SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๒๓ โสมนัสสจริยา
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ข้าแต่พระบิดาผู้เป็นใหญ่ในชน เพชฌฆาตสะพายดาบ นุ่งผ้าย้อมน้าฝาดเดินมาจะฆ่าข้าพระองค์.
ข้าแต่เทวะ ข้าพระองค์นั่งบนตักพระชนนี เพชฌฆาตเหล่านั้นฉุดคร่าข้าพระองค์อย่างรีบร้อน. ข้าแต่
พระราชา ข้าพระองค์ได้รับทุกข์เผ็ดร้อนแสนสาหัส ได้ชีวิตอันเป็นที่รักหวานซาบซึ้งใจ. วันนี้ ข้าพระองค์พ้น
จากการฆ่าได้ด้วยความยาก. ข้าพระองค์มีใจมุ่งต่อบรรพชา.
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๒. โสมนัสสจริยา
ว่าด้วยพระจริยาของพระโสมนัสสกุมาร
[๗] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นบุตรสุดที่รัก พระมารดาและพระบิดารักใคร่ เอ็นดู ปรากฏ
นามว่าโสมนัส อยู่ในกรุงอินทปัตถ์ที่อุดมสมบูรณ์
[๘] เป็นผู้มีศีล สมบูรณ์ด้วยคุณธรรม มีกัลยาณธรรม มีปฏิภาณ เคารพนบนอบต่อบุคคลผู้
เจริญ มีหิริ และฉลาดในสังคหธรรม
[๙] ครั้งนั้น มีดาบสโกงผู้หนึ่ง เป็นที่โปรดปรานของพระราชาพระองค์นั้น ดาบสนั้นทาสวน
และปลูกไม้ผล ไม้ดอก ไม้ประดับเลี้ยงชีวิต
[๑๐] เราได้เห็นดาบสโกงนั้น เหมือนกองแกลบที่ไม่มีข้าวสาร เหมือนไม้เป็นโพรงข้างใน
เหมือนต้นกล้วยหาแก่นมิได้
[๑๑] ดาบสโกงผู้นี้ ไม่มีธรรมของสัตบุรุษ ปราศจากความเป็นสมณะ ละหิริและธรรมฝ่ายขาว
เพราะเหตุแห่งการเลี้ยงชีวิต
[๑๒] ปัจจันตชนบทกาเริบขึ้น เพราะโจรเที่ยวอยู่ในดง พระบิดาของเรา เมื่อจะเสด็จไปปราบ
ความกาเริบนั้น ตรัสสั่งเราว่า
[๑๓] พ่ออย่าประมาทในชฎิล ผู้มีตบะแก่กล้านะลูก พ่อจงอนุวัตรตามความปรารถนา ด้วยว่า
ชฎิลนั้น เป็นผู้ให้ความสาเร็จ ความปรารถนาทั้งปวง
[๑๔] เราไปสู่ที่บารุงชฎิลนั้นแล้ว ได้กล่าวคานี้ ว่า คหบดี ท่านสบายดีหรือ หรือว่าท่านจะให้นา
อะไรมา
2
[๑๕] เหตุนั้น ดาบสโกงนั้นอาศัยมานะจึงโกรธเราว่า เราจะให้พระราชาประหารท่านเสียใน
วันนี้ หรือจะให้เนรเทศเสียจากแว่นแคว้น
[๑๖] พระราชาทรงปราบปรามปัจจันตชนบทสงบราบคาบแล้ว ได้ตรัสถามชฎิลโกงว่า พระผู้
เป็นเจ้าสบายดีหรือ สักการสัมมานะยังเป็นไปแก่พระผู้เป็นเจ้าหรือ
[๑๗] ชฎิลชั่วนั้นกราบทูลพระราชา โดยประการที่กุมารนั้นจะพึงถูกทาให้พินาศเสีย พระเจ้า
แผ่นดินทรงสดับคาของชฎิลโกงนั้น แล้วทรงบังคับว่า
[๑๘] จงตัดศีรษะเสียในที่นั้นนั่นแหละ จงบั่นออกเป็น ๔ ท่อน ประจานไว้ที่ถนน นั่นเป็น
ตัวอย่างที่เบียดเบียนชฎิล
[๑๙] พวกโจรฆาต(ผู้ฆ่าโจร)ผู้มีใจดุร้ายหยาบคาย ไม่มีความกรุณาเหล่านั้น ผู้ได้รับพระราช
โองการไปที่นั้น เมื่อเรานั่งอยู่บนพระเพลาของพระมารดา ก็ฉุดคร่านาเราไป
[๒๐] เราได้กล่าวแก่เขาเหล่านั้น ซึ่งกาลังผูกมัดอย่างมั่นคงนี้ ว่า ท่านทั้งหลายจงพาเราไปเฝ้า
พระราชาโดยเร็ว ราชกิจของเรามีอยู่
[๒๑] เขาเหล่านั้น พาเราไปเฝ้าพระราชาผู้ชั่ว คบแต่คนชั่ว เราไปเฝ้าพระราชาแล้ว ทูลให้ทรง
เข้าพระทัยและนามาสู่อานาจของเรา
[๒๒] พระบิดาขอให้เราอดโทษ ณ ที่นั้น ได้พระราชทานสมบัติอันยิ่งใหญ่แก่เรา เรานั้นทาลาย
ความมืดมนแล้ว ออกบวชเป็นบรรพชิต
[๒๓] ราชสมบัติจะเป็นที่น่ารังเกียจของเราก็หาไม่ กามโภคะจะเป็นสิ่งที่เราพึงรังเกียจก็หาไม่
แต่เพราะพระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา เพราะฉะนั้น เราจึงสละราชสมบัติ ฉะนี้ แล
โสมนัสสจริยาที่ ๒ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญเนกขัมมบารมีเป็นต้น
๒. โสมนัสสจริยา
อรรถกถาโสมนัสสจริยาที่ ๒
ในครั้งนั้นมีดาบสชื่อว่ามหารักขิตะ มีดาบส ๕๐๐ เป็นบริวารอยู่ในหิมวันตประเทศ เที่ยวจาริก
ไปยังชนบทเพื่อต้องการเสพของเค็มและของเปรี้ยว ถึงกรุงอินทปัตถะ อยู่ในพระราชอุทยานพร้อมด้วย
บริวาร เที่ยวไปบิณฑบาตถึงประตูพระราชวัง.
พระราชาทอดพระเนตรเห็นหมู่ฤๅษี ทรงเลื่อมใสในอิริยาบถ ให้นั่งบนพื้นใหญ่ที่ตกแต่งแล้ว
ทรงอังคาสด้วยอาหารอันประณีต แล้วตรัสว่า ขอพระคุณท่านจงอยู่ในอุทยานของข้าพเจ้าตลอดฤดูฝนนี้ เถิด
แล้วเสด็จไปพระราชอุทยานกับพระดาบสเหล่านั้นรับสั่งให้สร้างที่อยู่ ทรงถวายบริขารของบรรพชิตแล้ว
เสด็จออกไป.
ตั้งแต่นั้นมา ดาบสทั้งปวงเหล่านั้นก็บริโภคในพระราชนิเวศน์.
3
ฝ่ายพระราชาไม่มีโอรส ทรงปรารถนาโอรส โอรสก็ยังไม่เกิด.
ครั้นออกพรรษาพระมหารักขิตะคิดว่า เราจะต้องกลับไปป่าหิมวันตะ จึงลาพระราชา. พระราชา
ทรงกระทาสักการะสัมมานะ แล้วออกไปในระหว่างตอนกลางวันและจากทางพร้อมด้วยบริวาร นั่งภายใต้
ต้นไม้มีเงาหนาทึบต้นหนึ่ง.
ดาบสทั้งหลายสนทนากันว่า พระราชาไม่มีพระโอรส จะพึงเป็นการดี หากพระราชาได้พระราช
บุตร.
ท่านมหารักขิตะได้ฟังการสนทนานั้นจึงใคร่ครวญดูว่าพระโอรสของพระราชาจักมีหรือไม่หนอ
ทราบว่าจักมีจึงกล่าวว่า พวกท่านอย่าคิดไปเลย วันนี้ เวลาใกล้รุ่ง เทพบุตรองค์หนึ่งจักจุติลงมาเกิดในพระ
ครรภ์ของพระอัครมเหสีของพระราชา.
ชฎิลโกงคนหนึ่งได้ฟังดังนั้นคิดว่า บัดนี้ เราจักเป็นราชกุลูปกะคือผู้เข้าถึงราชตระกูล. ครั้น
ดาบสทั้งหลายจะไปจึงทาเป็นไข้นอนซม เมื่อดาบสกล่าวว่ามาไปกันเถิด. กล่าวว่า ผมไปไม่ไหว.
มหารักขิตดาบสรู้เหตุที่ดาบสนั้นนอน จึงกล่าวว่า ท่านไปได้เมื่อใดก็พึงตามไปเถิด แล้วพาหมู่
ฤๅษีไปถึงหิมวันตประเทศ.
ดาบสโกหกรีบกลับไปยืนอยู่ที่ประตูพระนคร ให้คนไปทูลพระราชาว่า ดาบสอุปัฏฐากของมหา
รักขิตดาบสกลับมา.
พระราชารับสั่งให้ราชบุรุษรีบไปเรียกมา จึงขึ้นปราสาท นั่งบนอาสนะที่เขาปูไว้.
พระราชาทรงไหว้ดาบสนั้น แล้วประทับนั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่ง ตรัสถามถึงความไม่มีโรคของฤๅษี
ทั้งหลายแล้วตรัสว่า พระคุณท่านกลับมาเร็วนัก มีความต้องการอะไรหรือ.
ดาบสโกงทูลว่า มหาราช หมู่ฤๅษีเป็นสุขดี สนทนากันว่าจะพึงเป็นการดี หากพระราชบุตรผู้
ดารงวงศ์ตระกูลของพระราชาจะพึงบังเกิด. อาตมาได้ฟังการสนทนากันจึงตรวจดูด้วยทิพยจักษุว่า พระโอรส
ของพระราชาจักมีหรือไม่หนอ จึงเห็นว่า เทพบุตรผู้มีฤทธิ์มากจักจุติลงมาเกิดในพระครรภ์ของพระนางสุ
ธรรมาอัครมเหสี แล้วทูลว่าอาตมามาก็เพื่อจะทูลพระองค์ว่า ชนทั้งหลาย เมื่อไม่รู้จะพึงยังพระครรภ์ให้
พินาศได้ อาตมาจะทูลข้อนั้นก่อน อาตมาทูลแด่พระองค์แล้ว อาตมาก็จะกลับไป.
พระราชาตรัสว่า พระคุณอย่าไปเลย ทรงยินดีร่าเริงมีพระทัยเลื่อมใส ทรงนาดาบสโกงไปพระ
ราชอุทยานจัดแจงที่อยู่พระราชทาน. ตั้งแต่นั้นมาดาบสโกงนั้นก็บริโภคในราชตระกูลอาศัยอยู่.
ดาบสโกงมีชื่อว่า ทิพพจักขุกะ.
ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์จุติจากดาวดึงสพิภพ ถือปฏิสนธิในกรุงอินทปัตถะนั้น. ในวันขนานพระ
นามของพระกุมารที่ประสูติ พระชนกชนนีทรงตั้งพระนามว่าโสมนัสสะ.
โสมนัสสกุมารทรงเจริญด้วยการเลี้ยงดูกุมาร.
ดาบสโกงก็ปลูกผักสาหรับแกง และผลมีเถาเป็นต้นเอาไปขายในท้องตลาด รวบรวมทรัพย์ไว้.
ลาดับนั้น ในขณะที่พระโพธิสัตว์มีพระชนม์ได้ ๗ พระพรรษา ชายแดนของพระราชากาเริบ.
พระองค์ตรัสสั่งพระกุมารว่า ลูกอย่าประมาทในทิพพจักขุดาบส แล้วเสด็จเพื่อทรงปราบชายแดนให้สงบ.
อยู่มาวันหนึ่ง พระกุมารเสด็จไปพระราชอุทยานด้วยทรงดาริว่าจักเยี่ยมชฎิล ทรงเห็นชฎิลโกง
4
นุ่งผ้ากาสาวะมีกลิ่นผืนหนึ่ง ห่มผืนหนึ่ง ถือหม้อสองใบด้วยมือทั้งสอง รดน้าในที่ปลูกผักทรงรู้ว่าชฎิลโกงนี้
ไม่ประกอบสมณธรรมของตน ทาการขายของในตลาด จึงตรัสถามว่า คหบดีฝักบัว ทาอะไร? ทาเอาดาบส
โกงละอายแล้วเสด็จออกไป.
ชฎิลโกงคิดว่า กุมารนี้ เดี๋ยวนี้ ยังเป็นถึงอย่างนี้ ภายหลังใครจะรู้ว่ากุมารนี้ จักทาอะไร เราควร
จัดการกุมารนี้ ให้พินาศเสียในตอนนี้ แหละ ในเวลาพระราชาเสด็จมาจึงเหวี่ยงแผ่นหินไปเสียข้างหนึ่ง แล้ว
ทาลายหม้อน้าเสียเกลี่ยหญ้าที่บรรณศาลา เอาน้ามันทาร่างกายเข้าไปยังบรรณศาลา คลุมตลอดศีรษะนอน
บนเตียงดุจเป็นทุกข์หนัก.
พระราชาเสด็จกลับทรงกระทาประทักษิณพระนครยังไม่เสด็จเข้าพระราชวัง ทอดพระเนตรเห็น
ความผิดปกตินั้น ทรงดาริว่านั่นอะไรกัน จึงเสด็จเข้าไปภายในทรงเห็นดาบสโกงนั้นนอนอยู่ จึงทรงลูบที่เท้า
ตรัสถามว่า ใครเบียดเบียนพระคุณท่านอย่างนี้ . เราจะฆ่าเสียวันนี้ แหละ. พระคุณท่านจงรีบบอกมา.
ชฎิลโกงฟังดังนั้นถอนหายใจลุกขึ้นทูลว่า มหาราช ข้าพระองค์มาเฝ้าพระองค์ เพราะการมาเฝ้า
นั่นแหละ ข้าพระองค์จึงต้องได้รับความเดือดร้อนนี้ เพราะความคุ้นเคยในพระองค์ โอรสของพระองค์นั่น
แหละเบียดเบียนข้าพระองค์.
พระราชาทรงสดับดังนั้นจึงมีพระราชบัญชาให้เพชฌฆาตจงไปตัดศีรษะพระกุมาร ตัดให้เป็นชิ้น
เล็กชิ้นน้อยแล้วนาไปทิ้งไว้กลางถนน.
พวกเพชฌฆาตก็ไปฉุดพระกุมารซึ่งพระมารดาตกแต่งแล้วให้ประทับนอนบนตักของพระนาง
ทูลว่า พระราชามีพระบัญชาให้ฆ่าพระกุมาร.
พระกุมารทรงกลัวความตาย เสด็จลุกจากตักพระมารดาแล้วตรัสว่า พวกท่านจงนาเราไปเฝ้า
พระราชา. เรามีราชกิจที่จะต้องกราบทูล. พวกเพชฌฆาตฟังพระดารัสของพระกุมารแล้วก็ไม่อาจฆ่าได้จึงเอา
เชือกมัดดุจมัดโค นาไปเฝ้าพระราชา.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
เราได้เห็นดาบสโกงนั้น เหมือนกองแกลบอันไม่มีข้าวสาร เหมือนไม้เป็นโพลงข้างใน เหมือนต้น
กล้วยไม่มีแก่น ดาบสโกงผู้นี้ ไม่มีธรรมของสัตบุรุษ ปราศจากความเป็นสมณะ ละธรรมขาวคือหิริ เพราะเหตุ
แห่งการเลี้ยงชีวิต.
ปัจจันตชนบทกาเริบขึ้น เพราะโจรอันเที่ยวอยู่ในดง พระชนกของเรา เมื่อจะเสด็จไปปราบ
ความกาเริบนั้น ตรัสสั่งเราว่า พ่ออย่าประมาทในชฎิลผู้มีความเพียรอันแรงกล้านะ พ่อจงอนุวัตรตามความ
ปรารถนา ด้วยว่าชฎิลนั้น เป็นผู้ให้ความสาเร็จความปรารถนาทั้งปวง.
พระเจ้ากุรุ พระชนกของเราเมื่อเสด็จไปปราบความกาเริบในชายแดนนั้นให้สงบ ในกาลนั้นได้
สอนเราว่า พ่อโสมนัสสกุมาร พ่ออย่าประมาทชฎิลผู้เป็นนายของพ่อมีความเพียรสูง มีตบะกล้ามีอินทรีย์
สงบอย่างยิ่ง. ชฎิลนั้นได้ให้ความสาเร็จที่ปรารถนาทุกอย่างแก่พวกเรา เพราะฉะนั้น พ่อจงอนุวัตรตามความ
ปรารถนา ตามความชอบใจ อนุเคราะห์ชฎิลนั้น.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
เราไปสู่ที่บารุงชฎิลนั้นแล้วได้กล่าวดังนี้ ว่า ดูก่อนคฤหบดี ท่านสบายดีดอกหรือ หรือว่าท่านจะ
5
ให้นาเอาอะไรมา เหตุนั้นดาบสโกงนั้นอาศัยมานะจึงโกรธเราว่า เราจะให้พระราชาฆ่าท่านเสียในวันนี้ หรือ
จะให้ขับไล่เสียจากแว่นแคว้น
พระราชาทรงปราบปัจจันตชนบทสงบแล้ว ได้ตรัสถามชฎิลโกงว่า พระคุณท่านสบายดีหรือ
สักการะสัมมานะยังเป็นไปแก่พระคุณท่านหรือ.
ชฎิลโกงนั้นทูลแด่พระราชาเหมือนว่าพระกุมารจะทาให้ฉิบหาย. พระราชาทรงสดับคาของ
ชฎิลโกงนั้น ทรงมีพระราชบัญชาว่า จงตัดศีรษะเสียในที่นี้ นั่นแหละ จงสับฟันบั่นออกเป็น ๔ ท่อน ทิ้งไว้ใน
ท่ามกลางถนนให้คนเห็นว่า นั่นเป็นผลของคนเบียดเบียนชฎิล พวกเพชฌฆาตมีใจดุร้ายไม่มีสงสารเหล่านั้น
เพราะมีพระราชบัญชา เมื่อเรานั่งอยู่บนตักของพระมารดา ก็ฉุดคร่านาเราไป.
ก็เมื่อพระกุมารถูกเพชฌฆาตนาไป พระสุธรรมาเทวีแวดล้อมด้วยหมู่ทาสีพร้อมด้วยพวกสนม
แม้ชาวพระนครต่างก็พากันไปกับพระกุมารนั้น ด้วยคิดว่า พวกเราจักไม่ให้ฆ่าพระกุมารนั้นผู้ไม่มีความผิด.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
เราได้กล่าวแก่เขาเหล่านั้นซึ่งกาลังผูกมัดอย่างมั่นคงอย่างนี้ ว่า ท่านทั้งหลายจงพาเราไปเฝ้า
พระราชาโดยเร็ว ราชกิจของเรามีอยู่ เขาเหล่านั้นเป็นคนลามกและคบกับคนลามก พาเราไปเฝ้าพระราชา.
เราไปเฝ้าพระราชาแล้วทูลให้เข้าพระทัย และนามาสู่อานาจของเรา.
เมื่อพระราชาตรัสว่า ก็เพราะเหตุไร เจ้าจึงเรียกทิพพจักขุดาบสผู้เป็นเจ้านายของพ่อด้วยคาว่า
คฤหบดีเล่า. เจ้าทาผิดมาก.
พระกุมารทูลว่า ข้าแต่พระบิดา เมื่อข้าพระองค์กล่าวกะผู้ที่เป็นคฤหบดีว่าคฤหบดีดังนี้ จะมี
ความผิดได้อย่างไร? แล้วทูลต่อไปว่า ขอพระบิดาทรงเชื่อว่าดาบสนั้นปลูกไม้ดอกไม้ผลนานาชนิด แล้วขาย
ดอกไม้ ผักและผลาผลเป็นต้น พวกขายพวงมาลัยและผักซื้อของเหล่านั้นจากมือดาบสนั้นทุกวัน แล้วโปรด
ทรงพิจารณาพื้นที่ปลูกไม้ดอกและพื้นที่ปลูกผักเถิด พระเจ้าข้า แล้วเราเข้าไปยังบรรณศาลาของดาบสนั้นให้
พวกราชบุรุษของตน นากหาปณะและภัณฑะที่ดาบสได้จากการขายดอกไม้เป็นต้น ให้พระราชาทรงรู้เห็น.
เราให้พระราชาทรงทราบถึงความที่ดาบสนั้นเป็นดาบสโกงแล้ว.
ความว่า ด้วยการให้ทรงเข้าพระทัยนั้น พระราชาทรงทราบดีว่า กุมารพูดจริง ดาบสโกงนี้ ครั้ง
ก่อนทาเป็นมีความมักน้อย เดี๋ยวนี้ กลายเป็นคนมักมาก เพราะเหตุนั้น เราจึงนาพระราชามาสู่อานาจของ
เรา โดยที่พระองค์ทรงเบื่อหน่ายในดาบสนั้น แล้วตกอยู่ในอานาจของเรา.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ทรงดาริว่า เราควรเข้าป่าบวชดีกว่าอยู่ในสานักของพระราชาผู้โง่เขลา
เห็นปานนี้ แล้วทูลลาพระราชาว่า ข้าแต่มหาราช ข้าพระองค์ไม่ต้องการอยู่ในที่นี้ . ขอพระองค์ทรงอนุญาต
ข้าพระองค์จักบวช.
พระราชาตรัสว่า ลูกรักพ่อมิได้ใคร่ครวญบังคับให้ฆ่าลูก ลูกจงยกโทษให้พ่อเถิด แล้วให้พระมหา
สัตว์ยกโทษให้ ตรัสว่า ลูกจงครองราชสมบัติเถิด.
พระกุมารทูลว่า ข้าแต่พระบิดา ในโภคสมบัติอันเป็นของมนุษย์จะมีอะไร. ลูกเคยเสวยโภค
สมบัติอันเป็นทิพย์มาตลอดกาลนาน. ลูกยังไม่ติดในสมบัตินั้นเลย. ลูกจักบวชละ ลูกไม่ขออยู่ในสานักของผู้
ที่มีปัญญาโดยถูกผู้อื่นนาไปเป็นคนโง่เช่นนั้นแล้ว.
6
เมื่อจะทรงสั่งสอนพระราชา จึงทรงแสดงธรรมด้วยคาถาเหล่านี้ ว่า
กรรมที่บุคคลไม่ใคร่ครวญแล้วทาลงไปไม่กาหนดความคิด เหมือนความวิบัติของยา ย่อมเป็น
ผลชั่ว. อนึ่ง กรรมที่บุคคลใคร่ครวญก่อนแล้วทา กาหนดความคิดโดยชอบ เหมือนสมบัติของยา ย่อมเป็นผล
เจริญ.
คฤหัสถ์เกียจคร้านบริโภคกาม ไม่ดีเลย บรรพชิตไม่สารวมก็ไม่ดี พระราชาไม่ใคร่ครวญแล้วทา
ลงไปก็ไม่ดี ผู้ที่เป็นบัณฑิตมักโกรธก็ไม่ดี.
ข้าแต่ราชะผู้เป็นใหญ่ในทิศ กษัตริย์พึงใคร่ครวญก่อนแล้วทา ไม่ใคร่ครวญก่อนแล้วไม่ทา. ยศ
และเกียรติย่อมเจริญแก่พระราชาผู้ใคร่ครวญก่อนแล้วทา.
ข้าแต่พระภูมิบาล ผู้เป็นใหญ่ใคร่ครวญก่อนแล้วจึงปรับสินไหม ย่อมอิ่มใจถึงสิ่งที่ทาแล้วโดย
พลัน ประโยชน์ทั้งหลายของตนที่ด้วยการตั้งใจชอบ ย่อมไม่ตามเดือดร้อนในภายหลัง.
ผู้จาแนกกรรมทั้งหลายในโลกอันวิญญูชนสรรเสริญแล้วอันมีสุขเป็นกาไร ทากรรมอันไม่ตาม
เดือดร้อน กรรมเหล่านั้นย่อมเป็นกรรม อันบัณฑิตทั้งหลายเห็นชอบแล้ว.
ข้าแต่พระบิดาผู้เป็นใหญ่ในชน เพชฌฆาตสะพายดาบ นุ่งผ้าย้อมน้าฝาดเดินมาจะฆ่าข้า
พระองค์. ข้าแต่เทวะ ข้าพระองค์นั่งบนตักพระชนนี เพชฌฆาตเหล่านั้นฉุดคร่าข้าพระองค์อย่างรีบร้อน. ข้า
แต่พระราชา ข้าพระองค์ได้รับทุกข์เผ็ดร้อนแสนสาหัส ได้ชีวิตอันเป็นที่รักหวานซาบซึ้งใจ. วันนี้ ข้าพระองค์
พ้นจากการฆ่าได้ด้วยความยาก. ข้าพระองค์มีใจมุ่งต่อบรรพชา.
เมื่อพระมหาสัตว์ทรงแสดงธรรมอย่างนี้ พระราชาตรัสกับพระเทวีว่า ดูก่อนพระเทวี เธอจง
ยับยั้งโอรสไว้. แม้พระเทวีก็ทรงพอพระทัยการบวชของพระกุมารเหมือนกัน.
พระมหาสัตว์ถวายบังคมพระชนกชนนีแล้วทรงขอขมาว่า หากโทษมีอยู่แก่ข้าพระองค์ ขอได้ทรง
โปรดยกโทษให้ข้าพระองค์เถิด แล้วทรงอาลามหาชนได้เสด็จบ่ายหน้าไปหิมวันตประเทศ.
ก็และเมื่อพระมหาสัตว์เสด็จไปแล้ว มหาชนพากันทุบตีชฎิลโกงจนถึงสิ้นชีวิต.
แม้พระโพธิสัตว์ก็รับสั่งให้ราชบุรุษมีอามาตย์ราชบริษัท พร้อมด้วยชาวพระนครซึ่งมีหน้าเต็มไป
ด้วยน้าตาให้กลับ. เมื่อมนุษย์ทั้งหลายพากันกลับ ทวยเทพมาในเพศของมนุษย์ นาพระโพธิสัตว์ล่วงเลยแนว
ภูเขา ๗ ลูก พระโพธิสัตว์บรรพชาเป็นฤๅษีอยู่ ณ บรรณศาลาที่วิษณุกรรมเนรมิตไว้ในหิมวันตประเทศ.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
พระบิดาขมาเราในที่นั้นแล้ว ได้พระราชทานราชสมบัติอันใหญ่หลวงแก่เรา เรานั้นทาลายความ
มืดมัว แล้วออกบวชเป็นบรรพชิต.
เมื่อพระมหาสัตว์บวชแล้วอย่างนี้ ทวยเทพมาด้วยเพศของปริจาริกาในราชตระกูล บารุงพระ
มหาสัตว์นั้นตลอดเวลา ๑๖ ปี. พระมหาสัตว์ยังฌานและอภิญญาให้เกิด ณ ที่นั้นแล้วได้เสด็จเข้าถึงพรหม
โลก.
ดาบสโกงในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ .
พระชนนีคือพระมหามายา.
มหารักขิตดาบสคือพระสารีบุตรเถระ.
7
โสมนัสสกุมารคือพระโลกนาถ.
พึงเจาะจงกล่าวถึงบารมี ๑๐ โดยนัยดังกล่าวแล้วในยุธัญชยจริยานั้น.
แม้ในจริยานี้ ท่านยกเนกขัมมบารมีขึ้นสู่เทศนา ว่าเป็นบารมียอดเยี่ยมอย่างยิ่ง.
อนึ่ง พึงทราบคุณานุภาพของพระมหาสัตว์มีอาทิอย่างนี้ คือ ความที่พระองค์สามารถในราชกิจ
ทั้งหลายในขณะมีชนม์ได้ ๗ พระพรรษา.
การจับดาบสนั้นว่าเป็นชฎิลโกงได้.
ความไม่มีหวาดสะดุ้งเมื่อพระราชาทรงขวนขวายมีพระบัญชาให้ฆ่า.
การประกาศถึงความที่พระโพธิสัตว์เสด็จไปเฝ้าพระราชาแล้วแสดงโทษของชฎิลโกงโดยนัย
ต่างๆ และความที่พระองค์ไม่มีความผิด แล้วทรงเริ่มต่อว่าความที่พระราชามีปัญญาถูกคนอื่นนาไปและ
ความเป็นพระราชาโง่ แม้เมื่อพระราชาทรงขอขมาแล้วก็ยังถึงความสังเวชจากการอยู่ในราชสานัก และจาก
ความเป็นใหญ่ในราชสมบัติ แม้พระราชาทรงวิงวอนมีประการต่างๆ ก็ทรงทอดทิ้งสิริราชสมบัติอันอยู่ใน
เงื้อมพระหัตถ์แล้วดุจถ่มก้อนน้าลายทิ้ง เป็นผู้ไม่มีจิตติดอยู่ในที่ไหนออกบวช.
ครั้นบวชแล้วยินดีในความสงัด ไม่ช้านักก็ทรงยังฌานและอภิญญาให้เกิด ด้วยประการฉะนี้ .
จบอรรถกถาโสมนัสสจริยาที่ ๒
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf

มัทนะพาธา
มัทนะพาธามัทนะพาธา
มัทนะพาธาkrudow14
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์Mu Koy
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)Kornfern Chayaboon
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nakkarin Keesun
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔อิ่' เฉิ่ม
 
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 

Similar to 23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf (20)

มัทนะพาธา
มัทนะพาธามัทนะพาธา
มัทนะพาธา
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2
 
สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2
 
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
 
น้องบีม
น้องบีมน้องบีม
น้องบีม
 
น้องบีม
น้องบีมน้องบีม
น้องบีม
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 

More from maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๒๓ โสมนัสสจริยา พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ข้าแต่พระบิดาผู้เป็นใหญ่ในชน เพชฌฆาตสะพายดาบ นุ่งผ้าย้อมน้าฝาดเดินมาจะฆ่าข้าพระองค์. ข้าแต่เทวะ ข้าพระองค์นั่งบนตักพระชนนี เพชฌฆาตเหล่านั้นฉุดคร่าข้าพระองค์อย่างรีบร้อน. ข้าแต่ พระราชา ข้าพระองค์ได้รับทุกข์เผ็ดร้อนแสนสาหัส ได้ชีวิตอันเป็นที่รักหวานซาบซึ้งใจ. วันนี้ ข้าพระองค์พ้น จากการฆ่าได้ด้วยความยาก. ข้าพระองค์มีใจมุ่งต่อบรรพชา. พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๒. โสมนัสสจริยา ว่าด้วยพระจริยาของพระโสมนัสสกุมาร [๗] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นบุตรสุดที่รัก พระมารดาและพระบิดารักใคร่ เอ็นดู ปรากฏ นามว่าโสมนัส อยู่ในกรุงอินทปัตถ์ที่อุดมสมบูรณ์ [๘] เป็นผู้มีศีล สมบูรณ์ด้วยคุณธรรม มีกัลยาณธรรม มีปฏิภาณ เคารพนบนอบต่อบุคคลผู้ เจริญ มีหิริ และฉลาดในสังคหธรรม [๙] ครั้งนั้น มีดาบสโกงผู้หนึ่ง เป็นที่โปรดปรานของพระราชาพระองค์นั้น ดาบสนั้นทาสวน และปลูกไม้ผล ไม้ดอก ไม้ประดับเลี้ยงชีวิต [๑๐] เราได้เห็นดาบสโกงนั้น เหมือนกองแกลบที่ไม่มีข้าวสาร เหมือนไม้เป็นโพรงข้างใน เหมือนต้นกล้วยหาแก่นมิได้ [๑๑] ดาบสโกงผู้นี้ ไม่มีธรรมของสัตบุรุษ ปราศจากความเป็นสมณะ ละหิริและธรรมฝ่ายขาว เพราะเหตุแห่งการเลี้ยงชีวิต [๑๒] ปัจจันตชนบทกาเริบขึ้น เพราะโจรเที่ยวอยู่ในดง พระบิดาของเรา เมื่อจะเสด็จไปปราบ ความกาเริบนั้น ตรัสสั่งเราว่า [๑๓] พ่ออย่าประมาทในชฎิล ผู้มีตบะแก่กล้านะลูก พ่อจงอนุวัตรตามความปรารถนา ด้วยว่า ชฎิลนั้น เป็นผู้ให้ความสาเร็จ ความปรารถนาทั้งปวง [๑๔] เราไปสู่ที่บารุงชฎิลนั้นแล้ว ได้กล่าวคานี้ ว่า คหบดี ท่านสบายดีหรือ หรือว่าท่านจะให้นา อะไรมา
  • 2. 2 [๑๕] เหตุนั้น ดาบสโกงนั้นอาศัยมานะจึงโกรธเราว่า เราจะให้พระราชาประหารท่านเสียใน วันนี้ หรือจะให้เนรเทศเสียจากแว่นแคว้น [๑๖] พระราชาทรงปราบปรามปัจจันตชนบทสงบราบคาบแล้ว ได้ตรัสถามชฎิลโกงว่า พระผู้ เป็นเจ้าสบายดีหรือ สักการสัมมานะยังเป็นไปแก่พระผู้เป็นเจ้าหรือ [๑๗] ชฎิลชั่วนั้นกราบทูลพระราชา โดยประการที่กุมารนั้นจะพึงถูกทาให้พินาศเสีย พระเจ้า แผ่นดินทรงสดับคาของชฎิลโกงนั้น แล้วทรงบังคับว่า [๑๘] จงตัดศีรษะเสียในที่นั้นนั่นแหละ จงบั่นออกเป็น ๔ ท่อน ประจานไว้ที่ถนน นั่นเป็น ตัวอย่างที่เบียดเบียนชฎิล [๑๙] พวกโจรฆาต(ผู้ฆ่าโจร)ผู้มีใจดุร้ายหยาบคาย ไม่มีความกรุณาเหล่านั้น ผู้ได้รับพระราช โองการไปที่นั้น เมื่อเรานั่งอยู่บนพระเพลาของพระมารดา ก็ฉุดคร่านาเราไป [๒๐] เราได้กล่าวแก่เขาเหล่านั้น ซึ่งกาลังผูกมัดอย่างมั่นคงนี้ ว่า ท่านทั้งหลายจงพาเราไปเฝ้า พระราชาโดยเร็ว ราชกิจของเรามีอยู่ [๒๑] เขาเหล่านั้น พาเราไปเฝ้าพระราชาผู้ชั่ว คบแต่คนชั่ว เราไปเฝ้าพระราชาแล้ว ทูลให้ทรง เข้าพระทัยและนามาสู่อานาจของเรา [๒๒] พระบิดาขอให้เราอดโทษ ณ ที่นั้น ได้พระราชทานสมบัติอันยิ่งใหญ่แก่เรา เรานั้นทาลาย ความมืดมนแล้ว ออกบวชเป็นบรรพชิต [๒๓] ราชสมบัติจะเป็นที่น่ารังเกียจของเราก็หาไม่ กามโภคะจะเป็นสิ่งที่เราพึงรังเกียจก็หาไม่ แต่เพราะพระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา เพราะฉะนั้น เราจึงสละราชสมบัติ ฉะนี้ แล โสมนัสสจริยาที่ ๒ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญเนกขัมมบารมีเป็นต้น ๒. โสมนัสสจริยา อรรถกถาโสมนัสสจริยาที่ ๒ ในครั้งนั้นมีดาบสชื่อว่ามหารักขิตะ มีดาบส ๕๐๐ เป็นบริวารอยู่ในหิมวันตประเทศ เที่ยวจาริก ไปยังชนบทเพื่อต้องการเสพของเค็มและของเปรี้ยว ถึงกรุงอินทปัตถะ อยู่ในพระราชอุทยานพร้อมด้วย บริวาร เที่ยวไปบิณฑบาตถึงประตูพระราชวัง. พระราชาทอดพระเนตรเห็นหมู่ฤๅษี ทรงเลื่อมใสในอิริยาบถ ให้นั่งบนพื้นใหญ่ที่ตกแต่งแล้ว ทรงอังคาสด้วยอาหารอันประณีต แล้วตรัสว่า ขอพระคุณท่านจงอยู่ในอุทยานของข้าพเจ้าตลอดฤดูฝนนี้ เถิด แล้วเสด็จไปพระราชอุทยานกับพระดาบสเหล่านั้นรับสั่งให้สร้างที่อยู่ ทรงถวายบริขารของบรรพชิตแล้ว เสด็จออกไป. ตั้งแต่นั้นมา ดาบสทั้งปวงเหล่านั้นก็บริโภคในพระราชนิเวศน์.
  • 3. 3 ฝ่ายพระราชาไม่มีโอรส ทรงปรารถนาโอรส โอรสก็ยังไม่เกิด. ครั้นออกพรรษาพระมหารักขิตะคิดว่า เราจะต้องกลับไปป่าหิมวันตะ จึงลาพระราชา. พระราชา ทรงกระทาสักการะสัมมานะ แล้วออกไปในระหว่างตอนกลางวันและจากทางพร้อมด้วยบริวาร นั่งภายใต้ ต้นไม้มีเงาหนาทึบต้นหนึ่ง. ดาบสทั้งหลายสนทนากันว่า พระราชาไม่มีพระโอรส จะพึงเป็นการดี หากพระราชาได้พระราช บุตร. ท่านมหารักขิตะได้ฟังการสนทนานั้นจึงใคร่ครวญดูว่าพระโอรสของพระราชาจักมีหรือไม่หนอ ทราบว่าจักมีจึงกล่าวว่า พวกท่านอย่าคิดไปเลย วันนี้ เวลาใกล้รุ่ง เทพบุตรองค์หนึ่งจักจุติลงมาเกิดในพระ ครรภ์ของพระอัครมเหสีของพระราชา. ชฎิลโกงคนหนึ่งได้ฟังดังนั้นคิดว่า บัดนี้ เราจักเป็นราชกุลูปกะคือผู้เข้าถึงราชตระกูล. ครั้น ดาบสทั้งหลายจะไปจึงทาเป็นไข้นอนซม เมื่อดาบสกล่าวว่ามาไปกันเถิด. กล่าวว่า ผมไปไม่ไหว. มหารักขิตดาบสรู้เหตุที่ดาบสนั้นนอน จึงกล่าวว่า ท่านไปได้เมื่อใดก็พึงตามไปเถิด แล้วพาหมู่ ฤๅษีไปถึงหิมวันตประเทศ. ดาบสโกหกรีบกลับไปยืนอยู่ที่ประตูพระนคร ให้คนไปทูลพระราชาว่า ดาบสอุปัฏฐากของมหา รักขิตดาบสกลับมา. พระราชารับสั่งให้ราชบุรุษรีบไปเรียกมา จึงขึ้นปราสาท นั่งบนอาสนะที่เขาปูไว้. พระราชาทรงไหว้ดาบสนั้น แล้วประทับนั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่ง ตรัสถามถึงความไม่มีโรคของฤๅษี ทั้งหลายแล้วตรัสว่า พระคุณท่านกลับมาเร็วนัก มีความต้องการอะไรหรือ. ดาบสโกงทูลว่า มหาราช หมู่ฤๅษีเป็นสุขดี สนทนากันว่าจะพึงเป็นการดี หากพระราชบุตรผู้ ดารงวงศ์ตระกูลของพระราชาจะพึงบังเกิด. อาตมาได้ฟังการสนทนากันจึงตรวจดูด้วยทิพยจักษุว่า พระโอรส ของพระราชาจักมีหรือไม่หนอ จึงเห็นว่า เทพบุตรผู้มีฤทธิ์มากจักจุติลงมาเกิดในพระครรภ์ของพระนางสุ ธรรมาอัครมเหสี แล้วทูลว่าอาตมามาก็เพื่อจะทูลพระองค์ว่า ชนทั้งหลาย เมื่อไม่รู้จะพึงยังพระครรภ์ให้ พินาศได้ อาตมาจะทูลข้อนั้นก่อน อาตมาทูลแด่พระองค์แล้ว อาตมาก็จะกลับไป. พระราชาตรัสว่า พระคุณอย่าไปเลย ทรงยินดีร่าเริงมีพระทัยเลื่อมใส ทรงนาดาบสโกงไปพระ ราชอุทยานจัดแจงที่อยู่พระราชทาน. ตั้งแต่นั้นมาดาบสโกงนั้นก็บริโภคในราชตระกูลอาศัยอยู่. ดาบสโกงมีชื่อว่า ทิพพจักขุกะ. ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์จุติจากดาวดึงสพิภพ ถือปฏิสนธิในกรุงอินทปัตถะนั้น. ในวันขนานพระ นามของพระกุมารที่ประสูติ พระชนกชนนีทรงตั้งพระนามว่าโสมนัสสะ. โสมนัสสกุมารทรงเจริญด้วยการเลี้ยงดูกุมาร. ดาบสโกงก็ปลูกผักสาหรับแกง และผลมีเถาเป็นต้นเอาไปขายในท้องตลาด รวบรวมทรัพย์ไว้. ลาดับนั้น ในขณะที่พระโพธิสัตว์มีพระชนม์ได้ ๗ พระพรรษา ชายแดนของพระราชากาเริบ. พระองค์ตรัสสั่งพระกุมารว่า ลูกอย่าประมาทในทิพพจักขุดาบส แล้วเสด็จเพื่อทรงปราบชายแดนให้สงบ. อยู่มาวันหนึ่ง พระกุมารเสด็จไปพระราชอุทยานด้วยทรงดาริว่าจักเยี่ยมชฎิล ทรงเห็นชฎิลโกง
  • 4. 4 นุ่งผ้ากาสาวะมีกลิ่นผืนหนึ่ง ห่มผืนหนึ่ง ถือหม้อสองใบด้วยมือทั้งสอง รดน้าในที่ปลูกผักทรงรู้ว่าชฎิลโกงนี้ ไม่ประกอบสมณธรรมของตน ทาการขายของในตลาด จึงตรัสถามว่า คหบดีฝักบัว ทาอะไร? ทาเอาดาบส โกงละอายแล้วเสด็จออกไป. ชฎิลโกงคิดว่า กุมารนี้ เดี๋ยวนี้ ยังเป็นถึงอย่างนี้ ภายหลังใครจะรู้ว่ากุมารนี้ จักทาอะไร เราควร จัดการกุมารนี้ ให้พินาศเสียในตอนนี้ แหละ ในเวลาพระราชาเสด็จมาจึงเหวี่ยงแผ่นหินไปเสียข้างหนึ่ง แล้ว ทาลายหม้อน้าเสียเกลี่ยหญ้าที่บรรณศาลา เอาน้ามันทาร่างกายเข้าไปยังบรรณศาลา คลุมตลอดศีรษะนอน บนเตียงดุจเป็นทุกข์หนัก. พระราชาเสด็จกลับทรงกระทาประทักษิณพระนครยังไม่เสด็จเข้าพระราชวัง ทอดพระเนตรเห็น ความผิดปกตินั้น ทรงดาริว่านั่นอะไรกัน จึงเสด็จเข้าไปภายในทรงเห็นดาบสโกงนั้นนอนอยู่ จึงทรงลูบที่เท้า ตรัสถามว่า ใครเบียดเบียนพระคุณท่านอย่างนี้ . เราจะฆ่าเสียวันนี้ แหละ. พระคุณท่านจงรีบบอกมา. ชฎิลโกงฟังดังนั้นถอนหายใจลุกขึ้นทูลว่า มหาราช ข้าพระองค์มาเฝ้าพระองค์ เพราะการมาเฝ้า นั่นแหละ ข้าพระองค์จึงต้องได้รับความเดือดร้อนนี้ เพราะความคุ้นเคยในพระองค์ โอรสของพระองค์นั่น แหละเบียดเบียนข้าพระองค์. พระราชาทรงสดับดังนั้นจึงมีพระราชบัญชาให้เพชฌฆาตจงไปตัดศีรษะพระกุมาร ตัดให้เป็นชิ้น เล็กชิ้นน้อยแล้วนาไปทิ้งไว้กลางถนน. พวกเพชฌฆาตก็ไปฉุดพระกุมารซึ่งพระมารดาตกแต่งแล้วให้ประทับนอนบนตักของพระนาง ทูลว่า พระราชามีพระบัญชาให้ฆ่าพระกุมาร. พระกุมารทรงกลัวความตาย เสด็จลุกจากตักพระมารดาแล้วตรัสว่า พวกท่านจงนาเราไปเฝ้า พระราชา. เรามีราชกิจที่จะต้องกราบทูล. พวกเพชฌฆาตฟังพระดารัสของพระกุมารแล้วก็ไม่อาจฆ่าได้จึงเอา เชือกมัดดุจมัดโค นาไปเฝ้าพระราชา. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า เราได้เห็นดาบสโกงนั้น เหมือนกองแกลบอันไม่มีข้าวสาร เหมือนไม้เป็นโพลงข้างใน เหมือนต้น กล้วยไม่มีแก่น ดาบสโกงผู้นี้ ไม่มีธรรมของสัตบุรุษ ปราศจากความเป็นสมณะ ละธรรมขาวคือหิริ เพราะเหตุ แห่งการเลี้ยงชีวิต. ปัจจันตชนบทกาเริบขึ้น เพราะโจรอันเที่ยวอยู่ในดง พระชนกของเรา เมื่อจะเสด็จไปปราบ ความกาเริบนั้น ตรัสสั่งเราว่า พ่ออย่าประมาทในชฎิลผู้มีความเพียรอันแรงกล้านะ พ่อจงอนุวัตรตามความ ปรารถนา ด้วยว่าชฎิลนั้น เป็นผู้ให้ความสาเร็จความปรารถนาทั้งปวง. พระเจ้ากุรุ พระชนกของเราเมื่อเสด็จไปปราบความกาเริบในชายแดนนั้นให้สงบ ในกาลนั้นได้ สอนเราว่า พ่อโสมนัสสกุมาร พ่ออย่าประมาทชฎิลผู้เป็นนายของพ่อมีความเพียรสูง มีตบะกล้ามีอินทรีย์ สงบอย่างยิ่ง. ชฎิลนั้นได้ให้ความสาเร็จที่ปรารถนาทุกอย่างแก่พวกเรา เพราะฉะนั้น พ่อจงอนุวัตรตามความ ปรารถนา ตามความชอบใจ อนุเคราะห์ชฎิลนั้น. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า เราไปสู่ที่บารุงชฎิลนั้นแล้วได้กล่าวดังนี้ ว่า ดูก่อนคฤหบดี ท่านสบายดีดอกหรือ หรือว่าท่านจะ
  • 5. 5 ให้นาเอาอะไรมา เหตุนั้นดาบสโกงนั้นอาศัยมานะจึงโกรธเราว่า เราจะให้พระราชาฆ่าท่านเสียในวันนี้ หรือ จะให้ขับไล่เสียจากแว่นแคว้น พระราชาทรงปราบปัจจันตชนบทสงบแล้ว ได้ตรัสถามชฎิลโกงว่า พระคุณท่านสบายดีหรือ สักการะสัมมานะยังเป็นไปแก่พระคุณท่านหรือ. ชฎิลโกงนั้นทูลแด่พระราชาเหมือนว่าพระกุมารจะทาให้ฉิบหาย. พระราชาทรงสดับคาของ ชฎิลโกงนั้น ทรงมีพระราชบัญชาว่า จงตัดศีรษะเสียในที่นี้ นั่นแหละ จงสับฟันบั่นออกเป็น ๔ ท่อน ทิ้งไว้ใน ท่ามกลางถนนให้คนเห็นว่า นั่นเป็นผลของคนเบียดเบียนชฎิล พวกเพชฌฆาตมีใจดุร้ายไม่มีสงสารเหล่านั้น เพราะมีพระราชบัญชา เมื่อเรานั่งอยู่บนตักของพระมารดา ก็ฉุดคร่านาเราไป. ก็เมื่อพระกุมารถูกเพชฌฆาตนาไป พระสุธรรมาเทวีแวดล้อมด้วยหมู่ทาสีพร้อมด้วยพวกสนม แม้ชาวพระนครต่างก็พากันไปกับพระกุมารนั้น ด้วยคิดว่า พวกเราจักไม่ให้ฆ่าพระกุมารนั้นผู้ไม่มีความผิด. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า เราได้กล่าวแก่เขาเหล่านั้นซึ่งกาลังผูกมัดอย่างมั่นคงอย่างนี้ ว่า ท่านทั้งหลายจงพาเราไปเฝ้า พระราชาโดยเร็ว ราชกิจของเรามีอยู่ เขาเหล่านั้นเป็นคนลามกและคบกับคนลามก พาเราไปเฝ้าพระราชา. เราไปเฝ้าพระราชาแล้วทูลให้เข้าพระทัย และนามาสู่อานาจของเรา. เมื่อพระราชาตรัสว่า ก็เพราะเหตุไร เจ้าจึงเรียกทิพพจักขุดาบสผู้เป็นเจ้านายของพ่อด้วยคาว่า คฤหบดีเล่า. เจ้าทาผิดมาก. พระกุมารทูลว่า ข้าแต่พระบิดา เมื่อข้าพระองค์กล่าวกะผู้ที่เป็นคฤหบดีว่าคฤหบดีดังนี้ จะมี ความผิดได้อย่างไร? แล้วทูลต่อไปว่า ขอพระบิดาทรงเชื่อว่าดาบสนั้นปลูกไม้ดอกไม้ผลนานาชนิด แล้วขาย ดอกไม้ ผักและผลาผลเป็นต้น พวกขายพวงมาลัยและผักซื้อของเหล่านั้นจากมือดาบสนั้นทุกวัน แล้วโปรด ทรงพิจารณาพื้นที่ปลูกไม้ดอกและพื้นที่ปลูกผักเถิด พระเจ้าข้า แล้วเราเข้าไปยังบรรณศาลาของดาบสนั้นให้ พวกราชบุรุษของตน นากหาปณะและภัณฑะที่ดาบสได้จากการขายดอกไม้เป็นต้น ให้พระราชาทรงรู้เห็น. เราให้พระราชาทรงทราบถึงความที่ดาบสนั้นเป็นดาบสโกงแล้ว. ความว่า ด้วยการให้ทรงเข้าพระทัยนั้น พระราชาทรงทราบดีว่า กุมารพูดจริง ดาบสโกงนี้ ครั้ง ก่อนทาเป็นมีความมักน้อย เดี๋ยวนี้ กลายเป็นคนมักมาก เพราะเหตุนั้น เราจึงนาพระราชามาสู่อานาจของ เรา โดยที่พระองค์ทรงเบื่อหน่ายในดาบสนั้น แล้วตกอยู่ในอานาจของเรา. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ทรงดาริว่า เราควรเข้าป่าบวชดีกว่าอยู่ในสานักของพระราชาผู้โง่เขลา เห็นปานนี้ แล้วทูลลาพระราชาว่า ข้าแต่มหาราช ข้าพระองค์ไม่ต้องการอยู่ในที่นี้ . ขอพระองค์ทรงอนุญาต ข้าพระองค์จักบวช. พระราชาตรัสว่า ลูกรักพ่อมิได้ใคร่ครวญบังคับให้ฆ่าลูก ลูกจงยกโทษให้พ่อเถิด แล้วให้พระมหา สัตว์ยกโทษให้ ตรัสว่า ลูกจงครองราชสมบัติเถิด. พระกุมารทูลว่า ข้าแต่พระบิดา ในโภคสมบัติอันเป็นของมนุษย์จะมีอะไร. ลูกเคยเสวยโภค สมบัติอันเป็นทิพย์มาตลอดกาลนาน. ลูกยังไม่ติดในสมบัตินั้นเลย. ลูกจักบวชละ ลูกไม่ขออยู่ในสานักของผู้ ที่มีปัญญาโดยถูกผู้อื่นนาไปเป็นคนโง่เช่นนั้นแล้ว.
  • 6. 6 เมื่อจะทรงสั่งสอนพระราชา จึงทรงแสดงธรรมด้วยคาถาเหล่านี้ ว่า กรรมที่บุคคลไม่ใคร่ครวญแล้วทาลงไปไม่กาหนดความคิด เหมือนความวิบัติของยา ย่อมเป็น ผลชั่ว. อนึ่ง กรรมที่บุคคลใคร่ครวญก่อนแล้วทา กาหนดความคิดโดยชอบ เหมือนสมบัติของยา ย่อมเป็นผล เจริญ. คฤหัสถ์เกียจคร้านบริโภคกาม ไม่ดีเลย บรรพชิตไม่สารวมก็ไม่ดี พระราชาไม่ใคร่ครวญแล้วทา ลงไปก็ไม่ดี ผู้ที่เป็นบัณฑิตมักโกรธก็ไม่ดี. ข้าแต่ราชะผู้เป็นใหญ่ในทิศ กษัตริย์พึงใคร่ครวญก่อนแล้วทา ไม่ใคร่ครวญก่อนแล้วไม่ทา. ยศ และเกียรติย่อมเจริญแก่พระราชาผู้ใคร่ครวญก่อนแล้วทา. ข้าแต่พระภูมิบาล ผู้เป็นใหญ่ใคร่ครวญก่อนแล้วจึงปรับสินไหม ย่อมอิ่มใจถึงสิ่งที่ทาแล้วโดย พลัน ประโยชน์ทั้งหลายของตนที่ด้วยการตั้งใจชอบ ย่อมไม่ตามเดือดร้อนในภายหลัง. ผู้จาแนกกรรมทั้งหลายในโลกอันวิญญูชนสรรเสริญแล้วอันมีสุขเป็นกาไร ทากรรมอันไม่ตาม เดือดร้อน กรรมเหล่านั้นย่อมเป็นกรรม อันบัณฑิตทั้งหลายเห็นชอบแล้ว. ข้าแต่พระบิดาผู้เป็นใหญ่ในชน เพชฌฆาตสะพายดาบ นุ่งผ้าย้อมน้าฝาดเดินมาจะฆ่าข้า พระองค์. ข้าแต่เทวะ ข้าพระองค์นั่งบนตักพระชนนี เพชฌฆาตเหล่านั้นฉุดคร่าข้าพระองค์อย่างรีบร้อน. ข้า แต่พระราชา ข้าพระองค์ได้รับทุกข์เผ็ดร้อนแสนสาหัส ได้ชีวิตอันเป็นที่รักหวานซาบซึ้งใจ. วันนี้ ข้าพระองค์ พ้นจากการฆ่าได้ด้วยความยาก. ข้าพระองค์มีใจมุ่งต่อบรรพชา. เมื่อพระมหาสัตว์ทรงแสดงธรรมอย่างนี้ พระราชาตรัสกับพระเทวีว่า ดูก่อนพระเทวี เธอจง ยับยั้งโอรสไว้. แม้พระเทวีก็ทรงพอพระทัยการบวชของพระกุมารเหมือนกัน. พระมหาสัตว์ถวายบังคมพระชนกชนนีแล้วทรงขอขมาว่า หากโทษมีอยู่แก่ข้าพระองค์ ขอได้ทรง โปรดยกโทษให้ข้าพระองค์เถิด แล้วทรงอาลามหาชนได้เสด็จบ่ายหน้าไปหิมวันตประเทศ. ก็และเมื่อพระมหาสัตว์เสด็จไปแล้ว มหาชนพากันทุบตีชฎิลโกงจนถึงสิ้นชีวิต. แม้พระโพธิสัตว์ก็รับสั่งให้ราชบุรุษมีอามาตย์ราชบริษัท พร้อมด้วยชาวพระนครซึ่งมีหน้าเต็มไป ด้วยน้าตาให้กลับ. เมื่อมนุษย์ทั้งหลายพากันกลับ ทวยเทพมาในเพศของมนุษย์ นาพระโพธิสัตว์ล่วงเลยแนว ภูเขา ๗ ลูก พระโพธิสัตว์บรรพชาเป็นฤๅษีอยู่ ณ บรรณศาลาที่วิษณุกรรมเนรมิตไว้ในหิมวันตประเทศ. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า พระบิดาขมาเราในที่นั้นแล้ว ได้พระราชทานราชสมบัติอันใหญ่หลวงแก่เรา เรานั้นทาลายความ มืดมัว แล้วออกบวชเป็นบรรพชิต. เมื่อพระมหาสัตว์บวชแล้วอย่างนี้ ทวยเทพมาด้วยเพศของปริจาริกาในราชตระกูล บารุงพระ มหาสัตว์นั้นตลอดเวลา ๑๖ ปี. พระมหาสัตว์ยังฌานและอภิญญาให้เกิด ณ ที่นั้นแล้วได้เสด็จเข้าถึงพรหม โลก. ดาบสโกงในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ . พระชนนีคือพระมหามายา. มหารักขิตดาบสคือพระสารีบุตรเถระ.
  • 7. 7 โสมนัสสกุมารคือพระโลกนาถ. พึงเจาะจงกล่าวถึงบารมี ๑๐ โดยนัยดังกล่าวแล้วในยุธัญชยจริยานั้น. แม้ในจริยานี้ ท่านยกเนกขัมมบารมีขึ้นสู่เทศนา ว่าเป็นบารมียอดเยี่ยมอย่างยิ่ง. อนึ่ง พึงทราบคุณานุภาพของพระมหาสัตว์มีอาทิอย่างนี้ คือ ความที่พระองค์สามารถในราชกิจ ทั้งหลายในขณะมีชนม์ได้ ๗ พระพรรษา. การจับดาบสนั้นว่าเป็นชฎิลโกงได้. ความไม่มีหวาดสะดุ้งเมื่อพระราชาทรงขวนขวายมีพระบัญชาให้ฆ่า. การประกาศถึงความที่พระโพธิสัตว์เสด็จไปเฝ้าพระราชาแล้วแสดงโทษของชฎิลโกงโดยนัย ต่างๆ และความที่พระองค์ไม่มีความผิด แล้วทรงเริ่มต่อว่าความที่พระราชามีปัญญาถูกคนอื่นนาไปและ ความเป็นพระราชาโง่ แม้เมื่อพระราชาทรงขอขมาแล้วก็ยังถึงความสังเวชจากการอยู่ในราชสานัก และจาก ความเป็นใหญ่ในราชสมบัติ แม้พระราชาทรงวิงวอนมีประการต่างๆ ก็ทรงทอดทิ้งสิริราชสมบัติอันอยู่ใน เงื้อมพระหัตถ์แล้วดุจถ่มก้อนน้าลายทิ้ง เป็นผู้ไม่มีจิตติดอยู่ในที่ไหนออกบวช. ครั้นบวชแล้วยินดีในความสงัด ไม่ช้านักก็ทรงยังฌานและอภิญญาให้เกิด ด้วยประการฉะนี้ . จบอรรถกถาโสมนัสสจริยาที่ ๒ -----------------------------------------------------