things in the future, ordinary people perceive things in the present but the wise man perceives things about to happen Philostratus (Greek sophist of the Roman imperial period.)
  • 4. page 6 การผลิตหุ่นยนต์เชิงปริมาณมา เพื่อจ�ำหน่ายหรือเกิดเป็น อุตสาหกรรมผลิตหุ่นยนต์ใน ประเทศไทย ถ้ารัฐบาลให้ความส�ำคัญในการ พัฒนาความสามารถการวิจัย ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมีการด�ำเนินการอย่างจริงจัง ก็จะช่วยให้บริษัทต่างๆ มาตั้ง ส�ำนักงานวิจัยในประเทศไทยเพิ่ม ขึ้นและสามารถก้าวเป็นศูนย์การ เรียนรู้ในภูมิภาค งานวิจัยของเรายังขาดความ สามารถในการมองอนาคตซึ่ง เป็นเรื่องส�ำคัญมาก Smart People’s Views นายพุฒิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ นายครรชิต พุทธโกษา ที่ปรึกษาด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยจะต้องมองถึง กฎระเบียบ ข้อจ�ำกัดทางธุรกิจในอาเซียนทั้งหมดที่เป็น เงื่อนไขหรือ Barrier ต้องเร่งศึกษาและเตรียมความพร้อม เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากการเปิดตลาด AEC รวมทั้ง การพิจารณาถึงองค์ประกอบที่เป็นปัจจัยภายนอก 2-3 เรื่องที่ยังไม่สามารถบริหารจัดการได้ ได้แก่ 1) ปัจจัย ความเสี่ยงจากทั่วโลก 2) ค่าเงินบาท และ 3) การเปิด ประเทศ เปิดเสรี ซึ่งเมื่อมีผู้ลงทุนเข้ามามาก เงินไหลเข้า ตลอด จะเกิดเงินเฟ้อ และช่องว่างระหว่างคนจนคนรวย เพิ่มมากขึ้นหรือไม่ ดังนั้นอาจมีการท�ำ Scenario แผนการรองรับ และ Best Practice ขึ้น ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาการพัฒนาหุ่นยนต์และระบบ อัตโนมัติมีอยู่ตลอด แต่เป็นลักษณะตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าเฉพาะราย เช่น หุ่นยนต์ในการท�ำความ สะอาดช่องแอร์ แต่อยากจะเห็นมากกว่านี้ คือ การผลิต หุ่นยนต์เชิงปริมาณมาเพื่อจ�ำหน่ายหรือเกิดเป็น อุตสาหกรรมผลิตหุ่นยนต์ในประเทศไทย อนาคตของภาควิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยคือ การพัฒนาความสามารถการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีให้ก้าวทันมาเลเซียที่นับวันจะห่างออกไป ในขณะ ที่สิงคโปร์เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาได้แก่ มาเลเซีย ไทย และเวียดนาม ดังนั้น ถ้ารัฐบาลให้ความส�ำคัญในการ พัฒนาความสามารถการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีและมีการด�ำเนินงานอย่างจริงจัง ก็จะช่วยให้ บริษัทต่างๆ มาตั้งส�ำนักงานวิจัยในประเทศไทยเพิ่มขึ้นและ สามารถก้าวเป็นศูนย์การเรียนรู้ในภูมิภาค แนวโน้มใหญ่ที่ไม่สามารถหยุดยั้งได้ในภาคการวิจัยของ ไทยและจะมีผลกระทบต่อภาคการวิจัยคือโลกไร้พรมแดน เช่น การรวมกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน จะมีผลกระทบมาก กับวงการนักวิจัย และการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของ เทคโนโลยี ท�ำให้หน่วยงานวิจัยไม่สามารถมองภาพอนาคต ของทิศทางการวิจัยได้ชัดเจน เช่น Biodiesel มีการส่ง เสริมการปลูกปาล์มน�้ำมัน แต่หากในอนาคตเครื่องยนต์ไม่ จ�ำเป็นต้องใช้น�้ำมัน จะท�ำอย่างไรกับชาวสวนปาล์มที่ก�ำลัง เริ่มปลูกปาล์ม ซึ่งใช้ระยะเวลา 7–8 ปี และเมื่อถึงเวลาเก็บ เกี่ยวแล้วผลผลิตไม่สามารถจ�ำหน่ายได้จะท�ำอย่างไร อยากให้มีการมองอนาคตในจุดนี้ งานวิจัยของเรายังขาด ความสามารถในการมองอนาคตซึ่งเป็นเรื่องส�ำคัญมาก In this warp-speed world it is no longer sufficient to learn from experience we must learn from the future Wolfgang Grulke (Chief Executive of Future World)
  • 5. page 8 และต่อมาในเดือนธันวาคม ปี 2540 (ค.ศ.1997) ประเทศต่างๆ ได้ประชุมและร่วมลงนามในพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ซึ่งก�ำหนดให้ประเทศอุตสาหกรรมใน ภาคผนวกที่ 1 (Annex 1) รวม 42 ประเทศ* ต้องด�ำเนิน การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Green House Gas: GHG) ในช่วงปี พ.ศ. 2551-2555 ให้อยู่ในระดับต�่ำกว่า ปริมาณการปล่อยในปี 2533 หรือลดลงโดยเฉลี่ยร้อย ละ 5.2 ทั้งนี้ ก๊าซเรือนกระจก (Green House Gas: GHG) ประกอบด้วยก๊าซต่างๆ รวม 6 ชนิด ได้แก่ • คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) • มีเทน (CH4) • ไนตรัสออกไซด์ (N2O) • ไฮโดรฟลูออคาร์บอน (HFCs) • เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFCs) • ซัลเฟอร์เฮกซาฟลูโอไรด์ (SF6) * ประกอบด้วย ออสเตรเลีย ออสเตรีย เบรารุส เบลเยี่ยม บุลกาเรีย แคนาดา โครเอเชีย สาธารณรัฐเชค เดนมาร์ค เอสโทเนีย สหภาพยุโรป ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมัน กรีซ ฮังการี ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ญี่ปุ่น ลัตเวีย ลิกเตนสไตน์ ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลต้า โมนาโค เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส โรมาเนีย สหพันธรัฐรัสเซีย สโลวาเกีย สโลวา เนีย สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี ยูเครน สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา ภาพจ�ำลองเหตุการณ์ จะเกิดอะไรขึ้น ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ อากาศโลก ภายใต้ความไม่แน่นอนของ การร่วมมือระหว่างประเทศ และการพัฒนา เทคโนโลยีของโลก ในช่วงศตวรรษที่ 20 ความถี่และความรุนแรงของ ภัยธรรมชาติส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศทั้ง ในระดับประเทศ ภูมิภาคและทั่วโลก และส่งผลกระทบต่อการ ด�ำเนินการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี และ การเมืองในบริบทของโลกและของแต่ละประเทศ ซึ่งเป็นผล สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ของ ฤดูกาล ลมฟ้าอากาศ ระดับน�้ำทะเล แหล่งน�้ำ ความแห้ง แล้ง พื้นที่น�้ำท่วมขัง ความหลากหลายทางชีวภาพและ ระบบนิเวศต่างๆ ที่เป็นผลมาจากการปล่อยปริมาณก๊าซ เรือนกระจก (Green House Gas: GHG) สู่ชั้น บรรยากาศโลกและเป็นสาเหตุท�ำให้อุณหภูมิของโลกปรับ สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกท�ำให้เกิด ปรากฏการณ์หลายประการที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ความเป็นอยู่ของมนุษย์ เช่น การเกิดพายุและน�้ำท่วมอย่าง รุนแรง จากปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญา การเกิด พายุไต้ฝุ่นทอร์นาโด เป็นต้น ข้อมูลการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ ในปี 2001 พยากรณ์ว่า อุณหภูมิของโลกจะเพิ่มขึ้นประมาณ 1.4 – 5.8 องศาเซลเซียสก่อนปี 2100 และระดับน�้ำทะเลจะเพิ่ม ขึ้นอย่างน้อย 0.09 เมตร – 0.88 เมตร ทั้งนี้ปัจจัย ส�ำคัญที่ท�ำให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น คือการเผาไหม้เชื้อ เพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel) เช่น น�้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซ ธรรมชาติ รวมถึงการตัดไม้ท�ำลายป่า และการเพาะเลี้ยง ปศุสัตว์ เป็นต้น การแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศโลก ประชาคมโลกตระหนักถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศของโลกและด�ำเนินการแก้ไขปัญหาและ สาเหตุของปัญหาอย่างจริงจังตั้งแต่ปี 2537 (ค.ศ. 1994) เป็นต้นมา โดยประเทศสมาชิกองค์กรสหประชาชาติ รวม 195 ประเทศได้ร่วมลงมติเห็นชอบกรอบอนุสัญญา สหประชาชาติในการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) เพื่อด�ำเนินการแก้ไขปัญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก หรือโลกร้อน (Global Warming) Introduction สาระส�ำคัญ ภาพเหตุการณ์ จ�ำลอง อนาคต
  • 6. page 10 ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสหรัฐอเมริกามีการปล่อยปริมาณก๊าซเรือน กระจกประมาณ 1 ใน 4 ของปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศของโลก และมีพันธกิจต้องลด ปริมาณก๊าซเรือนกระจกตามพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) แต่ได้เพิกถอนสัตยาบันพิธีสารเกียวโตในสมัย รัฐบาลจอร์จ บุช โดยให้เหตุผลว่า การด�ำเนินมาตรการ ลดปริมาณ GHG ให้ได้ตามเป้าหมาย จะส่งผลกระทบต่อ ภาระการเงินของคนอเมริกันอย่างมาก และไม่ยุติธรรมที่ ประเทศก�ำลังพัฒนายังมีการตัดต้นไม้ท�ำลายป่าเป็น จ�ำนวนมาก ในการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่า ด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 16 (Cop- 16) เมืองแคนคูน ประเทศเม็กซิโก สหรัฐอเมริกาสนับสนุน การจัดตั้งกองทุนสีเขียว (Green Fund) เพื่อการแก้ไข ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและใน ปีงบประมาณ 2553 ได้จัดสรรงบประมาณตั้งกองทุน รวมเพื่อแก้ไขสภาพภูมิอากาศจ�ำนวน 375 พันล้าน เหรียญสหรัฐเพื่อด�ำเนินกิจกรรมส�ำคัญ เช่น การศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสะอาดเพื่อเร่ง การพัฒนาอย่างยั่งยืนและการแปลงพลังงานสะอาดใน ประเทศก�ำลังพัฒนาในระยะยาว 300 ล้านเหรียญสหรัฐ โครงการน�ำร่องเพื่อการกลับคืนสู่ปกติสภาพภูมิ อากาศในประเทศที่ต้องการตอบสนองต่อผลกระทบของ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จ�ำนวน 55 ล้านเหรียญสหรัฐ โครงการบริการทางการเงินส�ำหรับเงินลงทุนใน การก�ำกับดูแลป่าไม้และการพัฒนาศักยภาพสถาบันรวม ทั้งมาตรการเพื่อลดการตัดไม้ท�ำลายป่าจ�ำนวน 20 ล้าน เหรียญสหรัฐ การจัดสรรเงินสนับสนุนตามกรอบอนุสัญญา สหประชาชาติกองทุนสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (UN- FCCC) ให้ประเทศก�ำลังพัฒนาเพื่อการวางแผนและใช้ มาตรการเร่งด่วนจ�ำนวน 20 ล้านเหรียญสหรัฐ การด�ำเนินการเป็นหุ้นส่วนจัดการป่าไม้ (Carbon Facility) และสนับสนุนประเทศก�ำลังพัฒนาลดก๊าซเรือน กระจกจากการท�ำลายป่าและความเสื่อมโทรมของป่า (Reducing Emission from Deforestation and Deg- radation in Developing Country : REDD) จ�ำนวน 10 ล้านเหรียญสหรัฐ ประเทศจีน ประเทศจีนเริ่มมีบทบาทน�ำมากขึ้นในการจัดการ ปัญหาก๊าซเรือนกระจกและการแก้ไขปัญหาสภาพการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทั้งในฐานะผู้ขายคาร์บอนเครดิตให้ กับประเทศตามภาคผนวกที่1 ซึ่งมีการด�ำเนินโครงการ CDM เป็นจ�ำนวนมากและในฐานะผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจก สู่ชั้นบรรยากาศของโลกมากเป็นอันดับที่ 2 รองจาก สหรัฐอเมริกาและอาจก้าวเป็นอันดับหนึ่งในระยะเวลาอัน ใกล้ ซึ่งเป็นผลมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ และการขยายตัวของชุมชนเมือง ซึ่งท�ำให้มีความต้องการ ใช้พลังงานฟอสซิลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รัฐบาลจีนประกาศว่าภายในสิ้นปี 2553 จะลดการ ใช้พลังงานลง 20 เปอร์เซ็นต์ ระหว่างปี 2549-2553 ซึ่งภายใต้มาตรการนี้ท�ำให้จีนสามารถลดปริมาณการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนได้ถึง 1,500 ล้านตัน คาร์บอนไดออกไซด์ และได้ให้ค�ำมั่นว่าจะลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนต่อหน่วยของจีดีพีที่ประมาณ 40-45 เปอร์เซ็นต์ จากปี พ.ศ.2548 ให้ได้ก่อนปี พ.ศ.2563 และจะพึ่งกลไก ตลาดเพื่อควบคุมปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนในช่วง เวลาดังกล่าว อย่างไรก็ตามนักสังเกตการณ์มีข้อสังเกตว่า ถ้า สหรัฐอเมริกาและจีนสามารถบรรลุข้อตกลงร่วมกันเกี่ยว กับปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ และทั้งสอง ประเทศให้ความร่วมมือในการก�ำหนดนโยบายและข้อปฏิบัติ ร่วมกันต่อไปจะน�ำโลกไปสู่การแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศโลกอย่างเป็นรูปธรรม ประชาคมยุโรป คณะกรรมาธิการยุโรปเปิดตัวโครงการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศยุโรป (European Climate Change Programme: ECCP) ในปี 2000 โดยท�ำงานร่วมกับ องค์กรด้านสิ่งแวดล้อมและผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ โดยระบุ มาตรการประหยัดค่าใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทั้งนี้ ประชาคมยุโรปมีความมุ่งมั่น ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวมอย่างน้อย 20% ต�่ำกว่าปี 1990 และมีความมุ่งมั่นที่จะเพิ่มขึ้นถึง 30% ใน ปี 2020 หากประเทศอุตสาหกรรมอื่นๆ เห็นชอบกับข้อ ตกลงที่จะท�ำเช่นเดียวกัน โดยมีเป้าหมายการด�ำเนินงานใน ปี 2020 ดังนี้ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้สูงขึ้นถึง 20% เพิ่มส่วนแบ่งค่าเฉลี่ยของพลังงานหมุนเวียนเทียบ กับการใช้พลังงานทั่วทั้งสหภาพยุโรปให้ได้ 20% ของการ ใช้พลังงานทั้งหมด เพิ่มการใช้พลังงานในสาขาการขนส่งโดยใช้เชื้อ เพลิงชีวภาพให้ได้ 10% ของการใช้พลังงานในสาขาขนส่ง ขยายขอบเขต Emissions Trading System (ETS) ให้ครอบคลุมทุกอุตสาหกรรมที่เป็นผู้ปล่อยหลัก (Emitters) ส�ำคัญมากขึ้นและแนะน�ำการท�ำในสาขาที่ไม่ ครอบคลุมโดย ETS เช่นการก่อสร้างอาคาร การขนส่ง ทางการเกษตรและของเสีย มาตรการอื่นๆ เช่น การพัฒนาเทคโนโลยีการจับ ก๊าซคาร์บอนและการเก็บรักษา เพิ่มและลด CO2 จาก รถยนต์ และการพัฒนามาตรฐานคุณภาพน�้ำมันเชื้อเพลิง เป็นต้น บทบาทของประเทศ พัฒนาแล้วในกลุ่ม ภาคผนวกที่ 1 ใน การลดปริมาณก๊าซ เรือนกระจก ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลียเป็นประเทศหนึ่งที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตั้งแต่ ต้นศตวรรษที่ 21 รัฐบาลและประชาชนให้ความสนใจกับปัญหาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพิ่มขึ้น เป็นล�ำดับ โดยพบว่า ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและพื้นที่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปออสเตรเลียมีปริมาณน�้ำ ฝนเพิ่มขึ้นเล็กน้อยและมีแนวโน้มน้อยลงหรือไม่มีเลย ดังนั้นจึงมีการรณรงค์ต่อต้านการท�ำเหมืองถ่านหินใหม่และโรง ไฟฟ้าพลังงานถ่านหิน รัฐบาลออสเตรเลียด�ำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการส่งเสริมการ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การปรับสภาพชุมชน โรงงานและที่อยู่อาศัยให้เข้ากับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป การด�ำเนินการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน กระจกสู่ชั้นบรรยากาศโลก รัฐบาลออสเตรเลียตั้ง สมมุติฐานว่าถ้าไม่มีการด�ำเนินมาตรการใดๆ ก่อนปี 2020 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอาจสูงกว่าปริมาณ ก๊าซคาร์บอนในปี 2000 ประมาณร้อยละ 20 ดังนั้น เพื่อ ให้บรรลุเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้ ร้อยละ 25 รัฐบาลจึงจัดวาระการลดก๊าซคาร์บอนขึ้น (The Carbon Pollution Reduction Scheme: CPRS) และเพิ่มเงินลงทุน 5 พันล้านดอลลาร์ในการพัฒนา เทคโนโลยีพลังงานสะอาด การวิจัยและพัฒนาพลังงาน หมุนเวียน รวมทั้งมาตรการจัดการพลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ ในด้านครัวเรือนสนับสนุนให้ประชาชนเปลี่ยนวิถี ด�ำเนินชีวิต ตัวอย่างเช่น การจัดโปรแกรมส่งเสริมการใช้ พลังงานทดแทน (Programs and Rebates) หรือ Bonus Scheme (REBS) โดยมีสิทธิ์ได้รับส่วนลด1,000 เหรียญ ออสเตรเลีย ส�ำหรับการติดตั้งระบบน�้ำร้อนพลังงานแสง อาทิตย์หรือได้รับส่วนลด 600 เหรียญออสเตรเลีย ส�ำหรับการติดตั้งระบบปั๊มความร้อน REDD เป็นกลไกใหม่ที่เสนอเพื่อการแก้ไขปัญหาโลกร้อนเนื่องจากมีข้อมูลว่า ก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากการท�ำลายป่าและการท�ำให้ป่าเสื่อมโทรม ในประเทศก�ำลังพัฒนาคิดเป็นประมาณร้อยละ 20 ของก๊าซเรือนกระจก ทั้งหมดที่ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศโลก
  • 7. page 12 จะเกิดอะไรขึ้นต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลกภายใต้ความไม่แน่นอนของความร่วมมือระหว่างประเทศและ การพัฒนาเทคโนโลยีของโลก ภายใต้ภาพจ�ำลองเหตุการณ์อนาคต “จะเกิดอะไรขึ้นต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกในปี 2563 (What will happen with the climate change (issue) in 2020?)” ที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานของแกนปัจจัยหลัก 2 แกน คือ แกน ปัจจัยความร่วมมือของนานาประเทศที่เป็นลักษณะความร่วมมือเป็นไปในทิศทางเดียวกัน (Aligned) หรือเป็นลักษณะ ความร่วมมือที่ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน (Unaligned) และแกนปัจจัยการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมบนพื้นฐาน การใช้พลังงานจาก Fossil Fuel / Carbon-Based Fuel หรือ การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมบนพื้นฐานการ เพิ่มปริมาณการใช้พลังงานทดแทน (Renewable Fuel / Non Carbon-Based Fuel) เพื่อทดแทนแหล่งพลังงาน จากฟอสซิล Four Scenarios on “What will happen with Climate Change in 2020?”
  • 8. page 14 Scenario1: Balancing World • พฤติกรรมผู้บริโภคมุ่งช่วยการแก้ไขปัญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (climate change) และพยายามเพิ่มการใช้พลังงานทดแทน (Renewable Energy) แม้ว่าจ�ำนวนประชากรโลก เพิ่มขึ้นแต่ระดับความรู้ความสามารถของมนุษย์สูง ขึ้นท�ำให้สามารถสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีอย่าง ต่อเนื่อง • ประเทศต่างๆ ให้ความร่วมมือในการลดปริมาณก๊าซ เรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศโลก เคารพกติกาของ องค์กรระหว่างประเทศและน�ำไปปฏิบัติ รวมทั้งมีการ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ การพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยี ที่สะอาด (Clean Technology) เพื่อบรรลุ เป้าหมายการพัฒนาสู่ความยั่งยืน (Sustainable Development) ในขณะเดียวกันการย้ายถิ่นฐาน ของประชากรโลกแบบไร้พรมแดน และประชาคมโลก ก้าวเป็นสังคมเดียวกัน (One World One Com- munity) • ความส�ำเร็จในการพัฒนาพลังงานทดแทนท�ำให้การ ใช้พลังงานฟอสซิลลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งท�ำให้ ปัญหาโลกร้อนเริ่มผ่อนคลายมากขึ้น และประเทศ ต่างๆ ส่วนใหญ่ด�ำเนินนโยบายการพัฒนาประเทศ อย่างยั่งยืน Scenario2: Uniting World • ประชาคมโลกตระหนักถึงปัญหาโลกร้อน ท�ำให้ องค์กรระหว่างประเทศสามารถก�ำหนดกฎระเบียบ ประชาคมโลกเพื่อลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้น บรรยากาศโลก และประเทศต่างๆ น�ำไปปฏิบัติเพื่อ ปกป้องระบบนิเวศของโลก มีความร่วมมือในการ พัฒนาเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคมและการเตือนภัย ธรรมชาติ โดยสหรัฐและประเทศจีนยอมรับข้อ ตกลง Climate Change Scheme ในการลด ปริมาณก๊าซเรือนกระจก (GHG) • การพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมมุ่งการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงานฟอสซิลควบคู่การ พัฒนาพลังงานทดแทนที่ยังมีต้นทุนการพัฒนาสูง ท�ำให้ประเทศก�ำลังพัฒนาต้องพึ่งพาพลังงาน ฟอสซิลเป็นหลัก Scenario3: Bleeding World • โลกไม่ประสบความส�ำเร็จในการแก้ปัญหาโลกร้อน • ประเทศในกลุ่ม Organization for Economic Co-operation and Development : OECD ไม่ ยอมรับบทบาทขององค์กรระหว่างประเทศ และข้อ จ�ำกัดของแต่ละประเทศด้านรายได้ การศึกษา เทคโนโลยี และการเมือง รวมทั้งปัญหาวิกฤติ เศรษฐกิจ การกระจายรายได้ท�ำให้ประเทศต่างๆ ยัง ไม่สามารถตกลงผลประโยชน์ร่วมกันได้ ท�ำให้ตลาด คาร์บอนเครดิตล้มเหลว • การพัฒนาวิศวกรรม เทคโนโลยีมุ่งเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงานฟอสซิล ในขณะที่การ พัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนเกิดขึ้นไม่มากนัก ท�ำให้ ราคาน�้ำมันปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เศรษฐกิจ เผชิญภาวะถดถอยยาวนาน ท�ำให้อุณหภูมิโลกสูง ขึ้นอย่างต่อเนื่อง Scenario4: Scrambling World • เหตุปัจจัยการเติบโตของเศรษฐกิจโลกมีความแตก ต่างกันในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ท�ำให้ความ ร่วมมือเกิดยากขึ้น และท�ำให้ UNFCCC ประสบ ความล้มเหลวในการผลักดันให้ประเทศต่างๆ ร่วมมือในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก แต่ผู้ บริโภคโดยทั่วไปตระหนักถึงผลกระทบที่จะตามมาและ มุ่งการบริโภคอย่างยั่งยืน • กลุ่มประเทศ OECD ประสบความส�ำเร็จในการ พัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนอย่างมากแต่ต้นทุน การพัฒนาสูงท�ำให้ประเทศก�ำลังพัฒนาได้รับ ประโยชน์น้อย ท�ำให้อุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ
  • 9. page 16 การพัฒนาเทคโนโลยีบนฐาน Renewable Energy และ ประชาคมโลกเกิดความร่วมมือการพัฒนาและแก้ไขปัญหา สภาวะโลกร้อน (Aligned) มีประเด็นเหตุการณ์และ วิวัฒนาการต่างๆ ดังนี้ เหตุการณ์ส�ำคัญ ภายใต้เหตุการณ์ Balancing World Scenario ประกอบด้วย • ผู้บริโภคต้องการให้บริษัทและผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมเพิ่ม มากขึ้น • มีนวัตกรรมด้านพลังงานทดแทนเกิดขึ้นมากและแพร่ กระจายไปทั่วโลก • ต้นทุนการพัฒนาพลังงานทดแทนมีราคาต�่ำและ สามารถแข่งขันได้กับพลังงานฟอสซิล • ประเทศต่างๆ ให้ความร่วมมือในการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนและสนับสนุนการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก สู่ชั้นบรรยากาศโลก • เศรษฐกิจโลกเติบโตอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าราคาน�้ำมัน ในตลาดโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะแรกและมี เสถียรภาพหลังจากมีการพัฒนาแหล่งพลังงาน ทดแทนมากขึ้น • เศรษฐกิจไทยขยายตัวสูงตามเศรษฐกิจโลก • กฎระเบียบการค้าโลกมีความชัดเจน • อุณหภูมิโลกมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากมีการใช้ พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ วิวัฒนาการของเหตุการณ์ภายใต้ Balancing World Scenario มีรายละเอียดล�ำดับของเหตุการณ์ ส�ำคัญต่างๆ ดังนี้ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและประชากร (Population and Social Development) เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013 • จ�ำนวนประชากรโลกมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ด้านพฤติกรรมผู้บริโภคเริ่มเปลี่ยนแปลง อย่างชัดเจนและมุ่งสู่การบริโภคอย่างยั่งยืนโดยให้ ความส�ำคัญกับผลิตภัณฑ์และบริการที่ตอบสนอง ต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน • การสื่อสารแบบไร้พรมแดน และอินเทอร์เน็ตมี อิทธิพลอย่างมากต่อการก�ำหนดพฤติกรรมของ ผู้บริโภคและการเลือก Lifestyle ของคนในเมือง เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016 • ความเสี่ยงจากโรคระบาดสายพันธุ์ใหม่และภัย ธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้นท�ำให้มีการเฝ้าระวังและให้ ความส�ำคัญกับมาตรการป้องกันภัยพิบัติ ธรรมชาติและมาตรการป้องกันโรคระบาดต่างๆ ที่ คุกคามต่อสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ของ มนุษย์ เช่น ไข้หวัดนก ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ รวม ทั้งโรควัณโรคและมาเลเรีย ซึ่งมีความจ�ำเป็นต้อง ด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่องในประเทศ ที่พัฒนาแล้ว • ระบบสาธารณสุขของแต่ละประเทศได้รับการพัฒนา เป็นระบบการประกันสังคมที่มีระบบสาธารณสุข พื้นฐานเข้มแข็งและความมั่นคง โดยเป็นส่วนหนึ่ง ของระบบการช่วยเหลือและคุ้มครองขั้นพื้นฐาน ของสังคม (Social Safety Net) เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020 • ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และนัก วิชาการอิสระมีบทบาทในการจัดการ เฝ้าระวังและ การจัดการสิ่งแวดล้อมมากขึ้น • ความขัดแย้งจากปัญหาเชื้อชาติ ศาสนา ลัทธิ และ ความแตกต่างในระดับรายได้ระหว่างประเทศที่ พัฒนาแล้วกับประเทศก�ำลังพัฒนา และความแตก ต่างของรายได้ประชากรในเขตเมืองและชนบทที่ ขยายกว้างขึ้น ได้น�ำไปสู่ปัญหาความไม่สงบในสังคม ปัญหาการเมืองและนโยบายการพัฒนาประเทศ • การเติบโตของประชากรโลกเริ่มเข้าสู่ภาวะคงที่และมี ขนาดที่พอเหมาะกับระบบนิเวศของโลก • การเคลื่อนย้ายของประชากรในระดับภูมิภาคต่างๆ เข้าสู่ระบบการเคลื่อนย้ายแบบเสรี Scenario 1: Balancing World Balancing World Scenario 1:
  • 10. page 18 • ตลาดสินค้าเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม รวมทั้ง ตลาดน�้ำมันและพลังงานในระยะยาวราคาจะเริ่มเข้าสู่ ระดับดุลยภาพ • มาตรฐานพลังงานและสิ่งแวดล้อมระดับสากลถูก ก�ำหนดเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ภาย ใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และการค้าแบบไร้พรมแดน ที่ ประเทศต่างๆ สามารถส่งออกสินค้าได้อย่างเสรี เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020 • กระแสโลกาภิวัตน์และอิทธิพลของสังคมออนไลน์ (Social Network) ท�ำให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ ต้องจัดท�ำแผนการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศอย่างเป็นรูปธรรม และเป็นไปตาม ข้อตกลงในเวทีการเจรจาระหว่างประเทศ • รัฐบาลประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยน�ำภาษีสิ่ง แวดล้อมและภาษีคาร์บอนมาใช้เพื่อเป็นฐานรายได้ ของรัฐบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในขณะที่ ประชาคมยุโรปบังคับให้สินค้าน�ำเข้ามีมาตรการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก • องค์กรระหว่างประเทศมีบทบาทน�ำในการสร้าง กลไกการบริหารก๊าซเรือนกระจกที่อยู่บนพื้นฐาน กลไกตลาด โดยประเทศที่มีการปล่อยก๊าซเรือน กระจกมากต้องรับภาระมากตามสัดส่วนการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก • ประชาคมโลกเกิดการผสมผสานเป็นสังคมเดียวกัน (One World One Community) และรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ มีความร่วมมืออย่างใกล้ชิดในการ แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดย หน่วยงานภาครัฐออกกฎระเบียบการจัดการ สิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดมากขึ้น • เศรษฐกิจโลกมีเติบโตแบบยั่งยืน และก้าวเป็น ประชาคมที่มีระเบียบ เกิดการก�ำหนดมาตรฐานร่วม กัน รวมทั้งเกิดดุลยภาพความร่วมมือระหว่าง ประเทศพัฒนาแล้วและประเทศก�ำลังพัฒนา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกและ สิ่งแวดล้อม (Environmental and Climate Change) เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013 • อุณหภูมิของโลกมีแนวโน้มสูงขึ้นตามปริมาณการ ใช้พลังงานฟอสซิลที่สูงขึ้น • โลกเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างรุนแรง จากอิทธิพลของเอลนีโญและลานีญา เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016 • กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism) เริ่มมีเสถียรภาพและส่งเสริมให้ ประเทศต่างๆ ด�ำเนินนโยบายการพัฒนาที่มุ่งสู่การ พัฒนาอย่างยั่งยืน เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020 • ตลาดซื้อขายคาร์บอนเครดิต (Carbon Credit Market) ในยุโรป อเมริกา จีนและญี่ปุ่นมีการซื้อขาย เพิ่มขึ้น หลังจากกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism) เริ่มมีเสถียรภาพ มั่นคง และเป็นกลไกสนับสนุนให้ประเทศก�ำลังพัฒนา มุ่งการผลิตสินค้าและบริการควบคู่กับการจัดการ สิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน • อุณหภูมิของโลกมีแนวโน้มลดต�่ำลงเนื่องจาก ประชาคมโลกมีการใช้พลังงานทดแทนมากขึ้นโดย เฉพาะจากแหล่งพลังงานนิวเคลียร์ และพลังงาน ทดแทนอื่นๆ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology Progress & Innovation) เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013 • แรงกดดันจากกลุ่มประเทศผู้ผลิตน�้ำมัน (OPEC) ท�ำให้ราคาน�้ำมันในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อ เนื่องและเป็นแรงผลักดันให้ประเทศต่างๆ เร่งพัฒนา แหล่งพลังงานหมุนเวียน และด�ำเนินมาตรการ ประหยัดพลังงานท�ำให้ความต้องการพลังงานจาก น�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน ลดลง • เกิดการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีด้านพลังงาน ทดแทนและเทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) อย่างต่อเนื่องโดยได้รับการสนับสนุนจากมาตรการ ภาษีของรัฐ และโครงการร่วมพัฒนาระหว่าง ประเทศในระดับภูมิภาคและกลุ่มความร่วมมือต่างๆ เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016 • แม้ว่าราคาน�้ำมันในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในช่วงก่อนหน้านี้ แต่เริ่มชะลอตัวลงและมี เสถียรภาพเนื่องจากความต้องการพลังงานจาก น�้ำมัน ถ่านหินและก๊าซธรรมชาติชะลอตัวลง ซึ่งเกิด จากความส�ำเร็จในการพัฒนาแหล่งพลังงาน ทดแทนเพิ่มขึ้น • ประชาคมยุโรป สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นมีบทบาทน�ำ ในการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานชีวภาพ พลังงาน ลม และความร้อนใต้พิภพ • ราคาน�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติและถ่านหินปรับตัวสูง ขึ้นส่วนหนึ่งมาจากภาระภาษีสิ่งแวดล้อมและภาษี คาร์บอนไดอ็อกไซด์ ความร่วมมือระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมและ เศรษฐกิจ (International Cooperation on Environment and Economics) เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013 • สหรัฐอเมริกาและจีนเห็นชอบกับเป้าหมายการลด ปริมาณก๊าซเรือนกระจกและก�ำหนดทางเลือกที่ ชัดเจน คือ ประเทศสหรัฐอเมริกาจะให้ความส�ำคัญ กับโครงการ CDM ที่มีต้นทุนในการลดปริมาณ ก๊าซเรือนกระจกต�่ำกว่าวิธีการอื่นๆ โดยจะเริ่มขึ้น อย่างจริงจังในช่วงปี 2013 เป็นต้นไป • ประเทศพัฒนาแล้วได้สร้างระบบจูงใจให้ผู้บริโภคและ ผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการ Carbon Footprint โครงการปลูกป่าเพื่อลดสภาวะโลกร้อน และ โครงการอื่นๆ ในขณะที่บางประเทศด�ำเนินมาตรการ ภาษีสิ่งแวดล้อมและภาษีคาร์บอนไดออกไซด์ เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016 • เวทีการเจรจาระหว่างประเทศภายใต้กรอบความ ร่วมมือต่างๆ เช่น กลุ่มความร่วมมือทาง เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Eco- nomic Cooperation: APEC) สมัชชาประเทศภาคี อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศโลก (UNFCCC) กลุ่มประเทศ อุตสาหกรรมชั้นน�ำและประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ 20 แห่ง หรือ G20 (The Group of Twenty Finance Ministers and Central Bank Governors – G20) สภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum- WEF) และเวทีเจรจาแบบพหุภาคีอื่นๆ มี ความเห็นแบบพึ่งพาร่วมกัน ท�ำให้เกิดข้อตกลงการ แก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก เป็นรูปธรรมทั้งข้อตกลงในระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020 • ราคาพลังงานเริ่มมีเสถียรภาพ และไม่เป็นปัจจัย ส�ำคัญต่อความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ ต่างๆ • การพัฒนาเทคโนโลยีหุ่นยนต์ และการพัฒนาแหล่ง พลังงานทดแทนในประเทศพัฒนาแล้วประสบความ ส�ำเร็จอย่างต่อเนื่องและเริ่มกระจายไปยังประเทศ ก�ำลังพัฒนา โดยเฉพาะการพัฒนาโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ และโรงไฟฟ้าจากการก�ำจัดขยะมูลฝอย • เกิดความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีพลังงานและ อุตสาหกรรมยานยนต์ โดยท�ำให้การคมนาคมขนส่ง สามารถพึ่งพาพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น เช่น Fuel Cell ในรถยนต์ขนาดเล็ก การพัฒนาระบบรถไฟฟ้า มวลชน เป็นต้น
  • 11. page 20 การพัฒนาเทคโนโลยีบนฐาน Fossil Fuel และประชาคมโลก เกิดความร่วมมือการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสภาวะโลก ร้อน (Aligned) มีประเด็นเหตุการณ์และวิวัฒนาการ ต่างๆ ดังนี้ เหตุการณ์ส�ำคัญ ภายใต้ Uniting World Scenario ประกอบด้วย • ผู้บริโภคมีค่านิยมที่มุ่งการพัฒนาอย่างยั่งยืน • การพัฒนาเทคโนโลยีอยู่บนพื้นฐานพลังงาน ฟอสซิลและเกิดขึ้นอย่างช้าๆ • ความร่วมมือระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหาโลก ร้อนอยู่ในระดับสูง และมีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติอย่างเป็นระบบ • เศรษฐกิจโลกเติบโตอย่างช้าๆ และมีการค้นพบแหล่ง ทรัพยากรน�้ำมันเพิ่มขึ้น • การแข่งขันและการกีดกันการค้าระหว่างประเทศไม่ รุนแรงและมีแนวโน้มร่วมมือมากขึ้นอย่างช้าๆ • ก๊าซเรือนกระจก อุณหภูมิโลกและภัยธรรมชาติมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม วิวัฒนาการของเหตุการณ์ภายใต้ Uniting World Scenario มีรายละเอียดล�ำดับของเหตุการณ์ จ�ำลอง ดังนี้ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและประชากร (Population and Social Development) เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013 • ประชากรโลกขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและเป็น แรงกดดันการใช้พลังงานฟอสซิลและการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มมากขึ้น • ผู้บริโภคในประเทศพัฒนาแล้วให้ความส�ำคัญกับ Green Products & Sustainability Development ในขณะที่ผู้บริโภคในประเทศยากจนยังมีความสนใจ น้อย โดยยังมุ่งสินค้าราคาถูกมากกว่าการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและการพัฒนาอย่างยั่งยืน แต่การกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศไม่รุนแรง • รัฐบาลของประเทศต่างๆ รวมทั้งกลุ่มองค์กรภาค เอกชนที่ไม่แสวงหาก�ำไร (Non-Governmental Organization: NGOs) ด�ำเนินการรณรงค์ให้ ประชาชน ธุรกิจเอกชนและองค์กรภาครัฐให้ความ ส�ำคัญการใช้จ่าย การบริโภคอุปโภคที่มุ่งช่วยลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศโลก โดย ไม่มีการแบ่งแยกชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา และ วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน เพราะต่างตระหนักดี ว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกก่อให้เกิด เหตุการณ์อันตรายร้ายแรงเพิ่มมากขึ้นเป็นล�ำดับ เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016 • สังคมเมืองและสังคมชนบทเกิดกระแสการพัฒนา อย่างยั่งยืน (Sustainable Development) อย่าง จริงจังและต้องการให้รัฐบาลและผู้ประกอบการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างสมดุล กล่าวคือ “การตอบสนองความ ต้องการของคนรุ่นปัจจุบัน โดยไม่มีผลกระทบใน ทางลบต่อความต้องการของคนรุ่นต่อไปใน อนาคต” เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020 • ประชากรโลกเริ่มประสบปัญหาการขาดแคลน พลังงานและอาหารไม่เพียงพอ ท�ำให้ประชากรโลก เพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่อง • ประชากรย้ายมาอยู่ในเมืองมากขึ้น ท�ำให้สังคมเมือง มีขนาดใหญ่ขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ความสัมพันธ์ใน สังคมเมืองเป็นแบบครอบครัวเดี่ยว และเป็นความ สัมพันธ์แบบไม่ยั่งยืน • กฏระเบียบ กฏหมาย และข้อบังคับในสังคมมีความ ซับซ้อน และมีลักษณะเข้มงวด • โลกให้ความส�ำคัญกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficient Economy) ควบคู่กับการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน (Sustainable Development) เพราะ ตระหนักดีว่า การบริโภคในปัจจุบันต้องอยู่บน พื้นฐานข้อจ�ำกัดของทรัพยากรธรรมชาติ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology Progress & Innovation) เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013 • ราคาน�้ำมันในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับ โดยเพิ่มขึ้นจากระดับ 74 เหรียญสหรัฐต่อบาเรล ในเดือนมกราคม 2553 เป็น 84 เหรียญสหรัฐต่อ บาเรลในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ทั้งนี้จากความ ต้องการน�้ำมัน ก๊าซและถ่านหินยังขยายตัวเพิ่มขึ้น จากประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศก�ำลังพัฒนา โดยเฉพาะประเทศจีน ซึ่งจะส่งผลให้ราคาน�้ำมันใน ตลาดโลกเพิ่มขึ้นเป็นมากกว่า 130 เหรียญสหรัฐ ต่อบาเรลในปี 2013 Scenario 2: Uniting World Uniting World Scenario 2:
  • 12. page 22 เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020 • ประเทศต่างๆ ยอมรับข้อผูกพันระหว่างประเทศใน การออกระเบียบและมาตรฐานการจัดการสิ่ง แวดล้อมแบบยั่งยืน (New World Order) ทั้งใน ส่วนมาตรการสมัครใจ (Voluntary Measures) และ มาตรการบังคับ (Compulsory Measures) เช่น การส่งเสริมให้ภาคเอกชนด�ำเนินการปรับเปลี่ยน เครื่องจักรประหยัดพลังงาน การออกแบบและ ก่อสร้างอาคารประหยัดพลังงาน และการจัดท�ำ คาร์บอนฟุตพริ้นท์ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม การปรับโครงสร้างภาษีเพื่อลด ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Carbon Taxation) การประกาศควบคุมปริมาณรถยนต์ใน เมืองใหญ่ เป็นต้น • รัฐบาลประเทศพัฒนาแล้วเริ่มน�ำภาษีสิ่งแวดล้อมและ ภาษีก๊าซคาร์บอนมาบังคับใช้ รวมทั้งมาตรการลด ก๊าซเรือนกระจกและการพัฒนามาตรฐานต่างๆ เพื่อ จัดการแก้ไขปัญหาโลกร้อน โดยใช้กลไกตลาด (Market Mechanism) เป็นเครื่องมือในการ ควบคุมและลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก • การก�ำหนดนโยบาย Climate Change ของนานา ประเทศเกิดขึ้นทั่วโลก และเกิดเป็นรูปแบบสากลที่ ก�ำหนดขึ้นโดยองค์กรระหว่างประเทศ เช่น มาตรฐานสิ่งแวดล้อมโดยองค์การระหว่างประเทศ ว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) องค์กรเอกชน และ องค์กรคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น • เศรษฐกิจโลกก้าวเข้าสู่ Low Carbon Economy และเริ่มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผล มาจากการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศได้กลับ มาขยายตัวตามระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกและ สิ่งแวดล้อม (Environmental and Climate Change) เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013 • อุณหภูมิโลกปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากประชาคม โลกควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้เพียงบาง ส่วน แม้ว่าความร่วมมือระหว่างประเทศในการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมีมากขึ้น และมีการค้นพบ แหล่งทรัพยากรใหม่ๆ • โลกเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างรุนแรง จากอิทธิพลของเอลนีโญและลานีญา และการ หลอมละลายของน�้ำแข็งบริเวณขั้วโลกเหนือ เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016 • เกิดการพัฒนาประสิทธภาพเครื่องยนต์ เครื่องใช้ ไฟฟ้า หลอดไฟแสงสว่าง คอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ประหยัดพลังงานต่างๆ ซึ่งมีผลท�ำให้การ ใช้พลังงานลดลงและลดปริมาณการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศโลก • กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism) และตลาดซื้อขายคาร์บอนเครดิตเริ่ม มีการซื้อขายมากขึ้น และกระตุ้นให้ประเทศต่างๆ พัฒนาโครงการ CDM และโครงการความร่วมมือ ในรูปแบบต่างๆ เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020 • ตลาดคาร์บอนเครดิตในประเทศต่างๆ โดยเฉพาะใน สหรัฐอเมริกา จีน และยุโรปโดยเป็นตลาดที่มีขนาด ใหญ่และมีเสถียรภาพ • อุณหภูมิของโลกมีแนวโน้มคงที่ เนื่องจากประชาคม โลกมีการใช้พลังงานฟอสซิลลดน้อยลง รวมทั้ง การใช้พลังงานทดแทนมากขึ้น เช่น พลังงาน นิวเคลียร์ และพลังงานแสงอาทิตย์ • การพัฒนาเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน โดยใช้ หุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติเกิดขึ้นน้อย เพราะมี ต้นทุนการพัฒนาสูง ท�ำให้ประชาคมโลกพึ่งพา พลังงานจากก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินและน�้ำมัน แม้ว่า มีราคาเพิ่มขึ้นสูงอย่างต่อเนื่องและผันผวนมาก โดยกลุ่มโอเปคยังเป็นผู้ก�ำหนดราคาน�้ำมันในตลาด โลก • ประเทศพัฒนาแล้วที่มีความพร้อมทางเทคโนโลยี ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ประชาคมยุโรป ญี่ปุ่น และ เกาหลีใต้ทุ่มเทงบประมาณวิจัย พัฒนาเทคโนโลยี เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เช่น การวิจัยเพิ่ม ประสิทธิภาพเครื่องยนต์ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้าใน โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม ศูนย์การค้าและที่อยู่ อาศัยในครัวเรือน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มี ขนาดเบา การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพและ การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016 • ราคาน�้ำมันมีแนวโน้มสูงขึ้นโดยตลอด ท�ำให้ราคา น�้ำมันในตลาดโลกจะอยู่ระหว่าง 130 - 200 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ทั้งนี้ยังขึ้นอยู่กับปัจจัย แวดล้อมอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการปรับระดับราคา น�้ำมันขึ้น-ลงในช่วงเวลานั้น เช่น การก่อการร้ายใน สหรัฐอเมริกาและประชาคมยุโรป วิกฤตเศรษฐกิจ การเงินในประชาคมยุโรป การเกิดภัยธรรมชาติ อย่างรุนแรง และการขยายตัวของเศรษฐกิจใน ประเทศพัฒนาแล้ว • มีการค้นพบแหล่งทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึ้น รวม ทั้งแหล่งน�้ำมันดิบ และการน�ำวัสดุกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เพิ่มขึ้นเป็นมากกว่าร้อยละ 50 ของการ ใช้วัตถุดิบทั้งหมด ความร่วมมือระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมและ เศรษฐกิจ (International Cooperation on Environment and Economics) เหตุการณ์ในช่วงปี 2011-2013 • เศรษฐกิจโลกขยายตัวน้อยและผันผวนตามภาวะ การเปลี่ยนแปลงของอากาศโลกและผลผลิต การเกษตร ราคาพลังงานจากฟอสซิลปรับตัวเพิ่ม ขึ้นอย่างช้าๆ และจากราคาน�้ำมันมีแนวโน้มสูงขึ้น อย่างรวดเร็วและผันผวนอย่างรุนแรงก่อปัญหา วิกฤตเศรษฐกิจอย่างส�ำคัญต่อประเทศผู้พึ่งพา แหล่งพลังงานจากต่างประเทศ และน�ำไปสู่วิกฤต เศรษฐกิจโลกโดยรวม กล่าวคือ ราคาน�้ำมันที่แพง ขึ้นอย่างรวดเร็วท�ำให้เศรษฐกิจโลกถดถอย (Re- cession) • รัฐบาลของประเทศต่างๆ ให้ความส�ำคัญกับการแก้ ปัญหาสภาวะโลกร้อน โดยประเทศจีนและ สหรัฐอเมริกาให้ความร่วมมือในการแก้ไขสภาวะโลก ร้อนและปรับเงื่อนไขข้อตกลงให้เป็นที่ยอมรับจาก ประชาคมยุโรปและญี่ปุ่น ซึ่งมีผลผูกพันก่อนปี 2012 หรือก่อนที่พันธกรณีของประเทศสมาชิก ตามพิธีสารเกียวโตจะสิ้นสุดลง หลังจากประสบ ภาวะชะงักงันในที่ประชุมประเทศภาคีสมาชิก อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศโลก (UNFCCC) ครั้งที่ 15 และ ครั้งที่ 16 ที่ผ่านมา เหตุการณ์ในช่วงปี 2014-2016 • สหรัฐอเมริกาและจีนให้ความร่วมมือในการแก้ไข สภาวะโลกร้อนโดยให้เงินสนับสนุนแก่ประเทศก�ำลัง พัฒนาที่ยังไม่มีบทบาทส�ำคัญต่อการแก้ไขสภาวะ โลกร้อน • ประเทศในกลุ่มองค์การเพื่อความร่วมมือทาง เศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development - OECD) มีความร่วมมือระดับนโยบายในลักษณะ Guidelines for best practices แต่นโยบายของ ประเทศสมาชิกแต่ละประเทศยังคงมุ่งแข่งขันการ พัฒนาให้มีประสิทธิภาพเหนือกว่าประเทศอื่นๆ เหตุการณ์ในช่วงปี 2017-2020 • ประเทศต่างๆ ด�ำเนินมาตรการประหยัดการใช้น�้ำมัน และส่งเสริมการพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนและ ทางเลือก เช่น พลังงานนิวเคลียร์ และพลังงาน หมุนเวียนต่างๆ รวมทั้งการลงทุนค้นหาแหล่ง น�้ำมันส�ำรองใหม่ๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ท�ำให้ราคาน�้ำมันใน ตลาดโลกปรับตัวลดลงและเข้าสู่ระดับดุลยภาพของ ตลาด • เทคโนโลยีประหยัดพลังงานในสาขาการคมนาคมและ ขนส่ง การผลิตอุปกรณ์แสงสว่าง การพัฒนาหุ่น ยนต์ และระบบอัตโนมัติในภาคอุตสาหกรรมเกิดขึ้น อย่างรวดเร็ว และมีต้นทุนลดลง โดยเฉพาะในประเทศ อุตสาหกรรม • เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีพลังงานสะอาด (Green Technology) ที่มีรูปแบบชัดเจนระหว่างประเทศ พัฒนาแล้วกับประเทศก�ำลังพัฒนา • ประเทศก�ำลังพัฒนามีความสนใจเข้าร่วมโครงการ ภายใต้กองทุนสิ่งแวดล้อม (Green Fund) ของ องค์กรระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก และประเทศ พัฒนาที่ส�ำคัญ โดยการให้เงินช่วยเหลือแก่ประเทศ ก�ำลังพัฒนาในการปลูกป่า การจัดการป่าไม้แบบ ยั่งยืนและการจัดซื้อเทคโนโลยีสีเขียว