SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
การคัดพันธุ์ข้าวชุมชน 
รวบรวมโดย 
นางสนิท ทิพย์นางรอง 
สมาชิกกลุ่มผู้คัดพันธุ์ข้าว ชุมชนบ้านลิ่มทอง ตาบลหนองโบสถ์ 
อาเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์
การคัดพันธุ์ข้าว 
1. จุดเริ่มต้นการคัดพันธุ์ 
เนื่องจากปัจจุบันการทานาของเกษตรกรเปลี่ยนจากทาเพื่อบริโภคในครัวเรือนมาเป็นการทานาที่ มุ่งเพื่อขายแทน ส่งผลให้ข้าวพันธุ์พื้นบ้านไม่ตอบสนองต่อการทานาแบบใหม่อีกทั้งเกษตรกรส่วนใหญ่ใน ชุมชนไม่ได้ให้ความสาคัญกับการคัดพันธุ์ข้าว ทาให้ข้าวที่เกษตรกรในชุมชนปลูกมีการปะปน เกิดการกลาย พันธุ์ กระทั่งส่งผลให้ผลผลิตและคุณภาพของข้าวต่าลง จนต้องเปลี่ยนพันธุ์ข้าวปลูก หรือต้องไปหาซื้อเมล็ด พันธุ์จากภายนอก ทาให้ต้นทุนการทานาสูงขึ้นตามไปด้วย เพื่อเป็นทางเลือกและแนวทางปฏิบัติของ เกษตรกรในชุมชน เกษตรกรชุมชนบ้านลิ่มทอง จึงรวมตัวกันเป็นกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าวสารหอมมะลิ บรรจุถุงและริเริ่มโครงการพัฒนาความรู้ด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวและการผลิตข้าวสารหอมมะลิบรรจุถุง เพื่อจาหน่ายขึ้น 
2. เลือกสายพันธุ์ข้าวที่จะคัดพันธุ์ 
ปัจจุบันเกษตรกรชุมชนบ้านลิ่มทองมีการปลูกข้าวหลายสายพันธุ์ สมาชิกกลุ่มจึงต้องเลือกสายพันธุ์ ข้าวที่จะใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการคัดพันธุ์ข้าวชุมชน ซึ่งสายพันธุ์ข้าวที่สมาชิกกลุ่มคัดพันธุ์ข้าวชุมชนบ้านลิ่ม ทองเลือก มีดังนี้ 
1. ข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่เกษตรกรต้องการอนุรักษ์ ได้แก่ ข้าวหอมมะลิแดง ข้าวจิ๊บ 
2. ข้าวที่นิยมปลูก ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ 105 
3. การฝึกอบรมคัดพันธุ์ข้าว 
ปี 2551 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้าและการเกษตร (องค์การมหาชน) ร่วมกับศูนย์วิจัยข้าว นครราชสีมา อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ได้เข้ามาจัดฝึกอบรมเรื่อง การปรับปรุงพันธุ์ การคัดเลือกพันธุ์และ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ให้กับสมาชิกกลุ่มคัดพันธุ์ข้าวและเกษตรกรผู้ปลูกข้าวชุมชนบ้านลิ่มทอง โดยมี คุณ สมหมาย เลิศนา นักวิชาการเกษตร มาเป็นวิทยากรผู้ให้ความรู้ 
 รูปแบบการฝึกอบรม 
แบ่งเป็น 2 ช่วง ดังนี้ 
เช้า บรรยาย วิทยากรให้ความรู้และคาแนะนา เรื่อง ข้าว การปรับปรุงพันธุ์ เทคนิคการ 
คัดเลือกพันธุ์ การผลิตเมล็ดพันธุ์ และการเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ขยายพันธุ์ในฤดูกาลต่อไป 
บ่าย ภาคปฏิบัติ วิทยากรสาธิตเทคนิควิธีการคัดพันธุ์ข้าวในแปลงนา การคัดพันธุ์ข้าว 
จากรวง และให้เกษตรกรฝึกคัดพันธุ์ข้าวในแปลงนาสาธิต
 การคัดพันธุ์ข้าวในแปลงนา 
การคัดเลือกพันธุ์บริสุทธิ์ เป็นการคัดเลือกพันธุ์ข้าวที่ใช้ปลูกอยู่เดิมแต่มีการปะปนหรือ 
พันธุ์ที่ได้มาจากที่อื่น มาทาการคัดเลือก 
ขั้นตอน 
1. เลือกแปลงนาที่มีข้าวเจริญเติบโตดีไม่มีโรคและแมลงรบกวน 
2. เลือกเก็บรวงและต้น ที่ต้องการที่มีลักษณะตรงตามแต่ละพันธุ์ที่เลือกเก็บ ดังนี้ 
ชนิดข้าว 
ลักษณะ 
หอมมะลิแดง 
- ลาต้นและใบเขียวอ่อน ลาต้นสูงประมาณ 120 - 130 เซนติเมตร 
- ใบธงตั้งตรง เรียวยาว ประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร 
- ระแง้ถี่ 
- เมล็ด เรียว ยาว มีสีเหลืองอ่อน มีครีบด้านข้างสีน้าตาล ไม่มีหาง 
ข้าวจิ๊บ 
- ลาต้นและใบเขียวเข้ม ลาต้นสูงประมาณ 110 - 120 เซนติเมตร 
- ใบธงลู่ เรียวยาว ประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร 
- ระแง้ถี่ 
- เมล็ด เล็ก เรียว เปลือกบางมีสีน้าตาลอ่อน ตูดงอน ไม่มีหาง 
วิทยากรแนะนาเทคนิควิธีการคัดพันธุ์ข้าวจากรวงในแปลงนาสาธิต 
3. เก็บเกี่ยวรวงแยกแต่ละต้น ในการเก็บรวงเพื่อทาพันธุ์นั้น ให้เก็บรวงข้าวที่อยู่ห่างจากขอบ 
แปลงข้างละ 1 เมตร เพื่อป้องกันการปนกับข้าวอื่นๆ เก็บประมาณ 200 รวง ต่อหนึ่งพันธุ์หรือให้เพียงพอ กับความต้องการในแต่ละพันธุ์
เกษตรและเยาวชนผู้เข้าร่วมการอบรมลงมือคัดพันธุ์ข้าวจากแปลงนาสาธิต 
พันธุ์ข้าวที่สมาชิกคัดเลือกไว้สาหรับทาแปลงคัดพันธุ์ในฤดูกาลผลิตต่อไป
ตัวอย่างข้าวที่ขึ้นปะปนอยู่ในแปลงนาสาธิตที่ทาการคัดเลือกพันธุ์ 
4. นารวงข้าวไปตากแดด ประมาณ 1-2 แดด หลังจากนั้นบรรจุรวงข้าวไว้ในพาชนะที่ระบาย 
อากาศได้ดี เช่น ถุงผ้า กระสอบ เป็นต้น 
5. เขียนชื่อพันธุ์ อายุการเก็บเกี่ยว ติดไว้ * การทาเช่นนี้ 1-2 ฤดูการผลิต จะทาให้สามารถรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดีไว้ได้ 
หรืออาจได้ข้าวสายพันธุ์ใหม่จากการคัดเลือกเช่นนี้ได้
4. การผลิตเมล็ดพันธุ์ 
หลังจากที่สมาชิกกลุ่มคัดพันธุ์ข้าวชุมชนบ้านลิ่มทองได้คัดพันธุ์ข้าวจากแปลงนาสาธิตมาแล้วเมื่อถึง ฤดูกาลทานาในปี 2552 สมาชิกกลุ่มได้นาพันธุ์ข้าวที่คัดไว้มาผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์ต่อโดยวิธีการวางรวง 
ขั้นตอนการผลิตเมล็ดพันธุ์ ประกอบด้วย 
 การเตรียมดิน 
- ไถดะ 1 ครั้ง ไถแปร 2 ครั้ง โดยเว้นระยะห่างอย่างน้อย 15 วัน 
 การวางรวง 
- เตรียมแปลงสาหรับวางรวงข้าว โดย แปลงกว้างประมาณ 2 เมตร ส่วนความยาวตาม 
ขนาดของพื้นที่ 
- คัดเลือกรวงข้าวที่เก็บไว้อีกครั้งก่อนที่จะนาไปวางรวง เพื่อให้ได้พันธุ์ข้าวที่มีความสมบูรณ์ 
และตรงกับความต้องการที่สุด 
- นารวงข้าวที่คัดเลือก มาวางลงในแปลงนาที่เตรียมเอาไว้ โดยวางทีละรวงให้เป็นแถว
สมาชิกกลุ่มช่วยกันวางรวงข้าว 
พันธุ์ข้าวที่สมาชิกช่วยกันวางรวงเริ่มงอก
พันธุ์ข้าวที่วางรวง ระยะที่สามารถปักดาได้แล้ว 
 การปลูกและคัดเลือก 
ปีที่ 1 ปลูกโดยการปักดา 
1. ถอนกล้าพันธุ์ข้าวที่ทาการวางรวงไว้ โดยถอนเป็นกาๆ ละ 1 รวง 
2. ปักดา 1 ต้น ต่อ จับ (ระยะห่างต่อต้นประมาณ 15-25 เซนติเมตร) โดยใช้กล้าพันธุ์ 
1 กา ต่อ 1 แถว และหากต้นกล้าเหลือให้นาไปปักดาไว้ที่หัวแถว เพื่อเก็บไว้สาหรับปลูกแซมต้นที่ตายไป 
** เก็บต้นกล้าพันธุ์ไว้เป็นแถวๆ อย่านามาปนกัน 
3. แปลงปักดาควรมีขนาด กว้าง 5 เมตร และ เว้นทางเดิน 50 เซนติเมตร 
** แปลงปักดา ควรแบ่งเป็นแปลงย่อย กว้าง 5 เมตร เพื่อให้การสังเกตและการตรวจดู 
แปลงทาได้ง่ายขึ้น 
สมาชิกกลุ่มช่วยกันถอนกล้าเตรียมปักดา
สมาชิกกลุ่มช่วยกันปักดาข้าว
ปลูกคัดเลือกปีที่ 1
ตรวจแปลงและเก็บข้อมูลข้าวในแปลงคัดพันธุ์
ข้าวในระยะออกดอก ข้าวในระยะโน้มรวง
 การกาจัดวัชพืช 
กาจัดวัชพืชโดยวิธีการถอน ครั้งที่ 1 เมื่อข้าวอายุได้ 1-4 วัน หลังจากนั้นหากยังมีวัชพืชอีก 
ก็จัดการกาจัดโดยวิธีการถอนเช่นเดิม 
 การใส่ปุ๋ย 
ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในช่วงการไถกลบตอซัง 
ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในช่วงปักดา 
ครั้งที่ 3 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในช่วงข้าวอายุ 30 วัน 
ครั้งที่ 4 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในช่วงข้าวอายุ 50 วัน 
 การจัดการน้า 
ระบายน้าเข้าแปลงครั้งแรกหลังข้าวอายุได้ 10 วัน 
ระดับน้าในแปลงช่วงที่ใส่ปุ๋ย 10 เซนติเมตร 
ช่วงข้าวออกดอกมีน้าในแปลงประมาณ 15-25 เซนติเมตร 
ระบายน้าในแปลงก่อนเกี่ยวข้าว 5-10 วัน 
 การป้องกันกาจัดศัตรูข้าว 
เพลี้ยไฟ กาจัดโดยใช้น้าหมักชีวภาพฉีดพ่นในอัตราส่วน 10-20 ซีซี ต่อน้า 20 ลิตร 
หอยเชอร์รี่ กาจัดโดยการเก็บออกจากนาแล้วนามาทาน้าหมักชีวภาพ ส่วนไข่หอยเชอร์รี่ 
ใช้วิธีการเก็บลงในน้าเพื่อไม่ให้ไข่แตกออกเป็นตัวได้ 
นก กัดหักต้นข้าวแต่ไม่มาก ป้องกันโดยการใช้ธงไล่ 
 การกาจัดข้าวเรื้อข้าวปน 
แบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะแตกกอ ระยะออกดอก และระยะโน้มรวง
ต้องถอนทิ้งทั้งกอ แต่กลุ่มเก็บเอาไว้ เพื่อเปรียบเทียบกับกอที่ยังไม่ออกรวง 
ว่าแบบไหนจะเป็นข้าวพันธุ์ดี ตรงกับลักษณะสายพันธุ์ที่ต้องการมากกว่ากัน 
และจะแก้ไขโดยการทาป้ายมาปักไว้ที่แปลง 
 การเก็บเกี่ยว 
เกี่ยวด้วยมือเป็นรวง มัดเป็นกา และมัดรวมกันเป็นฟ่อน และแยกตามแปลงที่ปลูก 
** ข้าวที่เก็บเกี่ยวควรแก่จัดและควรแบ่งข้าวตามแปลงที่ปลูก 
 การลดความชื้นของเมล็ด โดยการตาก 
ตากข้าว ประมาณ 1-2 วัน จนแห้ง หลังจากนั้นนวดข้าวโดยใช้วิธีนวดมือ (ตีข้าว) เสร็จ 
แล้ว บรรจุในภาชนะและเขียนป้ายชื่อพันธุ์และเก็บในยุ้งฉางโดยการแยกพันธุ์
088 การคัดพันธุ์ข้าวชุมชน

More Related Content

Featured

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 

Featured (20)

Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 

088 การคัดพันธุ์ข้าวชุมชน

  • 1. การคัดพันธุ์ข้าวชุมชน รวบรวมโดย นางสนิท ทิพย์นางรอง สมาชิกกลุ่มผู้คัดพันธุ์ข้าว ชุมชนบ้านลิ่มทอง ตาบลหนองโบสถ์ อาเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์
  • 2. การคัดพันธุ์ข้าว 1. จุดเริ่มต้นการคัดพันธุ์ เนื่องจากปัจจุบันการทานาของเกษตรกรเปลี่ยนจากทาเพื่อบริโภคในครัวเรือนมาเป็นการทานาที่ มุ่งเพื่อขายแทน ส่งผลให้ข้าวพันธุ์พื้นบ้านไม่ตอบสนองต่อการทานาแบบใหม่อีกทั้งเกษตรกรส่วนใหญ่ใน ชุมชนไม่ได้ให้ความสาคัญกับการคัดพันธุ์ข้าว ทาให้ข้าวที่เกษตรกรในชุมชนปลูกมีการปะปน เกิดการกลาย พันธุ์ กระทั่งส่งผลให้ผลผลิตและคุณภาพของข้าวต่าลง จนต้องเปลี่ยนพันธุ์ข้าวปลูก หรือต้องไปหาซื้อเมล็ด พันธุ์จากภายนอก ทาให้ต้นทุนการทานาสูงขึ้นตามไปด้วย เพื่อเป็นทางเลือกและแนวทางปฏิบัติของ เกษตรกรในชุมชน เกษตรกรชุมชนบ้านลิ่มทอง จึงรวมตัวกันเป็นกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าวสารหอมมะลิ บรรจุถุงและริเริ่มโครงการพัฒนาความรู้ด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวและการผลิตข้าวสารหอมมะลิบรรจุถุง เพื่อจาหน่ายขึ้น 2. เลือกสายพันธุ์ข้าวที่จะคัดพันธุ์ ปัจจุบันเกษตรกรชุมชนบ้านลิ่มทองมีการปลูกข้าวหลายสายพันธุ์ สมาชิกกลุ่มจึงต้องเลือกสายพันธุ์ ข้าวที่จะใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการคัดพันธุ์ข้าวชุมชน ซึ่งสายพันธุ์ข้าวที่สมาชิกกลุ่มคัดพันธุ์ข้าวชุมชนบ้านลิ่ม ทองเลือก มีดังนี้ 1. ข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่เกษตรกรต้องการอนุรักษ์ ได้แก่ ข้าวหอมมะลิแดง ข้าวจิ๊บ 2. ข้าวที่นิยมปลูก ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ 105 3. การฝึกอบรมคัดพันธุ์ข้าว ปี 2551 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้าและการเกษตร (องค์การมหาชน) ร่วมกับศูนย์วิจัยข้าว นครราชสีมา อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ได้เข้ามาจัดฝึกอบรมเรื่อง การปรับปรุงพันธุ์ การคัดเลือกพันธุ์และ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ให้กับสมาชิกกลุ่มคัดพันธุ์ข้าวและเกษตรกรผู้ปลูกข้าวชุมชนบ้านลิ่มทอง โดยมี คุณ สมหมาย เลิศนา นักวิชาการเกษตร มาเป็นวิทยากรผู้ให้ความรู้  รูปแบบการฝึกอบรม แบ่งเป็น 2 ช่วง ดังนี้ เช้า บรรยาย วิทยากรให้ความรู้และคาแนะนา เรื่อง ข้าว การปรับปรุงพันธุ์ เทคนิคการ คัดเลือกพันธุ์ การผลิตเมล็ดพันธุ์ และการเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ขยายพันธุ์ในฤดูกาลต่อไป บ่าย ภาคปฏิบัติ วิทยากรสาธิตเทคนิควิธีการคัดพันธุ์ข้าวในแปลงนา การคัดพันธุ์ข้าว จากรวง และให้เกษตรกรฝึกคัดพันธุ์ข้าวในแปลงนาสาธิต
  • 3.  การคัดพันธุ์ข้าวในแปลงนา การคัดเลือกพันธุ์บริสุทธิ์ เป็นการคัดเลือกพันธุ์ข้าวที่ใช้ปลูกอยู่เดิมแต่มีการปะปนหรือ พันธุ์ที่ได้มาจากที่อื่น มาทาการคัดเลือก ขั้นตอน 1. เลือกแปลงนาที่มีข้าวเจริญเติบโตดีไม่มีโรคและแมลงรบกวน 2. เลือกเก็บรวงและต้น ที่ต้องการที่มีลักษณะตรงตามแต่ละพันธุ์ที่เลือกเก็บ ดังนี้ ชนิดข้าว ลักษณะ หอมมะลิแดง - ลาต้นและใบเขียวอ่อน ลาต้นสูงประมาณ 120 - 130 เซนติเมตร - ใบธงตั้งตรง เรียวยาว ประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร - ระแง้ถี่ - เมล็ด เรียว ยาว มีสีเหลืองอ่อน มีครีบด้านข้างสีน้าตาล ไม่มีหาง ข้าวจิ๊บ - ลาต้นและใบเขียวเข้ม ลาต้นสูงประมาณ 110 - 120 เซนติเมตร - ใบธงลู่ เรียวยาว ประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร - ระแง้ถี่ - เมล็ด เล็ก เรียว เปลือกบางมีสีน้าตาลอ่อน ตูดงอน ไม่มีหาง วิทยากรแนะนาเทคนิควิธีการคัดพันธุ์ข้าวจากรวงในแปลงนาสาธิต 3. เก็บเกี่ยวรวงแยกแต่ละต้น ในการเก็บรวงเพื่อทาพันธุ์นั้น ให้เก็บรวงข้าวที่อยู่ห่างจากขอบ แปลงข้างละ 1 เมตร เพื่อป้องกันการปนกับข้าวอื่นๆ เก็บประมาณ 200 รวง ต่อหนึ่งพันธุ์หรือให้เพียงพอ กับความต้องการในแต่ละพันธุ์
  • 5. ตัวอย่างข้าวที่ขึ้นปะปนอยู่ในแปลงนาสาธิตที่ทาการคัดเลือกพันธุ์ 4. นารวงข้าวไปตากแดด ประมาณ 1-2 แดด หลังจากนั้นบรรจุรวงข้าวไว้ในพาชนะที่ระบาย อากาศได้ดี เช่น ถุงผ้า กระสอบ เป็นต้น 5. เขียนชื่อพันธุ์ อายุการเก็บเกี่ยว ติดไว้ * การทาเช่นนี้ 1-2 ฤดูการผลิต จะทาให้สามารถรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดีไว้ได้ หรืออาจได้ข้าวสายพันธุ์ใหม่จากการคัดเลือกเช่นนี้ได้
  • 6. 4. การผลิตเมล็ดพันธุ์ หลังจากที่สมาชิกกลุ่มคัดพันธุ์ข้าวชุมชนบ้านลิ่มทองได้คัดพันธุ์ข้าวจากแปลงนาสาธิตมาแล้วเมื่อถึง ฤดูกาลทานาในปี 2552 สมาชิกกลุ่มได้นาพันธุ์ข้าวที่คัดไว้มาผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์ต่อโดยวิธีการวางรวง ขั้นตอนการผลิตเมล็ดพันธุ์ ประกอบด้วย  การเตรียมดิน - ไถดะ 1 ครั้ง ไถแปร 2 ครั้ง โดยเว้นระยะห่างอย่างน้อย 15 วัน  การวางรวง - เตรียมแปลงสาหรับวางรวงข้าว โดย แปลงกว้างประมาณ 2 เมตร ส่วนความยาวตาม ขนาดของพื้นที่ - คัดเลือกรวงข้าวที่เก็บไว้อีกครั้งก่อนที่จะนาไปวางรวง เพื่อให้ได้พันธุ์ข้าวที่มีความสมบูรณ์ และตรงกับความต้องการที่สุด - นารวงข้าวที่คัดเลือก มาวางลงในแปลงนาที่เตรียมเอาไว้ โดยวางทีละรวงให้เป็นแถว
  • 8. พันธุ์ข้าวที่วางรวง ระยะที่สามารถปักดาได้แล้ว  การปลูกและคัดเลือก ปีที่ 1 ปลูกโดยการปักดา 1. ถอนกล้าพันธุ์ข้าวที่ทาการวางรวงไว้ โดยถอนเป็นกาๆ ละ 1 รวง 2. ปักดา 1 ต้น ต่อ จับ (ระยะห่างต่อต้นประมาณ 15-25 เซนติเมตร) โดยใช้กล้าพันธุ์ 1 กา ต่อ 1 แถว และหากต้นกล้าเหลือให้นาไปปักดาไว้ที่หัวแถว เพื่อเก็บไว้สาหรับปลูกแซมต้นที่ตายไป ** เก็บต้นกล้าพันธุ์ไว้เป็นแถวๆ อย่านามาปนกัน 3. แปลงปักดาควรมีขนาด กว้าง 5 เมตร และ เว้นทางเดิน 50 เซนติเมตร ** แปลงปักดา ควรแบ่งเป็นแปลงย่อย กว้าง 5 เมตร เพื่อให้การสังเกตและการตรวจดู แปลงทาได้ง่ายขึ้น สมาชิกกลุ่มช่วยกันถอนกล้าเตรียมปักดา
  • 13.  การกาจัดวัชพืช กาจัดวัชพืชโดยวิธีการถอน ครั้งที่ 1 เมื่อข้าวอายุได้ 1-4 วัน หลังจากนั้นหากยังมีวัชพืชอีก ก็จัดการกาจัดโดยวิธีการถอนเช่นเดิม  การใส่ปุ๋ย ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในช่วงการไถกลบตอซัง ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในช่วงปักดา ครั้งที่ 3 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในช่วงข้าวอายุ 30 วัน ครั้งที่ 4 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในช่วงข้าวอายุ 50 วัน  การจัดการน้า ระบายน้าเข้าแปลงครั้งแรกหลังข้าวอายุได้ 10 วัน ระดับน้าในแปลงช่วงที่ใส่ปุ๋ย 10 เซนติเมตร ช่วงข้าวออกดอกมีน้าในแปลงประมาณ 15-25 เซนติเมตร ระบายน้าในแปลงก่อนเกี่ยวข้าว 5-10 วัน  การป้องกันกาจัดศัตรูข้าว เพลี้ยไฟ กาจัดโดยใช้น้าหมักชีวภาพฉีดพ่นในอัตราส่วน 10-20 ซีซี ต่อน้า 20 ลิตร หอยเชอร์รี่ กาจัดโดยการเก็บออกจากนาแล้วนามาทาน้าหมักชีวภาพ ส่วนไข่หอยเชอร์รี่ ใช้วิธีการเก็บลงในน้าเพื่อไม่ให้ไข่แตกออกเป็นตัวได้ นก กัดหักต้นข้าวแต่ไม่มาก ป้องกันโดยการใช้ธงไล่  การกาจัดข้าวเรื้อข้าวปน แบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะแตกกอ ระยะออกดอก และระยะโน้มรวง
  • 14. ต้องถอนทิ้งทั้งกอ แต่กลุ่มเก็บเอาไว้ เพื่อเปรียบเทียบกับกอที่ยังไม่ออกรวง ว่าแบบไหนจะเป็นข้าวพันธุ์ดี ตรงกับลักษณะสายพันธุ์ที่ต้องการมากกว่ากัน และจะแก้ไขโดยการทาป้ายมาปักไว้ที่แปลง  การเก็บเกี่ยว เกี่ยวด้วยมือเป็นรวง มัดเป็นกา และมัดรวมกันเป็นฟ่อน และแยกตามแปลงที่ปลูก ** ข้าวที่เก็บเกี่ยวควรแก่จัดและควรแบ่งข้าวตามแปลงที่ปลูก  การลดความชื้นของเมล็ด โดยการตาก ตากข้าว ประมาณ 1-2 วัน จนแห้ง หลังจากนั้นนวดข้าวโดยใช้วิธีนวดมือ (ตีข้าว) เสร็จ แล้ว บรรจุในภาชนะและเขียนป้ายชื่อพันธุ์และเก็บในยุ้งฉางโดยการแยกพันธุ์