SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
Download to read offline
โปรแกรมนี้ ใช้ในการติดต่อสื่อสารทางานร่วมกัน
แบ่งปันเนื้อหา สามารถเช็คคะแนนเกรดและ
ประกาศต่าง ๆ เฉพาะกลุ่มที่เราได้ตั้งไว้
ชื่อโรงเรียนที่เราจะเชื่อมต่อ
กรอกข้อมูลให้ถูกต้องสมบูรณ์
แนะนาให้ใสรูป
และข้อมูลที่Profile
กดเลือกที่ปุ่ม Go To My Homepage
การสร้างกลุ่มเรียน (Create a Group)
การสร้างกลุ่มเรียนนั้นเป็นส่วนที่สาคัญที่สุดหลังจากที่สมัครเป็นครูผู้สอน เนื่องจากว่าในการเรียนการสอนนั้นผู้สอน
จาเป็นต้องมีการสร้างกลุ่มเพื่อจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาที่มีความแตกต่างกันและเวลาที่ผู้เรียน
สมัครใช้งานเว็บไซต์จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทราบว่าจะต้องสมัครเรียนเข้า กลุ่มเรียนไหน ซึ่งเวลาที่ครูผู้สอนทาการสร้าง
กลุ่มเรียน ระบบจะทาการสร้างโค๊ดให้แต่ละกลุ่มซึ่งจะไม่เหมือนกัน โดยอาจารย์ผู้สอนต้องแจ้งโค๊ดของแต่ละรายวิชา
ให้กับผู้เรียนทราบก่อนสมัคร เข้าใช้งานเว็บไซต์ โดยการสร้างกลุ่มเรียนนั้นมีอยู่ 2 วิธีคือ
วิธีที่ 1 คือ การขอเข้าร่วมเป็นครูผู้สอนกับครูผู้สอนในรายวิชาอื่น(Join) มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 : คลิกเลือกที่เมนู Join
ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอเว็บไซต์ขึ้นมาชื่อ Join Group แล้วให้เราทาการเพิ่มโค๊ดของกลุ่มเรียนที่เรา
ต้องการขอเป็นครูผู้สอน โดยจะทาการเพิ่มโค๊ดได้ที่ละ 1 วิชา หลังจากนั้นคลิกที่ปุ่ม Join
ขั้นตอนที่ 3 : หลังจากนั้นเมื่อการขอเข้าร่วมเป็นครูผู้สอนสาเร็จจะปรากฏหน้าจอเว็บไซต์ ขึ้นมาชื่อ Group
Joined successfully โดยมีข้อความว่า You have successfully joined the group KM บ้านครู แสดงว่าการ
ขอเข้ารวมกลุ่มสาเร็จ หลังจากนั้นให้คลิกที่ X เพื่อเข้าสู่การเรียนการสอนต่อไป
วิธีที่ 2 คือ การสร้างกลุ่มใหม่ (Create) มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 : คลิกเลือกที่เมนู Join
ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอเว็บไซต์ขึ้นมาชื่อ Create Group แล้วให้เราทาการเพิ่มรายละเอียดข้อมูล ดังนี้
• Group Name คือ ชื่อของกลุ่มหรือชื่อของรายวิชา
• Grade คือ ระดับการศึกษา
• Subject Area คือ หมวดหมู่ของการเรียนการสอน
ขั้นตอนที่ 3 : เมื่อกรอกรายละเอียดครบทุกช่องแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Create ระบบจะปรากฏหน้าจอขึ้นมาบนเว็บไซต์ชื่อ
Create Group เพื่อแสดงชื่อกลุ่มและโค๊ดของกลุ่ม แล้วให้คลิกที่ปุ่ม Close ดังภาพ
การแก้ไขกลุ่ม
เมื่อครูผู้สอนต้องการที่จะทาการแก้ไขกลุ่มเรียนนั้นสามารถทาได้โดย มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 : คลิกที่เมนูด้านขวามือของเว็บไซต์ในหัวข้อ Group Settings
ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอเว็บไซต์ขึ้นมาชื่อ Setting แล้วตามด้วยชื่อกลุ่ม เมื่อทาการแก้ไขข้อมูลเสร็จแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม Save
รายละเอียดของเมนู
1. การโพสต์ข้อความต่างๆ
2. การโพสต์เพื่อแจ้งงานต่างๆสามารถเปลี่ยนเป็นกลุ่มหรือเลือกเฉพาะนักเรียนได้
1
2
3
3. โพสต์ที่ใช้เยอะที่สุดเวลาส่งงาน เราสามารถใส่วันส่งงาน due date ใส่ link หรือเอกสารต่าง ๆ ได้
4
4. การโพสต์เพื่อสร้างแบบทดสอบออนไลน์ ( สามารถจับเวลาได้ ) แบ่งได้ดังนี้
1.ชนิดแบบทดสอบ Multiple Choice
2.ชนิดแบบทดสอบ True False
3.ชนิดแบบทดสอบ Short Answer
4.ชนิดแบบทดสอบ Multiple Choice
5. การโพสต์เพื่อสร้างแบบการสารวจ
5
1.พิมพ์สิ่งที่ต้องการ
2.พิมพ์ชื่อกลุ่ม/นักเรียน/ครู
พิมพ์สิ่งที่ต้องการ
พิมพ์ชื่อกลุ่ม / นักเรียน/ครู
1.หัวข้องาน
2.รายละเอียดของงาน
3.กาหนดวัน/เดือน/ปี ที่ส่งงาน
4.แนบไฟล์ที่ต้องการ
5.เพื่อนชื่อกลุ่ม / นักเรียน / ครูที่ต้องการ
1.
2.
ขั้นตอนที่ 1 : ทาการเพิ่มชื่อของแบบทดสอบในหัวข้อ Quiz Title
ขั้นตอนที่ 2 : กาหนดเวลาในการทาแบบทดสอบ โดยมีหน่วยเป็นนาที
1
2
ขั้นตอนที่ 3 : คลิกเลือกประเภทของแบบทดสอบเป็น Multiple Choice แล้วคลิกที่ปุ่ม +Add First Question
3
ขั้นตอนที่ 4 : จะปรากฏหน้าจอการสร้างแบบทดสอบแล้วทาการเพิ่มข้อมูล ดังนี้
Point คือ คะแนนในข้อนั้นๆ
Question Prompt คือ ชื่อหัวข้อคาถาม
Attach คือ การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆหรือการแนบไฟล์ในในคลังข้อมูล
Responses คือ ตัวเลือกในการตอบคาถาม
ขั้นตอนที่ 5 : ทาการเพิ่มตัวเลือกในการตอบคาถาม เนื่องจากว่าระบบได้ทาการตั้งค่าเริ่มต้นจานวน 2
ข้อในการตั้งคาถามในครั้งแรกให้ทาการคลิกที่ปุ่ม Add Response ตามความต้องการ
ขั้นตอนที่ 6 : หากต้องการลบตัวเลือกให้คลิกที่ Remove Answer ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 7 : ทาการเลือกตัวเลือกที่ถูกต้องโดยการคลิกที่ Set as Correct Answer จะปรากฏกรอบสีเขียว
ล้อมรอบตัวเลือกที่ถูกต้องและมีข้อความปรากฏอยู่ด้านล่าง ของตัวเลือกชื่อ Correct Answer ดังภาพ
วิธีการสร้างแบบทดสอบแบบเติมคาในช่องว่าง (Fill in the blank)
ขั้นตอนที่ 1 : ทาการเพิ่มชื่อของแบบทดสอบในหัวข้อ Quiz Title
ขั้นตอนที่ 2 : กาหนดเวลาในการทาแบบทดสอบ โดยมีหน่วยเป็นนาที
ขั้นตอนที่ 3 : คลิกเลือกประเภทของแบบทดสอบเป็น Fill in the blank แล้วคลิกที่ปุ่ม +Add First Question
1
2
3
ขั้นตอนที่ 4 : จะปรากฏหน้าจอการสร้างแบบทดสอบแล้วทาการเพิ่มข้อมูล ดังนี้
Point คือ คะแนนในข้อนั้นๆ
Question Prompt คือ ชื่อหัวข้อคาถาม
Attach คือ การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆหรือการแนบไฟล์ในในคลังข้อมูล
ขั้นตอนที่ 5 : พิมพ์ชื่อหัวข้อคาถามโดยหลังจากที่พิมพ์เสร็จให้พิมพ์เครื่องหมาย “_” หลังข้อคาถาม
ขั้นตอนที่ 8 : ทาการเพิ่มข้อคาถามใหม่โดยการคลิกที่ปุ่ม Add
ขั้นตอนที่ 9 : หากต้องการนาข้อคาถามที่เคยสร้างไว้มาเพิ่มในแบบทดสอบให้คลิกที่ปุ่ม Load จะปรากฏ
หน้าจอเพื่อทาการเลือกเพิ่มเติม โดยคลิกที่ Load this Question
ขั้นตอนที่ 10 : หากต้องการลบข้อคาถามให้คลิกที่ปุ่ม Remove Answer ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 11 : คลิกที่ Preview this Quiz เพื่อดูตัวอย่างแบบทดสอบ ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 12 : เมื่อทาการเพิ่มข้อคาถามเสร็จแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Assign Quiz ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 13 : คลิกที่ช่อง due date เพื่อกาหนดวันทาแบบทดสอบ
ขั้นตอนที่ 14 : หากต้องการแก้ไขแบบทดสอบให้คลิกที่ Edit this Quiz ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 16 : จะปรากฏหน้าข้อมูลของแบบทดสอบ โดยจะมีช่อง Turned In เพื่อเช็คจานวนผู้ทาแบบทดสอบ
ขั้นตอนที่ 15 : ทาการคลิกที่ช่อง Send to… เพื่อเลือกส่งให้กับกลุ่มเรียน แล้วคลิกที่ปุ่ม send
ขั้นตอนที่ 1 : ทาการเพิ่มชื่อของแบบทดสอบในหัวข้อ Quiz Title
ขั้นตอนที่ 2 : กาหนดเวลาในการทาแบบทดสอบ โดยมีหน่วยเป็นนาที
ขั้นตอนที่ 3 : คลิกเลือกประเภทของแบบทดสอบเป็น True False แล้วคลิกที่ปุ่ม +Add First Question
2
3
ขั้นตอนที่ 4 : จะปรากฏหน้าจอการสร้างแบบทดสอบแล้วทาการเพิ่มข้อมูล ดังนี้
Point คือ คะแนนในข้อนั้นๆ
Question Prompt คือ ชื่อหัวข้อคาถาม
Attach คือ การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆหรือการแนบไฟล์ในในคลังข้อมูล
Responses คือ ตัวเลือกในการตอบคาถาม ถูกและผิด
ขั้นตอนที่ 5 : ทาการเลือกคาตอบโดยระบบได้กาหนดให้มีตัวเลือกคือ
ขั้นตอนที่ 6 : ทาการเพิ่มข้อคาถามใหม่โดยการคลิกที่ปุ่ม Add ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 7 : หากต้องการนาข้อคาถามที่เคยสร้างไว้มาเพิ่มในแบบทดสอบให้คลิกที่ปุ่ม Load จะปรากฏหน้าจอ
เพื่อทาการเลือกเพิ่มเติม โดยคลิกที่ Load this Question
ขั้นตอนที่ 8 : หากต้องการลบข้อคาถามให้คลิกที่ปุ่ม Remove Answer ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 9 : คลิกที่ Preview this Quiz เพื่อดูตัวอย่างแบบทดสอบ
ขั้นตอนที่ 10 : เมื่อทาการเพิ่มข้อคาถามเสร็จแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Assign Quiz ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 11 : คลิกที่ช่อง due date เพื่อกาหนดวันทาแบบทดสอบ ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 12 : หากต้องการแก้ไขแบบทดสอบให้คลิกที่ Edit this Quiz
ขั้นตอนที่ 13 : ทาการคลิกที่ช่อง Send to… เพื่อเลือกส่งให้กับกลุ่มเรียน แล้วคลิกที่ปุ่ม send
ขั้นตอนที่ 6 : ให้พิมพ์คาตอบในช่องว่างด้านหลังของข้อคาถาม
ขั้นตอนที่ 7 : ทาการเพิ่มข้อคาถามใหม่โดยการคลิกที่ปุ่ม Add ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 8 : หากต้องการนาข้อคาถามที่เคยสร้างไว้มาเพิ่มในแบบทดสอบให้คลิกที่ปุ่ม Load จะปรากฏ
หน้าจอเพื่อทาการเลือกเพิ่มเติม โดยคลิกที่ Load this Question
ขั้นตอนที่ 9 : หากต้องการลบข้อคาถามให้คลิกที่ปุ่ม Remove Answer ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 10 : คลิกที่ Preview this Quiz เพื่อดูตัวอย่างแบบทดสอบ
ขั้นตอนที่ 11 : เมื่อทาการเพิ่มข้อคาถามเสร็จแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Assign Quiz ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 12 : คลิกที่ช่อง due date เพื่อกาหนดวันทาแบบทดสอบ ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 13 : หากต้องการแก้ไขแบบทดสอบให้คลิกที่ Edit this Quiz
ขั้นตอนที่ 14 : ทาการคลิกที่ช่อง Send to… เพื่อเลือกส่งให้กับกลุ่มเรียน แล้วคลิกที่ปุ่ม send
ขั้นตอนที่ 15 : จะปรากฏหน้าข้อมูลของแบบทดสอบ โดยจะมีช่อง Turned In เพื่อเช็คจานวนผู้ทาแบบทดสอบ
วิธีการสร้างแบบสารวจ (Poll)
ขั้นตอนที่ 1 : คลิกที่สัญลักษณ์ แล้วทาการพิมพ์ชื่อแบบสารวจที่ช่อง question….
ขั้นตอนที่ 2 : ทาการคลิกที่ช่อง answer # ในแต่ละช่อง เพื่อพิมพ์รายละเอียดของหัวข้อแบบสารวจโดยระบบ
จะมีกาหนดรายละเอียดหัวข้อใน ครั้งแรกเพียง 2 หัวข้อ ซึ่งสามารถเพิ่มได้ไม่จากัดโดยการคลิกที่ปุ่ม + Add Answer
ขั้นตอนที่ 3 : ทาการคลิกที่ช่อง Send to… เพื่อเลือกส่งให้กับกลุ่มเรียน แล้วคลิกที่ปุ่ม send
นักเรียน/นักศึกษา
การสมัครเข้าใช้งาน ( ของผู้เรียน )
ขั้นตอนที่ 1 : เข้าไปที่เว็บไซต์ http://www.edmodo.com หลังจากนั้นให้เลือกในส่วนของผู้เรียนโดยเลือกที่ปุ่ม
I’m a Student
ขั้นตอนที่ 2 : หลังจากนั้นจะปรากฏหน้าจอบนเว็บไซต์ชื่อ Student Sign up แล้วทาการกรอกข้อมูลตาม
รายละเอียดให้ครบทุกช่อง โดยมีรายละเอียดข้อมูลดังนี้
ขั้นตอนที่ 3 : เมื่อผู้เรียนทาการ Login เข้าสู่ระบบจะปรากฏรายละเอียดข้อมูลกิจกรรมในกลุ่มวิชาที่ทาการสมัคร
รายละเอียดผู้ใช้งาน (Profile)
รายละเอียดของผู้ใช้งาน
การตั้งค่าการใช้งาน (Account)
เมื่อเลือกที่เมนู Account จะปรากฏเมนูย่อยขึ้นมาดดังนี้
• เมนู Settings คือ การตั้งค่าผู้ใช้งาน
• เมนู Help คือ รายละเอียดความช่วยเหลือจากเว็บไซต์
• เมนู Logout คือ ออกจากระบบ
การตั้งค่ารายละเอียดผู้ใช้งาน (Settings)
เป็นการตั้งค่ารายละเอียดขั้นพื้นฐานของผู้ใช้งาน โดยเราสามารถเพิ่มรายละเอียดข้อมูลได้ดังนี้
การสมัครเข้าเรียนในกลุ่มอื่นๆ (Join Group)
ขั้นตอนที่ 1 : ทาการเลือกเมนู Groups แล้วเลือกที่เมนู Join
ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอเพื่อให้ใส่รหัสของกลุ่มเรียน ซึ่งได้มาจากครูผู้สอนแล้วคลิกที่ปุ่ม Join ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 3 : เมื่อทาการขอเข้ากลุ่มเรียนสาเร็จระบบจะปรากฏข้อความขึ้นมาว่า You have successfully joined the
group ดังภาพ
การสมัครเข้าเรียนในกลุ่มอื่น ๆ
ขั้นตอนที่ 4 : รายชื่อกลุ่มที่ทาการสมัครก็จะปรากฏในเมนูด้านซ้ายมือในหัวข้อ Groups ดังภาพ
ปฏิทินการเรียนการสอน
ปฏิทินการเรียนการสอน (Calendar)
เป็นตารางกาหนดการต่างเช่น การนัดหมาย การสอบ การส่งงานที่ครูผู้สอนได้ทาการนัดหมายผู้เรียนและผู้เรียนก็ยัง
สามารถเพิ่ม กาหนดการต่างๆในระบบ ซึ่งมีวิธีการดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 : คลิกเลือกวันที่จะทาการกาหนดการ
ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอแล้วทาการพิมพ์รายละเอียดกิจกรรมในช่อง describe the event ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 3 : ทาการเลือกวันหากกิจกรรมใช้เวลาหลายวันให้คลิกที่ Date Range เพื่อกาหนดวันสิ้นสุด
ขั้นตอนที่ 4 : คลิกที่ปุ่ม Create เพื่อทาการสร้างกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 5 : จะปรากฏรายละเอียดในปฏิทิน ดังภาพ
การทากิจกรรมหรือการบ้าน
ขั้นตอนที่ 1 : เลือกกิจกรรมหรือการบ้านครูผู้สอนสร้างขึ้นมาแล้วคลิกที่ปุ่ม Turn In ดังภาพ
การทาการบ้าน หรือ กิจกรรม
ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอแล้วทาการพิมพ์คาตอบในช่อง type your response hear… หาก
ต้องการแนบไฟล์ให้เลือก Attach โดยสามารถแนบไฟล์ได้ 3 รูปแบบคือ
File คือ การแนบไฟล์รูปภาพ ไฟล์เอกสารนามสกุลต่างๆ เช่นไฟล์จาก Microsoft Office
Link คือ การแนบไฟล์ที่ต้องการเชื่อมโยงไปยังเว็บภายนอก เช่น YouTube เว็บไซต์ต่างๆ
Library คือ การแนบไฟล์ที่อยู่ในคลังข้อมูล
ขั้นตอนที่ 3 : ทาการส่งกิจกรรมหรือการบ้านโดยคลิกที่ปุ่ม Turn in Assignment ดังภาพ
ขั้นตอนที่ 4 : หลังจากนั้นจะปรากฏรายละเอียดงานที่ทาการส่งหรือหากต้องการส่งงานใหม่ให้คลิกที่ Resubmit
this assignment
http://www.kruthaionline.com/index.php/edmodo
http://www.pwschool.ac.th/files/1105031111214912/files/emodo.pdf
นางสาวรัญชน์กุลิน ฤทธิ์เรืองเดช
เจ้าหน้าที่งานสื่อการเรียนการสอน

More Related Content

Similar to คู่มือการใช้โปรแกรม (แบบคลิกเอง)

NearPod : Informative Assessment Tools
NearPod : Informative Assessment ToolsNearPod : Informative Assessment Tools
NearPod : Informative Assessment ToolsBoonlert Aroonpiboon
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpressเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpresssuree189
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่องโปรแกรมสูตรคูณ
ใบความรู้ที่ 7 เรื่องโปรแกรมสูตรคูณใบความรู้ที่ 7 เรื่องโปรแกรมสูตรคูณ
ใบความรู้ที่ 7 เรื่องโปรแกรมสูตรคูณNattapon
 
Edmodo ฉบับครูไทย
Edmodo ฉบับครูไทยEdmodo ฉบับครูไทย
Edmodo ฉบับครูไทยDr Poonsri Vate-U-Lan
 
คู่มือการใช้งาน Wordpress
คู่มือการใช้งาน Wordpressคู่มือการใช้งาน Wordpress
คู่มือการใช้งาน Wordpressjtschool2017
 
คู่มือการใช้ Wordpress ในการสร้างบล็อก
คู่มือการใช้ Wordpress ในการสร้างบล็อกคู่มือการใช้ Wordpress ในการสร้างบล็อก
คู่มือการใช้ Wordpress ในการสร้างบล็อกTeacher Sophonnawit
 
Twitter 110712033325-phpapp01
Twitter 110712033325-phpapp01Twitter 110712033325-phpapp01
Twitter 110712033325-phpapp01Pla-krim Rattana
 

Similar to คู่มือการใช้โปรแกรม (แบบคลิกเอง) (20)

การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน โดย นางจิตติยา มาชมสมบูรณ์
การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน โดย นางจิตติยา มาชมสมบูรณ์การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน โดย นางจิตติยา มาชมสมบูรณ์
การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน โดย นางจิตติยา มาชมสมบูรณ์
 
NearPod : Informative Assessment Tools
NearPod : Informative Assessment ToolsNearPod : Informative Assessment Tools
NearPod : Informative Assessment Tools
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpressเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
 
Edmodo
EdmodoEdmodo
Edmodo
 
Facebook (เฟซบุ๊ค)
Facebook (เฟซบุ๊ค)Facebook (เฟซบุ๊ค)
Facebook (เฟซบุ๊ค)
 
Flickr
Flickr Flickr
Flickr
 
Google classroom-
Google classroom-Google classroom-
Google classroom-
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่องโปรแกรมสูตรคูณ
ใบความรู้ที่ 7 เรื่องโปรแกรมสูตรคูณใบความรู้ที่ 7 เรื่องโปรแกรมสูตรคูณ
ใบความรู้ที่ 7 เรื่องโปรแกรมสูตรคูณ
 
Edmodo ฉบับครูไทย
Edmodo ฉบับครูไทยEdmodo ฉบับครูไทย
Edmodo ฉบับครูไทย
 
คู่มือการใช้งาน Wordpress
คู่มือการใช้งาน Wordpressคู่มือการใช้งาน Wordpress
คู่มือการใช้งาน Wordpress
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
คู่มือการใช้ Wordpress ในการสร้างบล็อก
คู่มือการใช้ Wordpress ในการสร้างบล็อกคู่มือการใช้ Wordpress ในการสร้างบล็อก
คู่มือการใช้ Wordpress ในการสร้างบล็อก
 
Projectpowerpoint
ProjectpowerpointProjectpowerpoint
Projectpowerpoint
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
คู่มือ Twitter
คู่มือ Twitterคู่มือ Twitter
คู่มือ Twitter
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
Twitter 110712033325-phpapp01
Twitter 110712033325-phpapp01Twitter 110712033325-phpapp01
Twitter 110712033325-phpapp01
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 

คู่มือการใช้โปรแกรม (แบบคลิกเอง)

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 10.
  • 11. การสร้างกลุ่มเรียน (Create a Group) การสร้างกลุ่มเรียนนั้นเป็นส่วนที่สาคัญที่สุดหลังจากที่สมัครเป็นครูผู้สอน เนื่องจากว่าในการเรียนการสอนนั้นผู้สอน จาเป็นต้องมีการสร้างกลุ่มเพื่อจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาที่มีความแตกต่างกันและเวลาที่ผู้เรียน สมัครใช้งานเว็บไซต์จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทราบว่าจะต้องสมัครเรียนเข้า กลุ่มเรียนไหน ซึ่งเวลาที่ครูผู้สอนทาการสร้าง กลุ่มเรียน ระบบจะทาการสร้างโค๊ดให้แต่ละกลุ่มซึ่งจะไม่เหมือนกัน โดยอาจารย์ผู้สอนต้องแจ้งโค๊ดของแต่ละรายวิชา ให้กับผู้เรียนทราบก่อนสมัคร เข้าใช้งานเว็บไซต์ โดยการสร้างกลุ่มเรียนนั้นมีอยู่ 2 วิธีคือ
  • 12. วิธีที่ 1 คือ การขอเข้าร่วมเป็นครูผู้สอนกับครูผู้สอนในรายวิชาอื่น(Join) มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : คลิกเลือกที่เมนู Join ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอเว็บไซต์ขึ้นมาชื่อ Join Group แล้วให้เราทาการเพิ่มโค๊ดของกลุ่มเรียนที่เรา ต้องการขอเป็นครูผู้สอน โดยจะทาการเพิ่มโค๊ดได้ที่ละ 1 วิชา หลังจากนั้นคลิกที่ปุ่ม Join ขั้นตอนที่ 3 : หลังจากนั้นเมื่อการขอเข้าร่วมเป็นครูผู้สอนสาเร็จจะปรากฏหน้าจอเว็บไซต์ ขึ้นมาชื่อ Group Joined successfully โดยมีข้อความว่า You have successfully joined the group KM บ้านครู แสดงว่าการ ขอเข้ารวมกลุ่มสาเร็จ หลังจากนั้นให้คลิกที่ X เพื่อเข้าสู่การเรียนการสอนต่อไป
  • 13. วิธีที่ 2 คือ การสร้างกลุ่มใหม่ (Create) มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : คลิกเลือกที่เมนู Join ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอเว็บไซต์ขึ้นมาชื่อ Create Group แล้วให้เราทาการเพิ่มรายละเอียดข้อมูล ดังนี้ • Group Name คือ ชื่อของกลุ่มหรือชื่อของรายวิชา • Grade คือ ระดับการศึกษา • Subject Area คือ หมวดหมู่ของการเรียนการสอน
  • 14. ขั้นตอนที่ 3 : เมื่อกรอกรายละเอียดครบทุกช่องแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Create ระบบจะปรากฏหน้าจอขึ้นมาบนเว็บไซต์ชื่อ Create Group เพื่อแสดงชื่อกลุ่มและโค๊ดของกลุ่ม แล้วให้คลิกที่ปุ่ม Close ดังภาพ
  • 15. การแก้ไขกลุ่ม เมื่อครูผู้สอนต้องการที่จะทาการแก้ไขกลุ่มเรียนนั้นสามารถทาได้โดย มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : คลิกที่เมนูด้านขวามือของเว็บไซต์ในหัวข้อ Group Settings ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอเว็บไซต์ขึ้นมาชื่อ Setting แล้วตามด้วยชื่อกลุ่ม เมื่อทาการแก้ไขข้อมูลเสร็จแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม Save
  • 16.
  • 17.
  • 19. 1. การโพสต์ข้อความต่างๆ 2. การโพสต์เพื่อแจ้งงานต่างๆสามารถเปลี่ยนเป็นกลุ่มหรือเลือกเฉพาะนักเรียนได้ 1 2 3 3. โพสต์ที่ใช้เยอะที่สุดเวลาส่งงาน เราสามารถใส่วันส่งงาน due date ใส่ link หรือเอกสารต่าง ๆ ได้ 4 4. การโพสต์เพื่อสร้างแบบทดสอบออนไลน์ ( สามารถจับเวลาได้ ) แบ่งได้ดังนี้ 1.ชนิดแบบทดสอบ Multiple Choice 2.ชนิดแบบทดสอบ True False 3.ชนิดแบบทดสอบ Short Answer 4.ชนิดแบบทดสอบ Multiple Choice 5. การโพสต์เพื่อสร้างแบบการสารวจ 5
  • 23.
  • 24. 1. 2.
  • 25.
  • 26. ขั้นตอนที่ 1 : ทาการเพิ่มชื่อของแบบทดสอบในหัวข้อ Quiz Title ขั้นตอนที่ 2 : กาหนดเวลาในการทาแบบทดสอบ โดยมีหน่วยเป็นนาที 1 2 ขั้นตอนที่ 3 : คลิกเลือกประเภทของแบบทดสอบเป็น Multiple Choice แล้วคลิกที่ปุ่ม +Add First Question 3
  • 27. ขั้นตอนที่ 4 : จะปรากฏหน้าจอการสร้างแบบทดสอบแล้วทาการเพิ่มข้อมูล ดังนี้ Point คือ คะแนนในข้อนั้นๆ Question Prompt คือ ชื่อหัวข้อคาถาม Attach คือ การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆหรือการแนบไฟล์ในในคลังข้อมูล Responses คือ ตัวเลือกในการตอบคาถาม
  • 28. ขั้นตอนที่ 5 : ทาการเพิ่มตัวเลือกในการตอบคาถาม เนื่องจากว่าระบบได้ทาการตั้งค่าเริ่มต้นจานวน 2 ข้อในการตั้งคาถามในครั้งแรกให้ทาการคลิกที่ปุ่ม Add Response ตามความต้องการ ขั้นตอนที่ 6 : หากต้องการลบตัวเลือกให้คลิกที่ Remove Answer ดังภาพ ขั้นตอนที่ 7 : ทาการเลือกตัวเลือกที่ถูกต้องโดยการคลิกที่ Set as Correct Answer จะปรากฏกรอบสีเขียว ล้อมรอบตัวเลือกที่ถูกต้องและมีข้อความปรากฏอยู่ด้านล่าง ของตัวเลือกชื่อ Correct Answer ดังภาพ
  • 29. วิธีการสร้างแบบทดสอบแบบเติมคาในช่องว่าง (Fill in the blank) ขั้นตอนที่ 1 : ทาการเพิ่มชื่อของแบบทดสอบในหัวข้อ Quiz Title ขั้นตอนที่ 2 : กาหนดเวลาในการทาแบบทดสอบ โดยมีหน่วยเป็นนาที ขั้นตอนที่ 3 : คลิกเลือกประเภทของแบบทดสอบเป็น Fill in the blank แล้วคลิกที่ปุ่ม +Add First Question 1 2 3
  • 30. ขั้นตอนที่ 4 : จะปรากฏหน้าจอการสร้างแบบทดสอบแล้วทาการเพิ่มข้อมูล ดังนี้ Point คือ คะแนนในข้อนั้นๆ Question Prompt คือ ชื่อหัวข้อคาถาม Attach คือ การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆหรือการแนบไฟล์ในในคลังข้อมูล ขั้นตอนที่ 5 : พิมพ์ชื่อหัวข้อคาถามโดยหลังจากที่พิมพ์เสร็จให้พิมพ์เครื่องหมาย “_” หลังข้อคาถาม
  • 31. ขั้นตอนที่ 8 : ทาการเพิ่มข้อคาถามใหม่โดยการคลิกที่ปุ่ม Add ขั้นตอนที่ 9 : หากต้องการนาข้อคาถามที่เคยสร้างไว้มาเพิ่มในแบบทดสอบให้คลิกที่ปุ่ม Load จะปรากฏ หน้าจอเพื่อทาการเลือกเพิ่มเติม โดยคลิกที่ Load this Question
  • 32. ขั้นตอนที่ 10 : หากต้องการลบข้อคาถามให้คลิกที่ปุ่ม Remove Answer ดังภาพ ขั้นตอนที่ 11 : คลิกที่ Preview this Quiz เพื่อดูตัวอย่างแบบทดสอบ ดังภาพ
  • 33. ขั้นตอนที่ 12 : เมื่อทาการเพิ่มข้อคาถามเสร็จแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Assign Quiz ดังภาพ ขั้นตอนที่ 13 : คลิกที่ช่อง due date เพื่อกาหนดวันทาแบบทดสอบ ขั้นตอนที่ 14 : หากต้องการแก้ไขแบบทดสอบให้คลิกที่ Edit this Quiz ดังภาพ
  • 34. ขั้นตอนที่ 16 : จะปรากฏหน้าข้อมูลของแบบทดสอบ โดยจะมีช่อง Turned In เพื่อเช็คจานวนผู้ทาแบบทดสอบ ขั้นตอนที่ 15 : ทาการคลิกที่ช่อง Send to… เพื่อเลือกส่งให้กับกลุ่มเรียน แล้วคลิกที่ปุ่ม send
  • 35. ขั้นตอนที่ 1 : ทาการเพิ่มชื่อของแบบทดสอบในหัวข้อ Quiz Title ขั้นตอนที่ 2 : กาหนดเวลาในการทาแบบทดสอบ โดยมีหน่วยเป็นนาที ขั้นตอนที่ 3 : คลิกเลือกประเภทของแบบทดสอบเป็น True False แล้วคลิกที่ปุ่ม +Add First Question 2 3
  • 36. ขั้นตอนที่ 4 : จะปรากฏหน้าจอการสร้างแบบทดสอบแล้วทาการเพิ่มข้อมูล ดังนี้ Point คือ คะแนนในข้อนั้นๆ Question Prompt คือ ชื่อหัวข้อคาถาม Attach คือ การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆหรือการแนบไฟล์ในในคลังข้อมูล Responses คือ ตัวเลือกในการตอบคาถาม ถูกและผิด
  • 37. ขั้นตอนที่ 5 : ทาการเลือกคาตอบโดยระบบได้กาหนดให้มีตัวเลือกคือ ขั้นตอนที่ 6 : ทาการเพิ่มข้อคาถามใหม่โดยการคลิกที่ปุ่ม Add ดังภาพ
  • 38. ขั้นตอนที่ 7 : หากต้องการนาข้อคาถามที่เคยสร้างไว้มาเพิ่มในแบบทดสอบให้คลิกที่ปุ่ม Load จะปรากฏหน้าจอ เพื่อทาการเลือกเพิ่มเติม โดยคลิกที่ Load this Question ขั้นตอนที่ 8 : หากต้องการลบข้อคาถามให้คลิกที่ปุ่ม Remove Answer ดังภาพ
  • 39. ขั้นตอนที่ 9 : คลิกที่ Preview this Quiz เพื่อดูตัวอย่างแบบทดสอบ ขั้นตอนที่ 10 : เมื่อทาการเพิ่มข้อคาถามเสร็จแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Assign Quiz ดังภาพ ขั้นตอนที่ 11 : คลิกที่ช่อง due date เพื่อกาหนดวันทาแบบทดสอบ ดังภาพ
  • 40. ขั้นตอนที่ 12 : หากต้องการแก้ไขแบบทดสอบให้คลิกที่ Edit this Quiz ขั้นตอนที่ 13 : ทาการคลิกที่ช่อง Send to… เพื่อเลือกส่งให้กับกลุ่มเรียน แล้วคลิกที่ปุ่ม send
  • 41. ขั้นตอนที่ 6 : ให้พิมพ์คาตอบในช่องว่างด้านหลังของข้อคาถาม ขั้นตอนที่ 7 : ทาการเพิ่มข้อคาถามใหม่โดยการคลิกที่ปุ่ม Add ดังภาพ ขั้นตอนที่ 8 : หากต้องการนาข้อคาถามที่เคยสร้างไว้มาเพิ่มในแบบทดสอบให้คลิกที่ปุ่ม Load จะปรากฏ หน้าจอเพื่อทาการเลือกเพิ่มเติม โดยคลิกที่ Load this Question
  • 42. ขั้นตอนที่ 9 : หากต้องการลบข้อคาถามให้คลิกที่ปุ่ม Remove Answer ดังภาพ ขั้นตอนที่ 10 : คลิกที่ Preview this Quiz เพื่อดูตัวอย่างแบบทดสอบ ขั้นตอนที่ 11 : เมื่อทาการเพิ่มข้อคาถามเสร็จแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Assign Quiz ดังภาพ
  • 43. ขั้นตอนที่ 12 : คลิกที่ช่อง due date เพื่อกาหนดวันทาแบบทดสอบ ดังภาพ ขั้นตอนที่ 13 : หากต้องการแก้ไขแบบทดสอบให้คลิกที่ Edit this Quiz ขั้นตอนที่ 14 : ทาการคลิกที่ช่อง Send to… เพื่อเลือกส่งให้กับกลุ่มเรียน แล้วคลิกที่ปุ่ม send
  • 44. ขั้นตอนที่ 15 : จะปรากฏหน้าข้อมูลของแบบทดสอบ โดยจะมีช่อง Turned In เพื่อเช็คจานวนผู้ทาแบบทดสอบ
  • 45.
  • 47. ขั้นตอนที่ 1 : คลิกที่สัญลักษณ์ แล้วทาการพิมพ์ชื่อแบบสารวจที่ช่อง question…. ขั้นตอนที่ 2 : ทาการคลิกที่ช่อง answer # ในแต่ละช่อง เพื่อพิมพ์รายละเอียดของหัวข้อแบบสารวจโดยระบบ จะมีกาหนดรายละเอียดหัวข้อใน ครั้งแรกเพียง 2 หัวข้อ ซึ่งสามารถเพิ่มได้ไม่จากัดโดยการคลิกที่ปุ่ม + Add Answer ขั้นตอนที่ 3 : ทาการคลิกที่ช่อง Send to… เพื่อเลือกส่งให้กับกลุ่มเรียน แล้วคลิกที่ปุ่ม send
  • 48.
  • 50. การสมัครเข้าใช้งาน ( ของผู้เรียน ) ขั้นตอนที่ 1 : เข้าไปที่เว็บไซต์ http://www.edmodo.com หลังจากนั้นให้เลือกในส่วนของผู้เรียนโดยเลือกที่ปุ่ม I’m a Student
  • 51. ขั้นตอนที่ 2 : หลังจากนั้นจะปรากฏหน้าจอบนเว็บไซต์ชื่อ Student Sign up แล้วทาการกรอกข้อมูลตาม รายละเอียดให้ครบทุกช่อง โดยมีรายละเอียดข้อมูลดังนี้
  • 52. ขั้นตอนที่ 3 : เมื่อผู้เรียนทาการ Login เข้าสู่ระบบจะปรากฏรายละเอียดข้อมูลกิจกรรมในกลุ่มวิชาที่ทาการสมัคร
  • 55. การตั้งค่าการใช้งาน (Account) เมื่อเลือกที่เมนู Account จะปรากฏเมนูย่อยขึ้นมาดดังนี้ • เมนู Settings คือ การตั้งค่าผู้ใช้งาน • เมนู Help คือ รายละเอียดความช่วยเหลือจากเว็บไซต์ • เมนู Logout คือ ออกจากระบบ
  • 57. การสมัครเข้าเรียนในกลุ่มอื่นๆ (Join Group) ขั้นตอนที่ 1 : ทาการเลือกเมนู Groups แล้วเลือกที่เมนู Join ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอเพื่อให้ใส่รหัสของกลุ่มเรียน ซึ่งได้มาจากครูผู้สอนแล้วคลิกที่ปุ่ม Join ดังภาพ ขั้นตอนที่ 3 : เมื่อทาการขอเข้ากลุ่มเรียนสาเร็จระบบจะปรากฏข้อความขึ้นมาว่า You have successfully joined the group ดังภาพ
  • 59. ขั้นตอนที่ 4 : รายชื่อกลุ่มที่ทาการสมัครก็จะปรากฏในเมนูด้านซ้ายมือในหัวข้อ Groups ดังภาพ
  • 61. ปฏิทินการเรียนการสอน (Calendar) เป็นตารางกาหนดการต่างเช่น การนัดหมาย การสอบ การส่งงานที่ครูผู้สอนได้ทาการนัดหมายผู้เรียนและผู้เรียนก็ยัง สามารถเพิ่ม กาหนดการต่างๆในระบบ ซึ่งมีวิธีการดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : คลิกเลือกวันที่จะทาการกาหนดการ
  • 62. ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอแล้วทาการพิมพ์รายละเอียดกิจกรรมในช่อง describe the event ดังภาพ ขั้นตอนที่ 3 : ทาการเลือกวันหากกิจกรรมใช้เวลาหลายวันให้คลิกที่ Date Range เพื่อกาหนดวันสิ้นสุด ขั้นตอนที่ 4 : คลิกที่ปุ่ม Create เพื่อทาการสร้างกิจกรรม
  • 63. ขั้นตอนที่ 5 : จะปรากฏรายละเอียดในปฏิทิน ดังภาพ
  • 64. การทากิจกรรมหรือการบ้าน ขั้นตอนที่ 1 : เลือกกิจกรรมหรือการบ้านครูผู้สอนสร้างขึ้นมาแล้วคลิกที่ปุ่ม Turn In ดังภาพ
  • 66. ขั้นตอนที่ 2 : จะปรากฏหน้าจอแล้วทาการพิมพ์คาตอบในช่อง type your response hear… หาก ต้องการแนบไฟล์ให้เลือก Attach โดยสามารถแนบไฟล์ได้ 3 รูปแบบคือ File คือ การแนบไฟล์รูปภาพ ไฟล์เอกสารนามสกุลต่างๆ เช่นไฟล์จาก Microsoft Office Link คือ การแนบไฟล์ที่ต้องการเชื่อมโยงไปยังเว็บภายนอก เช่น YouTube เว็บไซต์ต่างๆ Library คือ การแนบไฟล์ที่อยู่ในคลังข้อมูล
  • 67. ขั้นตอนที่ 3 : ทาการส่งกิจกรรมหรือการบ้านโดยคลิกที่ปุ่ม Turn in Assignment ดังภาพ ขั้นตอนที่ 4 : หลังจากนั้นจะปรากฏรายละเอียดงานที่ทาการส่งหรือหากต้องการส่งงานใหม่ให้คลิกที่ Resubmit this assignment