SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบันและIFRS
และ
สรุปมาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุง ปี 2552
ดร.สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์
มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบันและIFRS
• มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบัน
• TAS ที่มีผลบังคับใช้มี 30 ฉบับ การตีความ 3 ฉบับ และแม่บทการ
บัญชี 1 ฉบับ
• ส่วนใหญ่อ้างอิงจาก IFRS (ปรับปรุง 2005/2006)
• แม่บทการบัญชี(2006)
• TAS 1(2006) การนาเสนองบการเงิน
• TAS 2(2006) สินค้าคงเหลือ
• TAS 7(2006) งบกระแสเงินสด
มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบัน
• TAS 8(2006) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ
ทางบัญชีและข้อผิดพลาด
• TAS 10(2005)เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล
• TAS 11(2006) สัญญาก่อสร้าง
• TAS 14(2005) การเสนอข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่วนงาน
• TAS 16 (2005) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
• TAS 17(2006) สัญญาเช่า
• TAS 18(2005) รายได้
• TAS 21(2005) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบัน
• TAS 23(2006) ต้นทุนการกู้ยืม
• TAS 24 (2005)การเปิดเผลข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่
เกี่ยวข้องกัน
• TAS 27(2006) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
• TAS 28(2006) เงินลงทุนในบริษัทร่วม
• TAS 31(2006) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า
• TAS 32(2005) การแสดงรายการสาหรับเครื่องมือทางการเงิน
• TAS 33(2005) กาไรต่อหุ้น
• TAS 34(2006) งบการเงินระหว่างกาล
มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบัน
• TAS 36(2006) การด้อยค่าของสินทรัพย์
• TAS 37(2005) ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์
ที่อาจเกิดขึ้น
• TAS 38(2006)สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
• TFRS 3(2006) การรวมธุรกิจ
• TFRS 5(2006) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการ
ดาเนินงานที่ยกเลิก
• TAS 103 การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินของธนาคารและสถาบัน
การเงินที่คล้ายคลึงกัน(IFRS ที่ยกเลิกแล้ว)
มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบัน
• TAS 102 การรับรู้รายได้สาหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
• TAS 104 การบัญชีสาหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา
• TAS 105 การบัญชีสาหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสาร
ทุน
• TAS 106 การบัญชีสาหรับกิจการที่ดาเนินธุรกิจเฉพาะด้านการ
ลงทุน
• TAS 101 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ(Local GAAP)
Us GAAP
ยกเว้น TAS สาหรับกิจการที่ไม่ใช่บริษัทมหาชน
จานวน 8 ฉบับ
– TAS 24 (14)การเสนอข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่วนงาน
– TAS 25 (7)งบกระแสเงินสด
– TAS 36 การด้อยค่าของทรัพย์สิน
– TAS 44 (27)งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
– TAS 45 (28)เงินลงทุนในบริษัทร่วม
– TAS 46(31) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า
– TAS 47 (24)การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง
– TAS 48 การแสดงรายการสาหรับตราสารการเงิน
IFRS
• IFRS เป็นมาตรฐานใหม่ที่ เป็นที่ ยอมรับทั่วโลกมากกว่า 120
ประเทศ ซี่งออกมาเพื่อทดแทน Generally Accepted
Accounting Principles หรือ GAAP ซึ่งเป็นหลักการบัญชีที่
ยอมรับทั่วโลกมาเป็นเวลายาวนาน และใช้เป็นหลักการที่ สร้าง
มาตรฐานทางการบัญชี เพื่อเป็นหลักประกันว่าการปฏิบัติทางการบัญชี
จะเป็นหลักการที่ สร้างความเที่ยงตรงของการทาบัญชีของบริษัทต่างๆ
ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันตลอดทั้งอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นหลักการที่นัก
บัญชี ของไทยทั้งหมดก็ใช้เป็นมาตรฐานการปฏิบัติมายาวนานเช่นกัน
8
• IFRS นี้จะส่งผลกระทบต่อมาตรฐานขั้นต่าที่ บริษัทจะต้องใช้ในการ
รับรู้ การชี้วัด financial statements ของบริษัท การนา IFRS
มาทดแทน GAAP นั้นเท่ากับว่าบริษัททุกๆบริษัท จะต้องปรับแก้ การ
รายงานงบการเงินของบริษัทต่อผู้ใช้งบการเงินใหม่ จึงจาเป็นที่ต้องทา
ให้เป็นที่ ยอมรับของสาธารณะ ได้แก่ตลาดหลักทรัพย์ ประชาชนทั่วไป
รวมไปถึงภาครัฐด้วยเช่นกัน
9
กำเนิด IFRS
จากการที่สหรัฐอเมริกาใช้ระบบมาตรฐานการบัญชีที่พัฒนาขึ้นมา ที่เรียกว่า GAAP
(Generally Accepted Accounting Principles) ในขณะที่ทางยุโรปใช้
มาตรฐานการบัญชีที่เรียกว่า IAS (International Accounting Standard)
สาหรับประเทศไทยเริ่มต้นการจัดทาบัญชีจากระบบมาตรฐานการบัญชีที่สอดคล้องกับ
GAAP และได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดเพื่อให้สอดคล้องกับ IAS
• เพื่อให้มาตรฐานทุกอย่างรวมกันเป็นมาตรฐานเดียวทั่วโลก ดังนั้น IASB (International
Accounting Standard Board) หรือคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีสากล จึงได้มี
ความพยายามที่จะกาหนดมาตรฐานการบัญชีให้เป็นรูปแบบเดียวกันเพื่อใช้เป็นหลักสากลทั่ว
โลก (International Financial Reporting Standards: IFRS) โดยพัฒนา
และออกกฎระเบียบการลงบันทึกบัญชีใหม่เพื่อให้โลกมีภาษาบัญชีเดียวกันทั่วโลก สาหรับ
ประเทศที่ได้ประกาศตัวพร้อมที่จะรับ IFRS มาใช้ในการลงบัญชี ได้แก่ สหภาพยุโรป ซึ่ง
กาหนดว่าทุกบริษัทต้องทางบการเงินให้เป็นไปตาม IFRS ส่วนประเทศออสเตรเลียและ
นิวซีแลนด์นั้น ได้กาหนดให้บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และบริษัทที่จาหน่าย
หลักทรัพย์ในตลาดเงินตลาดทุน ต้องทาบัญชีงบการเงิน ให้เป็นไปตามมาตรฐาน IFRS ทุก
ฉบับ
10
ทั่วโลกให้ ควำมสำคัญต่อ IFRS อย่ำงไร
ทั่วโลกให้ ความสาคัญต่อมาตรฐานใหม่นี้โดยจะเห็นได้ ว่า US
Securities and Exchange Commission (SEC) ได้
ประกาศเมื่อ วันที่ 25 สิงหาคม 2008 นี้ว่าจะนา IFRS มาใช้แทน
GAAP และจะดาเนินไปสู่การใช้IFRS เต็มรูปแบบภายในปี 2016
ส่วน Canada คาดว่าจะเป็น completely IFRS-
compliant ภายในปี 2011 นี้รวมทั้ง ประเทศต่างๆ ทั้งยุโรปและ
เอเชียมากกว่า 120 ประเทศ ก็ขานรับที่ จะนา IFRS มาใช้ แทน
GAAP
11
ประเทศไทย
• จากการที่สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์จัดทามาตรฐานการบัญชี
ของไทยให้เป็นมาตรฐานสากล คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการบัญชี
กาลังเร่งจัดทามาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการ
บัญชีระหว่างประเทศ (International Financial Reporting
Standard; IFRS) ฉบับเข้าเล่มปี 2009 (Bound Volume
2009) คือ ฉบับที่คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศแก้ไข
สิ้นสุดในปี 2008 โดยมาตรฐานการบัญชี (Thai Accounting
Standards; TAS) และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Thai
Financial Reporting Standards; TFRS) เหล่านี้ต้องถือ
ปฏิบัติกับรอบบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 และบางฉบับที่
เนื้อหาและวิธีปฏิบัติยากจะเลื่อนไปปี 2556
12
ฉบับที่ มาตรฐานการบัญชี บริษัทมหาชน บริษัทที่ไม่ใช่มหาชน
แม่บทการบัญชี X X
1 การนาเสนองบการเงิน X X
2 สินค้าคงเหลือ X X
7 งบกระแสเงินสด X
8 นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี
และข้อผิดพลาด X X
10 เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน X X
11 สัญญาก่อสร้าง X X
16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ X X
17 สัญญาเช่า X X
18 รายได้ X X
19 ผลประโยชน์ของพนักงาน X
23 ต้นทุนการกู้ยืม X X
24 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน X
26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์หลังเกษียณอายุ X
27 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ X
28 เงินลงทุนในบริษัทร่วม X
•
13
ฉบับที่ มำตรฐำนกำรบัญชี บริษัทมหำชน บริษัทที่ไม่ใช่มหำชน
29 การรายงานในภาวะเศรษฐกิจเงินเฟ้ อรุนแรง X X
31 ส่วนได้เสียในการร่วมค้า X
33 กาไรต่อหุ้น X X
34 งบการเงินระหว่างกาล X X
36 การด้อยค่าของสินทรัพย์ X
37 ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น X X
38 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน X X
40 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน X X
ฉบับที่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บริษัทมหาชน บริษัทที่ไม่ใช่มหาชน
2 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ X
3 การรวมธุรกิจ X X
5 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนถือไว้เพื่อขายและการดาเนินงานที่ยกเลิก X X
6 การสารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ X X
14
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1
การนาเสนองบการเงิน
ความแตกต่างของมาตรฐานฉบับเดิมกับฉบับปรับปรุงใหม่
มาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม่ โดยหลักการไม่แตกต่างจาก
มาตรฐานฉบับที่ 1 ฉบับเดิม ยกเว้นเปลี่ยนแปลง ดังนี้
1. งบดุล เปลี่ยนเป็ น “งบแสดงฐานะการเงิน”
2. กาหนดให้กิจการต้องนาเสนอการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ โดยให้แสดง
การเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของที่ไม่ได้เกิดจากรายการกับผู้เป็ นเจ้าของ เช่น
กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เป็ นรายการในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเพียงงบเดียว หรือ
นาเสนอเป็ นสองงบ (งบเฉพาะกาไรขาดทุน และ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ) โดยไม่
อนุญาตให้แสดงส่วนประกอบของกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในงบแสดงการ
เปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ
3. กาหนดให้กิจการต้องนาเสนองบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดที่
เปรียบเทียบล่าสุดในงบการเงินที่สมบูรณ์ เมื่อกิจการได้นานโยบายการบัญชีมา
ปรับปรุงย้อนหลังหรือแก้ไขงบการเงินย้อนหลังตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8
(ปรับปรุง 2552) เรื่อง นโยบายบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและ
ข้อผิดพลาด หรือเมื่อกิจการมีการจัดประเภทรายการในงบการเงินใหม่
4. กิจการต้องเปิดเผยการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่และภาษีเงินได้ที่
เกี่ยวกับส่วนประกอบแต่ละส่วนของกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น โดยการปรับปรุงการ
จัดประเภทรายการใหม่ คือ จานวนที่เคยรับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ถูกจัด
ประเภทไปเป็ นกาไรหรือขาดทุนในงวดปัจจุบันนั้น
ความแตกต่างของมาตรฐานฉบับเดิมกับฉบับปรับปรุงใหม่
มาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม่ โดยหลักการไม่แตกต่างจาก
มาตรฐานฉบับที่ 1 ฉบับเดิม ยกเว้นเปลี่ยนแปลง ดังนี้
5. กาหนดให้กิจการต้องนาเสนอเงินปันผลที่รับรู้จากการจ่ายให้แก่ผู้เป็ นเจ้าของและ
จานวนที่เกี่ยวข้องต่อหุ้นในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของหรือในหมาย
เหตุประกอบงบการเงิน เงินปันผล คือส่วนที่จ่ายให้แก่ผู้เป็ นเจ้าของจาก
ความสามารถในการเป็ นเจ้าของ และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ
จะต้องนาเสนอการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของทั้งหมด
ข้อกาหนดเดิม
1. กาหนดให้เปิดเผยแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนของประมาณการ
2. ยกเลิกการแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายเป็ นรายการพิเศษ
3. ยกเลิกการแสดงกาไรหรือขาดทุนจากกิจกรรมตามปกติ
4. ยกเลิกการแสดง จานวนพนักงาน
5. ยกเลิกหัวข้อนโยบายการบัญชี และข้อกาหนดเกี่ยวกับการเลือกใช้นโยบายการ
บัญชี
6. เพิ่มคานิยาม ความมีสาระสาคัญ
7. เพิ่มคานิยาม มาตรฐานการบัญชี
ความแตกต่างของมาตรฐานฉบับเดิมกับฉบับปรับปรุงใหม่
มาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม่ โดยหลักการไม่แตกต่างจาก
มาตรฐานฉบับที่ 1 ฉบับเดิม ยกเว้นเปลี่ยนแปลง ดังนี้
8. กาหนดให้เปิดเผยข้อมูลกาไรหรือขาดทุนสาหรับงวดที่แบ่งปันให้แก่บริษัทใหญ่
และส่วนที่แบ่งปันให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย
9. ต้องจัดประเภทหนี้สินทางการเงินที่จะครบกาหนดชาระใน 12 เดือนนับจากวันที่ใน
งบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน)เป็ นหนี้สินหมุนเวียน
10. ต้องเปิดเผยไว้ในหมายเหตุฯ เกี่ยวกับดุลพินิจของฝ่ ายบริหารในการกาหนด
นโยบายบัญชี
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2
เรื่อง
สินค้าคงเหลือ
ขอบเขต
1. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ถือปฏิบัติกับสินค้าคงเหลือทุกประเภทยกเว้น
1.1 งานระหว่างก่อสร้างภายใต้สัญญาก่อสร้างซึ่งรวมถึงสัญญาการ
ให้บริการที่เกี่ยวข้องโดยตรง (ดูมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 49
(ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาก่อสร้าง)
1.2 เครื่องมือทางการเงิน
1.3 สินทรัพย์ชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการเกษตรและผลิตผล
ทางการ เกษตร ณ จุดเก็บเกี่ยว (ดูมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 57 เรื่อง
เกษตรกรรม (เมื่อมีการประกาศใช้))
คานิยาม
3. คาศัพท์ที่ใช้ในมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มีความหมายโดยเฉพาะดังนี้
สินค้าคงเหลือ หมายถึง สินทรัพย์ซึ่ง มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้
1. ถือไว้เพื่อขายตามลักษณะการประกอบธุรกิจตามปกติ
ของกิจการ
2. อยู่ในระหว่างกระบวนการผลิตเพื่อให้เป็นสินค้า
สาเร็จรูปเพื่อขาย
3. อยู่ในรูปของวัตถุดิบ หรือวัสดุที่มีไว้เพื่อใช้ใน
กระบวนการผลิตสินค้าหรือให้บริการ
มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ หมายถึง ราคาโดยประมาณที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติของ
ธุรกิจ หักด้วยประมาณการต้นทุนในการผลิตสินค้านั้นให้
เสร็จและต้นทุนที่จาเป็นต้องจ่ายไปเพื่อให้ขายสินค้านั้นได้
คานิยาม
3. คาศัพท์ที่ใช้ในมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มีความหมายโดยเฉพาะดังนี้
มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จานวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์
หรือจ่ายชาระหนี้สินในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และ
เต็มใจในการแลกเปลี่ยน และสามารถต่อรองราคากันได้
อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน
กำรวัดมูลค่ำสินค้ำคงเหลือ
4. สินค้าคงเหลือต้องวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหรือ
มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ แล้วแต่มูลค่าใดจะต่ากว่า
ต้นทุนของสินค้ำคงเหลือ
5. ต้นทุนของสินค้าคงเหลือต้องประกอบด้วยต้นทุน
ทั้งหมดในการซื้อ ต้นทุนแปลงสภาพ และต้นทุนอื่นๆ
ที่เกิดขึ้นเพื่อให้สินค้าคงเหลือนั้นอยู่ในสถานที่และอยู่
ในสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
กำรคำนวณต้นทุน
6. ต้นทุนสินค้าคงเหลือของแต่ละรายการ ซึ่งตามปกติไม่อาจสับเปลี่ยนกันได้
หรือเป็นสินค้าหรือบริการที่ผลิตขึ้นและแยกต่างหากไว้สาหรับโครงการหนึ่ง
โครงการใดโดยเฉพาะจะคานวณโดยใช้วิธีราคาเจาะจง
7. ต้นทุนสินค้าคงเหลือนอกจากที่กล่าวในย่อหน้า 6 ต้องคานวณมูลค่าโดยวิธีเข้า
ก่อนออกก่อนหรือวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก กิจการต้องใช้วิธีการคานวณมูลค่า
ด้วยวิธีเดียวกันสาหรับสินค้าคงเหลือทุกชนิดที่มีลักษณะและการใช้คล้ายคลึง
กัน สาหรับสินค้าคงเหลือที่มีลักษณะและการใช้ต่างกันอาจใช้วิธีที่ต่างกันไป
ได้หากเหมาะสม
กำรรับรู้เป็นค่ำใช้จ่ำย
8. เมื่อมีการขายสินค้าคงเหลือออกไป มูลค่าตามบัญชีของสินค้านั้นต้องรับรู้เป็น
ค่าใช้จ่ายในงวดที่มีการรับรู้รายได้ที่เกี่ยวข้อง มูลค่าที่ลดลงของสินค้า
คงเหลือเนื่องจากการปรับมูลค่าให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ รวมทั้งผล
ขาดทุนทั้งหมดที่เกี่ยวกับสินค้าคงเหลือต้องบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่ปรับ
มูลค่าสินค้าให้ลดลงหรือมีผลขาดทุนเกิดขึ้น จานวนที่เกิดจากการกลับ
รายการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือที่เกิดจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าสุทธิที่จะ
ได้รับ ให้รับรู้โดยนาไปหักจากมูลค่าของสินค้าคงเหลือที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายใน
งวดบัญชีที่มีการกลับรายการดังกล่าว
กำรเปิดเผยข้อมูล
9. กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ในงบการเงิน
9.1 นโยบายการบัญชีที่ใช้ในการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือ และวิธีที่ใช้
คานวณราคาทุน
9.2 มูลค่าตามบัญชีรวมของสินค้าคงเหลือและมูลค่าตามบัญชีของ
สินค้าคงเหลือแต่ละประเภทจาแนกตามความเหมาะสมของแต่ละกิจการ
9.3 มูลค่าตามบัญชีรวมของสินค้าคงเหลือที่แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรม
หักต้นทุนในการขาย
กำรเปิดเผยข้อมูล
9.4 มูลค่าของสินค้าคงเหลือที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีนั้น
9.5 มูลค่าของสินค้าคงเหลือที่ปรับลดลงและรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี
นั้น ตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8
9.6 มูลค่าการบันทึกกลับรายการในส่วนที่มีการปรับลดมูลค่าสินค้า
คงเหลือ ซึ่งกิจการรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8
9.7 เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่ทาให้มีการกลับรายการการปรับลดมูลค่า
สินค้าตามย่อหน้าที่ 8
9.8 มูลค่าตามบัญชีของสินค้าคงเหลือที่ใช้เป็นหลักประกันหนี้สิน
29
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7
เรื่อง
งบกระแสเงินสด
ขอบเขตของการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี
สร้างความชัดเจน โดยการปรับปรุงถ้อยคาใหม่
และ
ยกเลิกการแสดงกระแสเงินสดที่เกี่ยวข้องกับรายการพิเศษ
x x
-
- (
CA & CL)
-
- (
NCA)
-
- (
NCL & E)
1. การรับรู้รายการและการวัดมูลค่า
Corporate Accounting, PTT
กระแสเงินสดที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
ย่อหน้า 26 ระบุว่า “กระแสเงินสดจากรายการที่เป็น
เงินตราต่างประเทศควรบันทึกเป็นสกุลเงินตราของ
กิจการที่เสนองบการเงินโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ
วันที่เกิดรายการของกระแสเงินสด”
ย่อหน้า 27 ระบุว่า “กระแสเงินสดของบริษัทย่อยใน
ต่างประเทศควรแปลงค่าเงินตราตามอัตรา
แลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการของกระแสเงินสด”
กิจการส่วนใหญ่ได้แสดงค่ากระแสเงินสดที่เป็นเงินตราต่างประเทศและกระแสเงินสดของบริษัทย่อยในต่างประเทศ
โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ระหว่างสกุลเงินหลักที่ใช้ในการดาเนินงานและสกุลเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่เกิดรายการ
นั้น (อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันตรวจรับงาน)
เพิ่มความชัดเจนโดยการเปลี่ยนถ้อยคาและขยายความ โดย
ย่อหน้า 25 ระบุว่า “กระแสเงินสดจากรายการที่เป็น
เงินตราต่างประเทศต้องบันทึกโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน
ระหว่างสกุลเงินหลักที่ใช้ในการดาเนินงานและสกุลเงินตรา
ต่างประเทศ ณ วันที่เกิดรายการของกระแสเงินสด”
ย่อหน้า 26 ระบุว่า “กระแสเงินสดของบริษัทย่อยใน
ต่างประเทศต้องแปลงค่าเงินตราตามอัตราแลกเปลี่ยน
ระหว่างสกุลเงินหลักที่ใช้ในการดาเนินงานและสกุลเงิน
ตราต่างประเทศ ณ วันที่เกิดรายการของกระแสเงินสด”
2. การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูล
- การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรม
ดาเนินงาน
ย่อหน้า 19 ระบุว่า “กิจการควรแสดง
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน โดย
1. วิธีทางตรง หรือ
2. วิธีทางอ้อม
กิจการส่วนใหญ่ได้แสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงานโดยวิธีทางอ้อม
เพิ่มความชัดเจนโดยการเปลี่ยนถ้อยคาเป็น “ต้อง”
- การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน
ย่อหน้า 18 ระบุว่า “กิจการต้องแสดง กระแส
เงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน โดย
1. วิธีทางตรง หรือ
2. วิธีทางอ้อม
Corporate Accounting, PTT
- การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน
และกิจกรรมจัดหาเงิน
ย่อหน้า 22 ระบุว่า “กิจการควรแสดง เงิน
สดรับและเงินสดจ่ายแยกตามลักษณะ
รายการที่สาคัญต่างๆที่เกิดจากกิจกรรม
ลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงิน”
กิจการส่วนใหญ่ได้แสดงเงินสดรับและเงินสดจ่ายแยกตามลักษณะรายการที่สาคัญต่างๆที่เกิด
จากกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงินแล้ว
เพิ่มความชัดเจนโดยการเปลี่ยนถ้อยคาเป็น “ต้อง”
- การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนและ
กิจกรรมจัดหาเงิน
ย่อหน้า 21 ระบุว่า “กิจการ ต้อง แสดงเงินสดรับ
และเงินสดจ่ายแยกตามลักษณะรายการที่สาคัญ
ต่างๆที่เกิดจากกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหา
เงิน”
- รายการพิเศษ
ย่อหน้า 30 ระบุว่า “กระแสเงินสดที่
เกี่ยวกับรายการพิเศษ ควรจัดเข้าเป็น
รายการที่เกิดจากกิจกรรมดาเนินงานหรือ
กิจกรรมลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงิน ตาม
ความเหมาะสมและเปิดเผยเป็นรายการ
แยกต่างหาก”
กิจการได้แสดงรายการพิเศษ โดยจัดเข้าเป็นรายการที่เกิดจากกิจกรรมดาเนินงานหรือกิจกรรม
ลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงินตามความเหมาะสม
ยกเลิกรายการพิเศษ
โดยยกเลิก
การแสดงกระแสเงินสดที่เกี่ยวข้องกับรายการพิเศษ
- ดอกเบี้ยและเงินปันผล
ย่อหน้า 32 ระบุว่า “ควรเปิดเผยแยก
ต่างหากสาหรับรายการกระแสเงินสดจาก
ดอกเบี้ยและเงินปันผลรับและจ่ายและควร
จัดประเภทแต่ละรายการเข้าเป็นกิจกรรม
ดาเนินงาน กิจกรรมลงทุนหรือกิจกรรม
จัดหาเงินในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีโดย
สม่าเสมอ”
กิจการส่วนใหญ่ได้จัดประเภทดอกเบี้ยรับ แยกเป็นรายการต่างหากไว้ในกิจกรรมดาเนินงานแล้ว
ย่อหน้า 31 ระบุว่า “กิจการ ต้อง เปิดเผยกระแสเงินสด
รับและกระแสเงินสดจ่ายสาหรับดอกเบี้ยและเงินปัน
ผล แยกเป็นรายการต่างหากและควรจัดประเภทแต่
ละรายการเข้าเป็นกิจกรรมดาเนินงาน กิจกรรมลงทุน
หรือกิจกรรมจัดหาเงินในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี
โดยสม่าเสมอ”
- ภาษีเงินได้
ย่อหน้า 36 ระบุว่า “ควรเปิดเผยกระแส
เงินสดจากภาษีเงินได้ไว้แยกต่างหาก และ
ควรจัดไว้เป็นกระแสเงินสดจากกิจกรรม
ดาเนินงาน ยกเว้นในกรณีที่ระบุโดย
เจาะจงได้ว่าเป็นของกิจกรรมจัดหาเงิน
และกิจกรรมลงทุน”
กิจการส่วนใหญ่ได้จัดประเภทภาษีเงินได้ เป็นรายการแยกต่างหากไว้ในกิจกรรมดาเนินงานแล้ว
ย่อหน้า 35 ระบุว่า “กิจการ ต้อง เปิดเผยกระแสเงิน
สดจากภาษีเงินได้เป็นรายการแยกต่างหาก และ
ต้องจัดประเภทไว้เป็นกระแสเงินสดจากกิจกรรม
ดาเนินงาน ยกเว้นในกรณีที่ระบุโดยเจาะจงได้ว่า
เป็นของกิจกรรมจัดหาเงินและกิจกรรมลงทุน”
- รายการที่ไม่ใช่เงินสด
ย่อหน้า 44 ระบุว่า “รายการลงทุนและ
จัดหาเงินที่มิได้มีการใช้เงินสดหรือรายการ
เทียบเท่าเงินสด ไม่ควรนามารวมในงบ
กระแสเงินสด รายการดังกล่าวควรเปิดเผย
ให้ทราบเพื่อเป็นการให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ทั้งหมด โดยแสดงต่อท้ายงบกระแสเงินสด
หรือแสดงไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ก็ได้”
•กิจการส่วนใหญ่ได้ดาเนินการแยกรายการที่ไม่ใช่เงินสดออกจากงบกระแสเงินสดแล้ว
•กิจการส่วนใหญ่ยังไม่ได้เปิดเผยรายการที่มิใช่เงินสดไว้ในส่วนอื่นของงบการเงินเพื่อที่จะให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ทั้งหมดที่เกี่ยวกับกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงิน
ย่อหน้า 43 ระบุว่า “รายการลงทุนและจัดหาเงินที่มิได้มี
การใช้เงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสด ต้องไม่
นามารวมในงบกระแสเงินสด รายการดังกล่าวต้อง
เปิดเผยให้ทราบไว้ในส่วนอื่นของงบการเงินเพื่อเป็น
การให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวกับกิจกรรม
ลงทุน และกิจกรรมจัดหาเงิน”
- องค์ประกอบของเงินสดและรายการเทียบเท่า
เงินสด
ย่อหน้า 45 ระบุว่า “กิจการควรแสดง
องค์ประกอบของเงินสดและรายการ
เทียบเท่าเงินสด และแสดงการกระทบยอด
ของจานวนเงินสดและรายการเทียบเท่า
เงินสดที่แสดงในงบกระแสเงินสด กับ
รายการที่เทียบเท่าตามที่แสดงในงบดุล”
กิจการได้แสดงองค์ประกอบของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และได้แสดงการกระทบยอดของเงินสด
และรายการเทียบเท่าเงินสด กับรายการในงบดุลแล้ว
ย่อหน้า 45 ระบุว่า “กิจการต้องแสดงองค์ประกอบของเงิน
สดและรายการเทียบเท่าเงินสด และแสดงการกระทบ
ยอดของจานวนเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดที่
แสดงในงบกระแสเงินสด กับรายการที่เทียบเท่าตามที่
แสดงในงบดุล”
- การเปิดเผยอื่นๆ
ย่อหน้า 48 ระบุว่า “กิจการควรเปิดเผย
จานวนเงิน ของเงินสดและรายการเทียบเท่า
เงินสดที่มีนัยสาคัญที่ถืออยู่ในมือของกิจการ
แต่ไม่อาจจะนาไปใช้โดยบริษัทในกลุ่ม และ
ให้มีคาชี้แจงของฝ่ายบริหารประกอบด้วย”
หากกิจการมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดที่มีนัยสาคัญที่ถืออยู่ในมือของกิจการ แต่ไม่อาจใช้ได้โดยบริษัท
ในกลุ่ม กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวด้วย
ย่อหน้า 48 ระบุว่า “กิจการต้องเปิดเผยจานวนเงิน
ของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดที่มี
นัยสาคัญที่กิจการถือไว้แต่ไม่อาจจะนาไปใช้โดย
บริษัทในกลุ่ม และให้มีคาชี้แจงของฝ่ายบริหาร
ประกอบด้วย”
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16
ถือปฏิบัติกับที่ดินอาคารอุปกรณ์โดยทั่วไป ยกเว ้น :
1. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่จัดประเภทเป็นถือไว ้เพื่อขาย (IFRS 5)
2. สินทรัพย์ทางชีวภาพที่เกี่ยวข ้องกับกิจกรรมทางการเกษตร (IAS41)
3. การรับรู้รายการและการวัดมูลค่าของการสารวจและประเมินสินทรัพย์
(IFRS6)
4. สัมปทานเหมืองแร่และสินแร่ เช่น น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และ
ทรัพยากรธรรมชาติอื่นซึ่งไม่สามารถสร้างขึ้นทดแทนได ้ หรือสินทรัพย์อื่น
ที่มีมาตรฐานโดยเฉพาะ
 อย่างไรก็ตามยังคงถือปฏิบัติกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ใช ้ในการพัฒนาหรือบารุงรักษา
สภาพของกิจกรรมหรือสินทรัพย์ตามข ้อ 2-4
ขอบเขต
สินทรัพย์ที่มีตัวตนซึ่งเข ้าเงื่อนไขทุกข ้อ ดังต่อไปนี้
• กิจการมีไว ้เพื่อใช ้ประโยชน์ในการผลิต เพื่อใช ้ในการ
จาหน่ายสินค ้าหรือบริการ เพื่อให ้เช่าหรือเพื่อใช ้ในการ
บริหารงาน
• กิจการคาดว่าจะใช ้ประโยชน์ > 1 รอบปีบัญชี
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
หมายถึง :
คานิยาม
การรับรู้รายการ (Recognition)
 ความเป็นไปได ้ ค่อนข ้างแน่ ที่รายการนั้นจะให ้ประโยชน์เชิง
เศรษฐกิจ ต่อกิจการในอนาคต
รายการที่เป็นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ต ้องรับรู้เป็นสินทรัพย์
เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไข ทั้ง 2ข ้อ
 กิจการสามารถ วัดมูลค่าต ้นทุน ของรายการนั้นได ้อย่าง
น่าเชื่อถือ
 +  ใช ้พิจารณาทั้งการวัดมูลค่าเริ่มแรก และภายหลังการได ้มาซึ่งสินทรัพย์
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์บางรายการ ไม่ได ้เพิ่มประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต
โดยตรง ต่อกิจการ แต่เป็นสินทรัพย์ที่จาเป็นเพื่อให ้กิจการสามารถได ้ประโยชน์เชิง
เศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพย์หลัก ดังนั้น กิจการต ้องรับรู้ รายการดังกล่าวเป็ น
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์รักษาความปลอดภัย ,อุปกรณ์รักษาสิ่งแวดล ้อม
เป็นต ้น
การรับรู้รายการ (ต่อ)
ต้นทุนเริ่มแรก
การรับรู้รายการ (ต่อ)
 ค่าซ่อมแซมและบารุงรักษาที่เกิดขึ้นเป็นประจา ค่าใช ้จ่าย
 ต ้นทุนในการเปลี่ยนแทน หากเข ้าเกณฑ์การรับรู้รายการทั้ง 2 ข ้อ 
ต ้นทุนPPE
- การเปลี่ยนแทนส่วนประกอบต่างๆ เช่น เก ้าอี้ในเครื่องบิน
- ต ้นทุนในการตรวจสอบครั้งใหญ่ของสินทรัพย์ (Major Inspection or
Overhaul Costs)
ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง
การวัดมูลค่าเริ่มแรก (Initial Measurement)
1. ราคาซื้อ+ ภาษีนาเข ้า + ภาษีซื้อที่ขอคืนไม่ได ้- ส่วนลดการค ้า
2. ต ้นทุนทางตรงอื่นๆ ในการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให ้อยู่ในสถานที่และสภาพที่
พร้อมจะใช ้งาน ตามวัตถุประสงค์ของฝ่ ายบริหาร เช่น ต ้นทุนผลประโยชน์ตอบ
แทนพนักงาน(IAS19), ต ้นทุนการเตรียมสถานที่ ,การขนส่งเริ่มแรก ,การติดตั้ง ,การTest
Run (หัก รายได ้จากการขายของที่ผลิตได ้ในช่วงTest Run) ,ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ
3. ประมาณการค่ารื้อ ขนย ้าย และการบูรณะสถานที่ ภายหลังการเลิกใช ้
สินทรัพย์ (ถือเป็นภาระผูกพันของกิจการที่เกิดขึ้นจากการติดตั้งสินทรัพย์)
รับรู้รายการโดยใช้ ราคาทุน
ส่วนประกอบของต้นทุน
 การรับรู้เป็นต ้นทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ จะสิ้นสุด เมื่อสินทรัพย์นั้น อยู่ใน
สถานที่และสภาพที่พร ้อมจะใช ้งานได ้
การวัดมูลค่าเริ่มแรก (ต่อ)
การวัดมูลค่าของต้นทุน
• ต ้นทุนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ วัดด ้วย ราคาที่เทียบเท่ากับการซื้อด ้วย
เงินสด (Cash Price Equivalent) ณ วันที่รับรู้รายการ
หากระยะเวลาในการชาระราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ นานกว่า Credit Term ปกติที่
ได ้รับ กิจการต ้องบันทึกผลต่างระหว่าง จานวนเงินที่ต ้องชาระจริง กับ ราคาที่เทียบเท่า
กับการซื้อด ้วยเงินสด เข ้าเป็น ดอกเบี้ยจ่าย เว ้นแต่จะเข ้าเงื่อนไขการรับรู้เรื่องต ้นทุน
การกู้ยืม (TAS33)
 การแลกเปลี่ยนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ต ้องวัดด ้วยมูลค่ายุติธรรม (Fair
Value) เว ้นแต่
1.รายการแลกเปลี่ยนนั้นขาดเนื้อหาเชิงพาณิชย์ (Commercial Substance) หรือ
2.ไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได ้อย่างน่าเชื่อถือ จึงจะใช ้ราคาตามบัญชี (Carrying
Amount)
Commercial Substance ให ้พิจารณาขอบเขตของ Cash Flow ในอนาคตทื่คาดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นผลจากการแลกเปลี่ยน ต ้องเข ้า
เงื่อนไข
1.ลักษณะ (ความเสียง,จังหวะ,จานวน)ของ CF ของPPEที่ได ้รับแตกต่างจากของที่นาไปแลกเปลี่ยน หรือ
2. รายการแลกเปลี่ยน ทาให ้เกิดการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าเฉพาะต่อกิจการในส่วนของการดาเนินงานที่ถูกกระทบจากการแลกเปลี่ยน
* ความแตกต่างต ้องมีนัยสาคัญเมื่อเทียบกับ FV ของPPE ที่แลกเปลี่ยน
การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้มูลค่าเริ่มแรก
1. วิธีราคาทุน (Cost Model)
2. วิธีราคาที่ตีใหม่ (Revaluation Model)
* FV = ราคาตลาดของสินทรัพย์
หากกิจการไม่สามารถหาราคาตลาดของสินทรัพย์ได ้ เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะ
ให ้ใช ้วิธีต ้นทุนเปลี่ยนแทน - ค่าเสื่อมราคาสะสม
กิจการสามารถเลือกปฏิบัติได ้ 2 วิธี คือ
ราคาตามบัญชี = ราคาทุน – หักเสื่อมราคาสะสม - ค่าเผื่อการด ้อย
ค่า
ราคาตามบัญชี = FV ณ วันที่ตีราคาใหม่ * – ค่าเสื่อมราคาสะสม
(ที่คานวณจากFV) - ค่าเผื่อการด ้อยค่า
วิธีราคาที่ตีใหม่ (Revaluation Model)
• อนุญาตให ้กิจการแสดงรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ทุกรายการที่จัดอยู่ใน
ประเภทเดียวกันด ้วยราคาที่ตีใหม่ ก็ต่อเมื่อ สามารถวัดFV ได ้อย่างน่าเชื่อถือ
• ตีราคาอย่างสม่าเสมอ โดยความถี่ของการตีราคาใหม่ขึ้นอยู่กับความ
เคลื่อนไหวของมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่ (ถ ้าเปลี่ยนแปลงอย่างมี
นัยสาคัญบ่อยครั้ง ต ้องตีราคาสินทรัพย์ใหม่ทุกปี)
การตีราคาใหม่
ค่าเสื่อมราคาสะสม ของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ณ วันที่ตี
ราคาใหม่ ปฏิบัติตามข ้อใดข ้อหนึ่ง ดังนี้
• ปรับค่าเสื่อมราคาสะสมตามสัดส่วนการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าตามบัญชี (ก่อน
หักค่าเสื่อมราคาสะสม) มักใช ้เมื่อสินทรัพย์ถูกตีราคาโดยนาดัชนีมาปรับกับต ้นทุน
เปลี่ยนแทนที่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสะสมแล ้ว
• นาค่าเสื่อมราคาสะสมหักจากราคาตามบัญชี (ก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม)
และปรับเป็นราคาที่ตีใหม่ มักใช ้กับการตีราคาอาคาร
วิธีราคาที่ตีใหม่ (Revaluation Model)
ตีราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้น ตีราคาสินทรัพย์ลดลง
ส่วนเกินทุน
จากการตีราคาสินทรัพย์
อยู่ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นใน
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ค่าใช ้จ่าย
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ยกเว ้น : เคยตีราคา
ลดลงและบันทึกเป็น
ค่าใช ้จ่ายในงวดก่อน
ให ้รับรู้เป็นรายได ้ไม่
เกินจานวนที่ลดลง
ยกเว ้น : เคยตีราคา
เพิ่มขึ้น และมียอดคงค ้าง
ในส่วนเกินทุน ให ้หัก
ออกจากส่วนเกินทุนฯ ไม่
เกินจานวนที่เคยตีราคา
เพิ่มขึ้น
* หากมีการจาหน่ายหรือเลิกใช ้สินทรัพย์ ต ้องโอน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ไปยัง กาไร
สะสม โดยตรง
ค่าเสื่อมราคา
• ส่วนประกอบที่มีนัยสาคัญต ้องคิดค่าเสื่อมราคาแต่ละส่วนแยกต่างหากจากกัน
เกณฑ์พิจารณาความมีนัยสาคัญ --> ต ้นทุนส่วนประกอบแต่ละส่วน
ต ้นทุนทั้งหมดของสินทรัพย์นั้น
ขึ้นกับดุลยพินิจในการกาหนดนโยบายบัญชี
• รวมกลุ่มคิดค่าเสื่อมราคาได ้ หากส่วนประกอบที่มีนัยสาคัญ
1. มีอายุการใช ้งานเท่ากัน และ
2. ใช ้วิธีการคิดค่าเสื่อมราคาเหมือนกัน
• ส่วนประกอบที่เหลือคิดค่าเสื่อมราคาโดยใช ้วิธีประมาณการที่สะท ้อนถึงรูปแบบการ
ใช ้ประโยชน์
• การรับรู้รายการ
• เป็นค่าใช ้จ่ายแต่ละงวดในงบกาไรขาดทุน
• ยกเว ้นรวมเป็นมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์อื่น
มูลค่าเสื่อมสภาพ และระยะเวลาในการคิดค่าเสื่อมราคา
• ปันส่วนมูลค่าเสื่อมสภาพอย่างมีระบบตลอดอายุการใช ้งาน
• ทบทวนมูลค่าคงเหลือ (Residual value) และอายุการใช ้งาน (Useful life)
อย่างน้อยทุกสิ้นรอบปีบัญชี
 ทางปฏิบัติ : มูลค่าคงเหลือจานวนไม่มีนัยสาคัญ จึงไม่นามาคิดค่าเสื่อมราคา
 กรณีแตกต่างไปจากที่ประมาณไว ้ถือว่าเป็น การเปลี่ยนแปลงประมาณการทาง
บัญชีให ้ปฏิบัติตาม TAS 8 *
 กรณีมูลค่าคงเหลือเพิ่มขึ้น
มูลค่าคงเหลือ > ราคาตามบัญชี  หยุดรับรู้ค่าเสื่อมราคา
* TAS 8 เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข ้อผิดพลาด
ค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคา
 การรับรู้ค่าเสื่อมราคา
มูลค่ายุติธรรม > ราคาตามบัญชี  รับรู้ค่าเสื่อมราคา
มูลค่าคงเหลือ > ราคาตามบัญชี  หยุดรับรู้ค่าเสื่อมราคา
• เริ่มคิดค่าเสื่อมราคา เมื่อสินทรัพย์พร้อมใช ้งานตามวัตถุประสงค์ของ
ผู้บริหาร
• สิ้นสุดการคิดค่าเสื่อมราคา เมื่อ
1. ตัดรายการสินทรัพย์นั้น หรือ
2. จัดประเภทเป็นสินทรัพย์ที่ถือไว ้เพื่อขาย (TFRS 5*)
• คิดค่าเสื่อมราคา ต ้นทุนในการรื้อถอน การขนย ้าย และการบูรณะสถานที่
หากรวมเป็นส่วนหนึ่งของต ้นทุนสินทรัพย์
*TFRS 5 Assets Held for Sale and Discontinued Operation
ค่าเสื่อมราคา
• อายุการใช ้งาน (Useful life)
• ประมาณจากประสบการณ์การใช ้สินทรัพย์ที่คล ้ายคลึงกัน
• ปัจจัยในการกาหนด
1. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได ้รับ
2. การชารุดเสียหายที่คาดว่าจะเกิดจากการใช ้งาน
3. ความล ้าสมัยทางด ้านเทคนิค หรือทางพาณิชย์
4. ข ้อจากัดหรือข ้อกาหนดตามกฎหมาย
• อาจไม่เท่ากับอายุเชิงเศรษฐกิจ หากมีการขายสินทรัพย์ก่อนหมดอายุ
การใช ้งาน
ค่าเสื่อมราคา
 การเลือกวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาที่สะท ้อน รูปแบบของประโยชน์
เชิงเศรษฐกิจที่คาดว่าจะได ้รับจากการใช ้สินทรัพย์
 ทบทวนวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปีบัญชี
 กรณีรูปแบบของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่คาดว่าจะได ้รับ
เปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสาคัญ ต ้องเปลี่ยนวิธีการคิดค่า
เสื่อม ราคา
 การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีให ้ปฏิบัติตาม TAS 8
• วิธีการคิดค่าเสื่อมราคาที่เป็นระบบมีหลายวิธี เช่น
• วิธีเส ้นตรง (ราคาทุน – RV*) x 1 .
(Straight Line Method) จานวนอายุการใช ้งาน
• วิธีผลรวมจานวนปี ราคาทุน x ปีที่คิดค่าเสื่อมราคา .
(Sum of the year digit) ผลรวมจานวนปี
• วิธียอดลดลงทวีคูณ
(Double-Declining Balance) ราคาทุน x 2 .
จานวนอายุการ
ใช ้งาน
• วิธีจานวนผลผลิต (ราคาทุน – RV) x จานวนหน่วยที่ผลิตในปี
นั้นๆ
(Unit of Production: UOP) จานวนหน่วยที่ผลิตสินค ้า
ได ้
ค่าเสื่อมราคา
*Residual Value : มูลค่าคงเหลือ
การตัดรายการ
• ตัดมูลค่าตามบัญชีออกจากรายการในงบดุล เมื่อ
1. จาหน่าย หรือเลิกใช ้อย่างถาวร
2. คาดว่าจะไม่ได ้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต
 รับรู้กาไรหรือขาดทุนในงบกาไรขาดทุน
 กาไรหรือขาดทุน = ผลตอบแทนสุทธิที่ได ้รับ – มูลค่าตามบัญชี
กรณีกาไรไม่จัดประเภทเป็นรายได ้หลัก
 ยกเว ้น กรณีขายแล ้วเช่ากลับคืน ให ้ปฏิบัติตาม TAS 17*
*TAS 17 เรื่อง สัญญาเช่า
การเปิดเผยข ้อมูล
เปิดเผยรายการต่อไปนี้ทุกข ้อในงบการเงินตามประเภทของที่ดิน อาคาร
และอุปกรณ์
• เกณฑ์การวัดมูลค่าที่ใช ้กาหนดมูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม
• วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา
• อายุการใช ้งานหรืออัตราค่าเสื่อมราคา
• มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม
• ค่าเสื่อมราคาสะสม
• ค่าเผื่อการด ้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันต ้นงวด และสิ้นงวด
• จานวนรายจ่ายทั้งสิ้นที่เกิดขึ้นในการสร้างที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
• จานวนภาระผูกพันที่ตกลงกันไว ้เพื่อให ้ได ้มาซึ่งสินทรัพย์
• จานวนค่าชดเชยที่ได ้รับจากบุคคลภายนอก
การเปิดเผยข ้อมูล
• มูลค่าของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้น
• สินทรัพย์ที่ถือไว ้เพื่อขาย
• มูลค่าของสินทรัพย์ที่ได ้มาจากการรวมกิจการ
• การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของสินทรัพย์ซึ่ง
เป็นผลมาจากการตีราคาใหม่
• ผลขาดทุนจากการด ้อยค่าของสินทรัพย์
• ผลขาดทุนจากการด ้อยค่าที่กลับรายการ
• ค่าเสื่อมราคา
• ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิจากการแปลง ค่างบการเงิน
• การเปลี่ยนแปลงอื่น
 รายการกระทบยอดของราคาตามบัญชีระหว่างวันต ้นงวดถึงวัน
สิ้นงวด
 จานวนและข ้อจากัดในกรรมสิทธ์ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ใช ้เป็น
หลักประกัน
 ลักษณะ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีที่มี
ผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ เช่น ราคาซาก อายุการใช ้งาน วิธีการคิด
ค่าเสื่อมราคา และอื่นๆ
หากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด ้วยราคาที่ตีใหม่ให ้เปิดเผย
• วันที่มีการตีราคาสินทรัพย์ใหม่
• การตีราคาใหม่ทาโดยผู้ประเมินราคาอิสระหรือไม่
• วิธีการและข ้อสมมติที่มีนัยสาคัญที่ถูกนามาใช ้ประมาณ
มูลค่ายุติธรรม
• มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์
• มูลค่าตามบัญชีที่จะรับรู้หากใช ้วิธีราคาทุน
• ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์
การเปิดเผยข ้อมูล
หลักการสาคัญ
1. ต้นทุนการกู้ยืมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มา การก่อสร้าง
หรือการผลิตต้องนามารวมเป็น
ส่วนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข ต้นทุนการ
กู้ยืมอื่นๆ ต้องถือเป็นค่าใช้จ่าย
มาตรฐานการบัญชี ฉบับ 23 ต้นทุนการกู้ยืม
ขอบเขต
2. กิจการต้องถือปฎิบัติมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กับการบัญชีสาหรับ
ต้นทุนการกู้ยืม
3. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่ครอบคลุมถึงต้นทุนของตราสารประเภททุน
รวมทั้งหุ้นบุริมสิทธิที่มิได้
จัดประเภทเป็นหนี้สิน
4. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่ใช้บังคับสาหรับต้นทุนการกู้ยืมที่เกี่ยวข้อง
โดยตรงกับการได้มา
การก่อสร้าง หรือการผลิตของ
4.1 สินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขที่วัดด้วยมูลค่ายุติธรรม เช่น สินทรัพย์ชีวภาพ หรือ
4.2 สินค้าคงเหลือที่ผลิตเป็นจานวนมาก โดยมีขั้นตอนการผลิตซ้าๆ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 กาไรต่อหุ้น
ຄວາມຮູ້ທົ່ວໄປກ່ຽວກັບ Ias, gaap ແລະ  ifrs
ຄວາມຮູ້ທົ່ວໄປກ່ຽວກັບ Ias, gaap ແລະ  ifrs

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 

ຄວາມຮູ້ທົ່ວໄປກ່ຽວກັບ Ias, gaap ແລະ ifrs

  • 2. มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบันและIFRS • มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบัน • TAS ที่มีผลบังคับใช้มี 30 ฉบับ การตีความ 3 ฉบับ และแม่บทการ บัญชี 1 ฉบับ • ส่วนใหญ่อ้างอิงจาก IFRS (ปรับปรุง 2005/2006) • แม่บทการบัญชี(2006) • TAS 1(2006) การนาเสนองบการเงิน • TAS 2(2006) สินค้าคงเหลือ • TAS 7(2006) งบกระแสเงินสด
  • 3. มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบัน • TAS 8(2006) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและข้อผิดพลาด • TAS 10(2005)เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล • TAS 11(2006) สัญญาก่อสร้าง • TAS 14(2005) การเสนอข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่วนงาน • TAS 16 (2005) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ • TAS 17(2006) สัญญาเช่า • TAS 18(2005) รายได้ • TAS 21(2005) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
  • 4. มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบัน • TAS 23(2006) ต้นทุนการกู้ยืม • TAS 24 (2005)การเปิดเผลข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน • TAS 27(2006) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ • TAS 28(2006) เงินลงทุนในบริษัทร่วม • TAS 31(2006) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า • TAS 32(2005) การแสดงรายการสาหรับเครื่องมือทางการเงิน • TAS 33(2005) กาไรต่อหุ้น • TAS 34(2006) งบการเงินระหว่างกาล
  • 5. มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบัน • TAS 36(2006) การด้อยค่าของสินทรัพย์ • TAS 37(2005) ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ ที่อาจเกิดขึ้น • TAS 38(2006)สินทรัพย์ไม่มีตัวตน • TFRS 3(2006) การรวมธุรกิจ • TFRS 5(2006) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการ ดาเนินงานที่ยกเลิก • TAS 103 การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินของธนาคารและสถาบัน การเงินที่คล้ายคลึงกัน(IFRS ที่ยกเลิกแล้ว)
  • 6. มาตรฐานการบัญชีไทยในปัจจุบัน • TAS 102 การรับรู้รายได้สาหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ • TAS 104 การบัญชีสาหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา • TAS 105 การบัญชีสาหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสาร ทุน • TAS 106 การบัญชีสาหรับกิจการที่ดาเนินธุรกิจเฉพาะด้านการ ลงทุน • TAS 101 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ(Local GAAP) Us GAAP
  • 7. ยกเว้น TAS สาหรับกิจการที่ไม่ใช่บริษัทมหาชน จานวน 8 ฉบับ – TAS 24 (14)การเสนอข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่วนงาน – TAS 25 (7)งบกระแสเงินสด – TAS 36 การด้อยค่าของทรัพย์สิน – TAS 44 (27)งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ – TAS 45 (28)เงินลงทุนในบริษัทร่วม – TAS 46(31) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า – TAS 47 (24)การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง – TAS 48 การแสดงรายการสาหรับตราสารการเงิน
  • 8. IFRS • IFRS เป็นมาตรฐานใหม่ที่ เป็นที่ ยอมรับทั่วโลกมากกว่า 120 ประเทศ ซี่งออกมาเพื่อทดแทน Generally Accepted Accounting Principles หรือ GAAP ซึ่งเป็นหลักการบัญชีที่ ยอมรับทั่วโลกมาเป็นเวลายาวนาน และใช้เป็นหลักการที่ สร้าง มาตรฐานทางการบัญชี เพื่อเป็นหลักประกันว่าการปฏิบัติทางการบัญชี จะเป็นหลักการที่ สร้างความเที่ยงตรงของการทาบัญชีของบริษัทต่างๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันตลอดทั้งอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นหลักการที่นัก บัญชี ของไทยทั้งหมดก็ใช้เป็นมาตรฐานการปฏิบัติมายาวนานเช่นกัน 8
  • 9. • IFRS นี้จะส่งผลกระทบต่อมาตรฐานขั้นต่าที่ บริษัทจะต้องใช้ในการ รับรู้ การชี้วัด financial statements ของบริษัท การนา IFRS มาทดแทน GAAP นั้นเท่ากับว่าบริษัททุกๆบริษัท จะต้องปรับแก้ การ รายงานงบการเงินของบริษัทต่อผู้ใช้งบการเงินใหม่ จึงจาเป็นที่ต้องทา ให้เป็นที่ ยอมรับของสาธารณะ ได้แก่ตลาดหลักทรัพย์ ประชาชนทั่วไป รวมไปถึงภาครัฐด้วยเช่นกัน 9
  • 10. กำเนิด IFRS จากการที่สหรัฐอเมริกาใช้ระบบมาตรฐานการบัญชีที่พัฒนาขึ้นมา ที่เรียกว่า GAAP (Generally Accepted Accounting Principles) ในขณะที่ทางยุโรปใช้ มาตรฐานการบัญชีที่เรียกว่า IAS (International Accounting Standard) สาหรับประเทศไทยเริ่มต้นการจัดทาบัญชีจากระบบมาตรฐานการบัญชีที่สอดคล้องกับ GAAP และได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดเพื่อให้สอดคล้องกับ IAS • เพื่อให้มาตรฐานทุกอย่างรวมกันเป็นมาตรฐานเดียวทั่วโลก ดังนั้น IASB (International Accounting Standard Board) หรือคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีสากล จึงได้มี ความพยายามที่จะกาหนดมาตรฐานการบัญชีให้เป็นรูปแบบเดียวกันเพื่อใช้เป็นหลักสากลทั่ว โลก (International Financial Reporting Standards: IFRS) โดยพัฒนา และออกกฎระเบียบการลงบันทึกบัญชีใหม่เพื่อให้โลกมีภาษาบัญชีเดียวกันทั่วโลก สาหรับ ประเทศที่ได้ประกาศตัวพร้อมที่จะรับ IFRS มาใช้ในการลงบัญชี ได้แก่ สหภาพยุโรป ซึ่ง กาหนดว่าทุกบริษัทต้องทางบการเงินให้เป็นไปตาม IFRS ส่วนประเทศออสเตรเลียและ นิวซีแลนด์นั้น ได้กาหนดให้บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และบริษัทที่จาหน่าย หลักทรัพย์ในตลาดเงินตลาดทุน ต้องทาบัญชีงบการเงิน ให้เป็นไปตามมาตรฐาน IFRS ทุก ฉบับ 10
  • 11. ทั่วโลกให้ ควำมสำคัญต่อ IFRS อย่ำงไร ทั่วโลกให้ ความสาคัญต่อมาตรฐานใหม่นี้โดยจะเห็นได้ ว่า US Securities and Exchange Commission (SEC) ได้ ประกาศเมื่อ วันที่ 25 สิงหาคม 2008 นี้ว่าจะนา IFRS มาใช้แทน GAAP และจะดาเนินไปสู่การใช้IFRS เต็มรูปแบบภายในปี 2016 ส่วน Canada คาดว่าจะเป็น completely IFRS- compliant ภายในปี 2011 นี้รวมทั้ง ประเทศต่างๆ ทั้งยุโรปและ เอเชียมากกว่า 120 ประเทศ ก็ขานรับที่ จะนา IFRS มาใช้ แทน GAAP 11
  • 12. ประเทศไทย • จากการที่สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์จัดทามาตรฐานการบัญชี ของไทยให้เป็นมาตรฐานสากล คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการบัญชี กาลังเร่งจัดทามาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการ บัญชีระหว่างประเทศ (International Financial Reporting Standard; IFRS) ฉบับเข้าเล่มปี 2009 (Bound Volume 2009) คือ ฉบับที่คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศแก้ไข สิ้นสุดในปี 2008 โดยมาตรฐานการบัญชี (Thai Accounting Standards; TAS) และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Thai Financial Reporting Standards; TFRS) เหล่านี้ต้องถือ ปฏิบัติกับรอบบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 และบางฉบับที่ เนื้อหาและวิธีปฏิบัติยากจะเลื่อนไปปี 2556 12
  • 13. ฉบับที่ มาตรฐานการบัญชี บริษัทมหาชน บริษัทที่ไม่ใช่มหาชน แม่บทการบัญชี X X 1 การนาเสนองบการเงิน X X 2 สินค้าคงเหลือ X X 7 งบกระแสเงินสด X 8 นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด X X 10 เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน X X 11 สัญญาก่อสร้าง X X 16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ X X 17 สัญญาเช่า X X 18 รายได้ X X 19 ผลประโยชน์ของพนักงาน X 23 ต้นทุนการกู้ยืม X X 24 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน X 26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์หลังเกษียณอายุ X 27 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ X 28 เงินลงทุนในบริษัทร่วม X • 13
  • 14. ฉบับที่ มำตรฐำนกำรบัญชี บริษัทมหำชน บริษัทที่ไม่ใช่มหำชน 29 การรายงานในภาวะเศรษฐกิจเงินเฟ้ อรุนแรง X X 31 ส่วนได้เสียในการร่วมค้า X 33 กาไรต่อหุ้น X X 34 งบการเงินระหว่างกาล X X 36 การด้อยค่าของสินทรัพย์ X 37 ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น X X 38 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน X X 40 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน X X ฉบับที่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน บริษัทมหาชน บริษัทที่ไม่ใช่มหาชน 2 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ X 3 การรวมธุรกิจ X X 5 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนถือไว้เพื่อขายและการดาเนินงานที่ยกเลิก X X 6 การสารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ X X 14
  • 16. ความแตกต่างของมาตรฐานฉบับเดิมกับฉบับปรับปรุงใหม่ มาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม่ โดยหลักการไม่แตกต่างจาก มาตรฐานฉบับที่ 1 ฉบับเดิม ยกเว้นเปลี่ยนแปลง ดังนี้ 1. งบดุล เปลี่ยนเป็ น “งบแสดงฐานะการเงิน” 2. กาหนดให้กิจการต้องนาเสนอการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ โดยให้แสดง การเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของที่ไม่ได้เกิดจากรายการกับผู้เป็ นเจ้าของ เช่น กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เป็ นรายการในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเพียงงบเดียว หรือ นาเสนอเป็ นสองงบ (งบเฉพาะกาไรขาดทุน และ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ) โดยไม่ อนุญาตให้แสดงส่วนประกอบของกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในงบแสดงการ เปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ 3. กาหนดให้กิจการต้องนาเสนองบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดที่ เปรียบเทียบล่าสุดในงบการเงินที่สมบูรณ์ เมื่อกิจการได้นานโยบายการบัญชีมา ปรับปรุงย้อนหลังหรือแก้ไขงบการเงินย้อนหลังตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง นโยบายบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและ ข้อผิดพลาด หรือเมื่อกิจการมีการจัดประเภทรายการในงบการเงินใหม่ 4. กิจการต้องเปิดเผยการปรับปรุงการจัดประเภทรายการใหม่และภาษีเงินได้ที่ เกี่ยวกับส่วนประกอบแต่ละส่วนของกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น โดยการปรับปรุงการ จัดประเภทรายการใหม่ คือ จานวนที่เคยรับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ถูกจัด ประเภทไปเป็ นกาไรหรือขาดทุนในงวดปัจจุบันนั้น
  • 17. ความแตกต่างของมาตรฐานฉบับเดิมกับฉบับปรับปรุงใหม่ มาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม่ โดยหลักการไม่แตกต่างจาก มาตรฐานฉบับที่ 1 ฉบับเดิม ยกเว้นเปลี่ยนแปลง ดังนี้ 5. กาหนดให้กิจการต้องนาเสนอเงินปันผลที่รับรู้จากการจ่ายให้แก่ผู้เป็ นเจ้าของและ จานวนที่เกี่ยวข้องต่อหุ้นในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของหรือในหมาย เหตุประกอบงบการเงิน เงินปันผล คือส่วนที่จ่ายให้แก่ผู้เป็ นเจ้าของจาก ความสามารถในการเป็ นเจ้าของ และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ จะต้องนาเสนอการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของทั้งหมด ข้อกาหนดเดิม 1. กาหนดให้เปิดเผยแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนของประมาณการ 2. ยกเลิกการแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายเป็ นรายการพิเศษ 3. ยกเลิกการแสดงกาไรหรือขาดทุนจากกิจกรรมตามปกติ 4. ยกเลิกการแสดง จานวนพนักงาน 5. ยกเลิกหัวข้อนโยบายการบัญชี และข้อกาหนดเกี่ยวกับการเลือกใช้นโยบายการ บัญชี 6. เพิ่มคานิยาม ความมีสาระสาคัญ 7. เพิ่มคานิยาม มาตรฐานการบัญชี
  • 18. ความแตกต่างของมาตรฐานฉบับเดิมกับฉบับปรับปรุงใหม่ มาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม่ โดยหลักการไม่แตกต่างจาก มาตรฐานฉบับที่ 1 ฉบับเดิม ยกเว้นเปลี่ยนแปลง ดังนี้ 8. กาหนดให้เปิดเผยข้อมูลกาไรหรือขาดทุนสาหรับงวดที่แบ่งปันให้แก่บริษัทใหญ่ และส่วนที่แบ่งปันให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 9. ต้องจัดประเภทหนี้สินทางการเงินที่จะครบกาหนดชาระใน 12 เดือนนับจากวันที่ใน งบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน)เป็ นหนี้สินหมุนเวียน 10. ต้องเปิดเผยไว้ในหมายเหตุฯ เกี่ยวกับดุลพินิจของฝ่ ายบริหารในการกาหนด นโยบายบัญชี
  • 20. ขอบเขต 1. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ถือปฏิบัติกับสินค้าคงเหลือทุกประเภทยกเว้น 1.1 งานระหว่างก่อสร้างภายใต้สัญญาก่อสร้างซึ่งรวมถึงสัญญาการ ให้บริการที่เกี่ยวข้องโดยตรง (ดูมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาก่อสร้าง) 1.2 เครื่องมือทางการเงิน 1.3 สินทรัพย์ชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการเกษตรและผลิตผล ทางการ เกษตร ณ จุดเก็บเกี่ยว (ดูมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 57 เรื่อง เกษตรกรรม (เมื่อมีการประกาศใช้))
  • 21. คานิยาม 3. คาศัพท์ที่ใช้ในมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มีความหมายโดยเฉพาะดังนี้ สินค้าคงเหลือ หมายถึง สินทรัพย์ซึ่ง มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ 1. ถือไว้เพื่อขายตามลักษณะการประกอบธุรกิจตามปกติ ของกิจการ 2. อยู่ในระหว่างกระบวนการผลิตเพื่อให้เป็นสินค้า สาเร็จรูปเพื่อขาย 3. อยู่ในรูปของวัตถุดิบ หรือวัสดุที่มีไว้เพื่อใช้ใน กระบวนการผลิตสินค้าหรือให้บริการ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ หมายถึง ราคาโดยประมาณที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติของ ธุรกิจ หักด้วยประมาณการต้นทุนในการผลิตสินค้านั้นให้ เสร็จและต้นทุนที่จาเป็นต้องจ่ายไปเพื่อให้ขายสินค้านั้นได้
  • 22. คานิยาม 3. คาศัพท์ที่ใช้ในมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มีความหมายโดยเฉพาะดังนี้ มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จานวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ หรือจ่ายชาระหนี้สินในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และ เต็มใจในการแลกเปลี่ยน และสามารถต่อรองราคากันได้ อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน
  • 24. ต้นทุนของสินค้ำคงเหลือ 5. ต้นทุนของสินค้าคงเหลือต้องประกอบด้วยต้นทุน ทั้งหมดในการซื้อ ต้นทุนแปลงสภาพ และต้นทุนอื่นๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อให้สินค้าคงเหลือนั้นอยู่ในสถานที่และอยู่ ในสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
  • 25. กำรคำนวณต้นทุน 6. ต้นทุนสินค้าคงเหลือของแต่ละรายการ ซึ่งตามปกติไม่อาจสับเปลี่ยนกันได้ หรือเป็นสินค้าหรือบริการที่ผลิตขึ้นและแยกต่างหากไว้สาหรับโครงการหนึ่ง โครงการใดโดยเฉพาะจะคานวณโดยใช้วิธีราคาเจาะจง 7. ต้นทุนสินค้าคงเหลือนอกจากที่กล่าวในย่อหน้า 6 ต้องคานวณมูลค่าโดยวิธีเข้า ก่อนออกก่อนหรือวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก กิจการต้องใช้วิธีการคานวณมูลค่า ด้วยวิธีเดียวกันสาหรับสินค้าคงเหลือทุกชนิดที่มีลักษณะและการใช้คล้ายคลึง กัน สาหรับสินค้าคงเหลือที่มีลักษณะและการใช้ต่างกันอาจใช้วิธีที่ต่างกันไป ได้หากเหมาะสม
  • 26. กำรรับรู้เป็นค่ำใช้จ่ำย 8. เมื่อมีการขายสินค้าคงเหลือออกไป มูลค่าตามบัญชีของสินค้านั้นต้องรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายในงวดที่มีการรับรู้รายได้ที่เกี่ยวข้อง มูลค่าที่ลดลงของสินค้า คงเหลือเนื่องจากการปรับมูลค่าให้เท่ากับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ รวมทั้งผล ขาดทุนทั้งหมดที่เกี่ยวกับสินค้าคงเหลือต้องบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่ปรับ มูลค่าสินค้าให้ลดลงหรือมีผลขาดทุนเกิดขึ้น จานวนที่เกิดจากการกลับ รายการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือที่เกิดจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าสุทธิที่จะ ได้รับ ให้รับรู้โดยนาไปหักจากมูลค่าของสินค้าคงเหลือที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายใน งวดบัญชีที่มีการกลับรายการดังกล่าว
  • 27. กำรเปิดเผยข้อมูล 9. กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้ในงบการเงิน 9.1 นโยบายการบัญชีที่ใช้ในการวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือ และวิธีที่ใช้ คานวณราคาทุน 9.2 มูลค่าตามบัญชีรวมของสินค้าคงเหลือและมูลค่าตามบัญชีของ สินค้าคงเหลือแต่ละประเภทจาแนกตามความเหมาะสมของแต่ละกิจการ 9.3 มูลค่าตามบัญชีรวมของสินค้าคงเหลือที่แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรม หักต้นทุนในการขาย
  • 28. กำรเปิดเผยข้อมูล 9.4 มูลค่าของสินค้าคงเหลือที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีนั้น 9.5 มูลค่าของสินค้าคงเหลือที่ปรับลดลงและรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี นั้น ตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8 9.6 มูลค่าการบันทึกกลับรายการในส่วนที่มีการปรับลดมูลค่าสินค้า คงเหลือ ซึ่งกิจการรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีตามข้อกาหนดในย่อหน้าที่ 8 9.7 เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่ทาให้มีการกลับรายการการปรับลดมูลค่า สินค้าตามย่อหน้าที่ 8 9.8 มูลค่าตามบัญชีของสินค้าคงเหลือที่ใช้เป็นหลักประกันหนี้สิน
  • 31. x x - - ( CA & CL) - - ( NCA) - - ( NCL & E)
  • 32. 1. การรับรู้รายการและการวัดมูลค่า Corporate Accounting, PTT กระแสเงินสดที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ย่อหน้า 26 ระบุว่า “กระแสเงินสดจากรายการที่เป็น เงินตราต่างประเทศควรบันทึกเป็นสกุลเงินตราของ กิจการที่เสนองบการเงินโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการของกระแสเงินสด” ย่อหน้า 27 ระบุว่า “กระแสเงินสดของบริษัทย่อยใน ต่างประเทศควรแปลงค่าเงินตราตามอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการของกระแสเงินสด” กิจการส่วนใหญ่ได้แสดงค่ากระแสเงินสดที่เป็นเงินตราต่างประเทศและกระแสเงินสดของบริษัทย่อยในต่างประเทศ โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ระหว่างสกุลเงินหลักที่ใช้ในการดาเนินงานและสกุลเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่เกิดรายการ นั้น (อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันตรวจรับงาน) เพิ่มความชัดเจนโดยการเปลี่ยนถ้อยคาและขยายความ โดย ย่อหน้า 25 ระบุว่า “กระแสเงินสดจากรายการที่เป็น เงินตราต่างประเทศต้องบันทึกโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ระหว่างสกุลเงินหลักที่ใช้ในการดาเนินงานและสกุลเงินตรา ต่างประเทศ ณ วันที่เกิดรายการของกระแสเงินสด” ย่อหน้า 26 ระบุว่า “กระแสเงินสดของบริษัทย่อยใน ต่างประเทศต้องแปลงค่าเงินตราตามอัตราแลกเปลี่ยน ระหว่างสกุลเงินหลักที่ใช้ในการดาเนินงานและสกุลเงิน ตราต่างประเทศ ณ วันที่เกิดรายการของกระแสเงินสด”
  • 33. 2. การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูล - การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรม ดาเนินงาน ย่อหน้า 19 ระบุว่า “กิจการควรแสดง กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน โดย 1. วิธีทางตรง หรือ 2. วิธีทางอ้อม กิจการส่วนใหญ่ได้แสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงานโดยวิธีทางอ้อม เพิ่มความชัดเจนโดยการเปลี่ยนถ้อยคาเป็น “ต้อง” - การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน ย่อหน้า 18 ระบุว่า “กิจการต้องแสดง กระแส เงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน โดย 1. วิธีทางตรง หรือ 2. วิธีทางอ้อม
  • 34. Corporate Accounting, PTT - การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน และกิจกรรมจัดหาเงิน ย่อหน้า 22 ระบุว่า “กิจการควรแสดง เงิน สดรับและเงินสดจ่ายแยกตามลักษณะ รายการที่สาคัญต่างๆที่เกิดจากกิจกรรม ลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงิน” กิจการส่วนใหญ่ได้แสดงเงินสดรับและเงินสดจ่ายแยกตามลักษณะรายการที่สาคัญต่างๆที่เกิด จากกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงินแล้ว เพิ่มความชัดเจนโดยการเปลี่ยนถ้อยคาเป็น “ต้อง” - การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนและ กิจกรรมจัดหาเงิน ย่อหน้า 21 ระบุว่า “กิจการ ต้อง แสดงเงินสดรับ และเงินสดจ่ายแยกตามลักษณะรายการที่สาคัญ ต่างๆที่เกิดจากกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหา เงิน”
  • 35. - รายการพิเศษ ย่อหน้า 30 ระบุว่า “กระแสเงินสดที่ เกี่ยวกับรายการพิเศษ ควรจัดเข้าเป็น รายการที่เกิดจากกิจกรรมดาเนินงานหรือ กิจกรรมลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงิน ตาม ความเหมาะสมและเปิดเผยเป็นรายการ แยกต่างหาก” กิจการได้แสดงรายการพิเศษ โดยจัดเข้าเป็นรายการที่เกิดจากกิจกรรมดาเนินงานหรือกิจกรรม ลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงินตามความเหมาะสม ยกเลิกรายการพิเศษ โดยยกเลิก การแสดงกระแสเงินสดที่เกี่ยวข้องกับรายการพิเศษ
  • 36. - ดอกเบี้ยและเงินปันผล ย่อหน้า 32 ระบุว่า “ควรเปิดเผยแยก ต่างหากสาหรับรายการกระแสเงินสดจาก ดอกเบี้ยและเงินปันผลรับและจ่ายและควร จัดประเภทแต่ละรายการเข้าเป็นกิจกรรม ดาเนินงาน กิจกรรมลงทุนหรือกิจกรรม จัดหาเงินในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีโดย สม่าเสมอ” กิจการส่วนใหญ่ได้จัดประเภทดอกเบี้ยรับ แยกเป็นรายการต่างหากไว้ในกิจกรรมดาเนินงานแล้ว ย่อหน้า 31 ระบุว่า “กิจการ ต้อง เปิดเผยกระแสเงินสด รับและกระแสเงินสดจ่ายสาหรับดอกเบี้ยและเงินปัน ผล แยกเป็นรายการต่างหากและควรจัดประเภทแต่ ละรายการเข้าเป็นกิจกรรมดาเนินงาน กิจกรรมลงทุน หรือกิจกรรมจัดหาเงินในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี โดยสม่าเสมอ”
  • 37. - ภาษีเงินได้ ย่อหน้า 36 ระบุว่า “ควรเปิดเผยกระแส เงินสดจากภาษีเงินได้ไว้แยกต่างหาก และ ควรจัดไว้เป็นกระแสเงินสดจากกิจกรรม ดาเนินงาน ยกเว้นในกรณีที่ระบุโดย เจาะจงได้ว่าเป็นของกิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน” กิจการส่วนใหญ่ได้จัดประเภทภาษีเงินได้ เป็นรายการแยกต่างหากไว้ในกิจกรรมดาเนินงานแล้ว ย่อหน้า 35 ระบุว่า “กิจการ ต้อง เปิดเผยกระแสเงิน สดจากภาษีเงินได้เป็นรายการแยกต่างหาก และ ต้องจัดประเภทไว้เป็นกระแสเงินสดจากกิจกรรม ดาเนินงาน ยกเว้นในกรณีที่ระบุโดยเจาะจงได้ว่า เป็นของกิจกรรมจัดหาเงินและกิจกรรมลงทุน”
  • 38. - รายการที่ไม่ใช่เงินสด ย่อหน้า 44 ระบุว่า “รายการลงทุนและ จัดหาเงินที่มิได้มีการใช้เงินสดหรือรายการ เทียบเท่าเงินสด ไม่ควรนามารวมในงบ กระแสเงินสด รายการดังกล่าวควรเปิดเผย ให้ทราบเพื่อเป็นการให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ทั้งหมด โดยแสดงต่อท้ายงบกระแสเงินสด หรือแสดงไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ก็ได้” •กิจการส่วนใหญ่ได้ดาเนินการแยกรายการที่ไม่ใช่เงินสดออกจากงบกระแสเงินสดแล้ว •กิจการส่วนใหญ่ยังไม่ได้เปิดเผยรายการที่มิใช่เงินสดไว้ในส่วนอื่นของงบการเงินเพื่อที่จะให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ทั้งหมดที่เกี่ยวกับกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงิน ย่อหน้า 43 ระบุว่า “รายการลงทุนและจัดหาเงินที่มิได้มี การใช้เงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสด ต้องไม่ นามารวมในงบกระแสเงินสด รายการดังกล่าวต้อง เปิดเผยให้ทราบไว้ในส่วนอื่นของงบการเงินเพื่อเป็น การให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวกับกิจกรรม ลงทุน และกิจกรรมจัดหาเงิน”
  • 39. - องค์ประกอบของเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสด ย่อหน้า 45 ระบุว่า “กิจการควรแสดง องค์ประกอบของเงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสด และแสดงการกระทบยอด ของจานวนเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดที่แสดงในงบกระแสเงินสด กับ รายการที่เทียบเท่าตามที่แสดงในงบดุล” กิจการได้แสดงองค์ประกอบของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และได้แสดงการกระทบยอดของเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด กับรายการในงบดุลแล้ว ย่อหน้า 45 ระบุว่า “กิจการต้องแสดงองค์ประกอบของเงิน สดและรายการเทียบเท่าเงินสด และแสดงการกระทบ ยอดของจานวนเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดที่ แสดงในงบกระแสเงินสด กับรายการที่เทียบเท่าตามที่ แสดงในงบดุล”
  • 40. - การเปิดเผยอื่นๆ ย่อหน้า 48 ระบุว่า “กิจการควรเปิดเผย จานวนเงิน ของเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดที่มีนัยสาคัญที่ถืออยู่ในมือของกิจการ แต่ไม่อาจจะนาไปใช้โดยบริษัทในกลุ่ม และ ให้มีคาชี้แจงของฝ่ายบริหารประกอบด้วย” หากกิจการมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดที่มีนัยสาคัญที่ถืออยู่ในมือของกิจการ แต่ไม่อาจใช้ได้โดยบริษัท ในกลุ่ม กิจการต้องเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวด้วย ย่อหน้า 48 ระบุว่า “กิจการต้องเปิดเผยจานวนเงิน ของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดที่มี นัยสาคัญที่กิจการถือไว้แต่ไม่อาจจะนาไปใช้โดย บริษัทในกลุ่ม และให้มีคาชี้แจงของฝ่ายบริหาร ประกอบด้วย”
  • 42. ถือปฏิบัติกับที่ดินอาคารอุปกรณ์โดยทั่วไป ยกเว ้น : 1. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่จัดประเภทเป็นถือไว ้เพื่อขาย (IFRS 5) 2. สินทรัพย์ทางชีวภาพที่เกี่ยวข ้องกับกิจกรรมทางการเกษตร (IAS41) 3. การรับรู้รายการและการวัดมูลค่าของการสารวจและประเมินสินทรัพย์ (IFRS6) 4. สัมปทานเหมืองแร่และสินแร่ เช่น น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นซึ่งไม่สามารถสร้างขึ้นทดแทนได ้ หรือสินทรัพย์อื่น ที่มีมาตรฐานโดยเฉพาะ  อย่างไรก็ตามยังคงถือปฏิบัติกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ใช ้ในการพัฒนาหรือบารุงรักษา สภาพของกิจกรรมหรือสินทรัพย์ตามข ้อ 2-4 ขอบเขต
  • 43. สินทรัพย์ที่มีตัวตนซึ่งเข ้าเงื่อนไขทุกข ้อ ดังต่อไปนี้ • กิจการมีไว ้เพื่อใช ้ประโยชน์ในการผลิต เพื่อใช ้ในการ จาหน่ายสินค ้าหรือบริการ เพื่อให ้เช่าหรือเพื่อใช ้ในการ บริหารงาน • กิจการคาดว่าจะใช ้ประโยชน์ > 1 รอบปีบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หมายถึง : คานิยาม
  • 44. การรับรู้รายการ (Recognition)  ความเป็นไปได ้ ค่อนข ้างแน่ ที่รายการนั้นจะให ้ประโยชน์เชิง เศรษฐกิจ ต่อกิจการในอนาคต รายการที่เป็นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ต ้องรับรู้เป็นสินทรัพย์ เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไข ทั้ง 2ข ้อ  กิจการสามารถ วัดมูลค่าต ้นทุน ของรายการนั้นได ้อย่าง น่าเชื่อถือ  +  ใช ้พิจารณาทั้งการวัดมูลค่าเริ่มแรก และภายหลังการได ้มาซึ่งสินทรัพย์
  • 45. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์บางรายการ ไม่ได ้เพิ่มประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยตรง ต่อกิจการ แต่เป็นสินทรัพย์ที่จาเป็นเพื่อให ้กิจการสามารถได ้ประโยชน์เชิง เศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพย์หลัก ดังนั้น กิจการต ้องรับรู้ รายการดังกล่าวเป็ น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์รักษาความปลอดภัย ,อุปกรณ์รักษาสิ่งแวดล ้อม เป็นต ้น การรับรู้รายการ (ต่อ) ต้นทุนเริ่มแรก
  • 46. การรับรู้รายการ (ต่อ)  ค่าซ่อมแซมและบารุงรักษาที่เกิดขึ้นเป็นประจา ค่าใช ้จ่าย  ต ้นทุนในการเปลี่ยนแทน หากเข ้าเกณฑ์การรับรู้รายการทั้ง 2 ข ้อ  ต ้นทุนPPE - การเปลี่ยนแทนส่วนประกอบต่างๆ เช่น เก ้าอี้ในเครื่องบิน - ต ้นทุนในการตรวจสอบครั้งใหญ่ของสินทรัพย์ (Major Inspection or Overhaul Costs) ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง
  • 47. การวัดมูลค่าเริ่มแรก (Initial Measurement) 1. ราคาซื้อ+ ภาษีนาเข ้า + ภาษีซื้อที่ขอคืนไม่ได ้- ส่วนลดการค ้า 2. ต ้นทุนทางตรงอื่นๆ ในการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให ้อยู่ในสถานที่และสภาพที่ พร้อมจะใช ้งาน ตามวัตถุประสงค์ของฝ่ ายบริหาร เช่น ต ้นทุนผลประโยชน์ตอบ แทนพนักงาน(IAS19), ต ้นทุนการเตรียมสถานที่ ,การขนส่งเริ่มแรก ,การติดตั้ง ,การTest Run (หัก รายได ้จากการขายของที่ผลิตได ้ในช่วงTest Run) ,ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ 3. ประมาณการค่ารื้อ ขนย ้าย และการบูรณะสถานที่ ภายหลังการเลิกใช ้ สินทรัพย์ (ถือเป็นภาระผูกพันของกิจการที่เกิดขึ้นจากการติดตั้งสินทรัพย์) รับรู้รายการโดยใช้ ราคาทุน ส่วนประกอบของต้นทุน  การรับรู้เป็นต ้นทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ จะสิ้นสุด เมื่อสินทรัพย์นั้น อยู่ใน สถานที่และสภาพที่พร ้อมจะใช ้งานได ้
  • 48. การวัดมูลค่าเริ่มแรก (ต่อ) การวัดมูลค่าของต้นทุน • ต ้นทุนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ วัดด ้วย ราคาที่เทียบเท่ากับการซื้อด ้วย เงินสด (Cash Price Equivalent) ณ วันที่รับรู้รายการ หากระยะเวลาในการชาระราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ นานกว่า Credit Term ปกติที่ ได ้รับ กิจการต ้องบันทึกผลต่างระหว่าง จานวนเงินที่ต ้องชาระจริง กับ ราคาที่เทียบเท่า กับการซื้อด ้วยเงินสด เข ้าเป็น ดอกเบี้ยจ่าย เว ้นแต่จะเข ้าเงื่อนไขการรับรู้เรื่องต ้นทุน การกู้ยืม (TAS33)  การแลกเปลี่ยนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ต ้องวัดด ้วยมูลค่ายุติธรรม (Fair Value) เว ้นแต่ 1.รายการแลกเปลี่ยนนั้นขาดเนื้อหาเชิงพาณิชย์ (Commercial Substance) หรือ 2.ไม่สามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได ้อย่างน่าเชื่อถือ จึงจะใช ้ราคาตามบัญชี (Carrying Amount) Commercial Substance ให ้พิจารณาขอบเขตของ Cash Flow ในอนาคตทื่คาดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นผลจากการแลกเปลี่ยน ต ้องเข ้า เงื่อนไข 1.ลักษณะ (ความเสียง,จังหวะ,จานวน)ของ CF ของPPEที่ได ้รับแตกต่างจากของที่นาไปแลกเปลี่ยน หรือ 2. รายการแลกเปลี่ยน ทาให ้เกิดการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าเฉพาะต่อกิจการในส่วนของการดาเนินงานที่ถูกกระทบจากการแลกเปลี่ยน * ความแตกต่างต ้องมีนัยสาคัญเมื่อเทียบกับ FV ของPPE ที่แลกเปลี่ยน
  • 49. การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้มูลค่าเริ่มแรก 1. วิธีราคาทุน (Cost Model) 2. วิธีราคาที่ตีใหม่ (Revaluation Model) * FV = ราคาตลาดของสินทรัพย์ หากกิจการไม่สามารถหาราคาตลาดของสินทรัพย์ได ้ เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะ ให ้ใช ้วิธีต ้นทุนเปลี่ยนแทน - ค่าเสื่อมราคาสะสม กิจการสามารถเลือกปฏิบัติได ้ 2 วิธี คือ ราคาตามบัญชี = ราคาทุน – หักเสื่อมราคาสะสม - ค่าเผื่อการด ้อย ค่า ราคาตามบัญชี = FV ณ วันที่ตีราคาใหม่ * – ค่าเสื่อมราคาสะสม (ที่คานวณจากFV) - ค่าเผื่อการด ้อยค่า
  • 50. วิธีราคาที่ตีใหม่ (Revaluation Model) • อนุญาตให ้กิจการแสดงรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ทุกรายการที่จัดอยู่ใน ประเภทเดียวกันด ้วยราคาที่ตีใหม่ ก็ต่อเมื่อ สามารถวัดFV ได ้อย่างน่าเชื่อถือ • ตีราคาอย่างสม่าเสมอ โดยความถี่ของการตีราคาใหม่ขึ้นอยู่กับความ เคลื่อนไหวของมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่ (ถ ้าเปลี่ยนแปลงอย่างมี นัยสาคัญบ่อยครั้ง ต ้องตีราคาสินทรัพย์ใหม่ทุกปี) การตีราคาใหม่ ค่าเสื่อมราคาสะสม ของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ณ วันที่ตี ราคาใหม่ ปฏิบัติตามข ้อใดข ้อหนึ่ง ดังนี้ • ปรับค่าเสื่อมราคาสะสมตามสัดส่วนการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าตามบัญชี (ก่อน หักค่าเสื่อมราคาสะสม) มักใช ้เมื่อสินทรัพย์ถูกตีราคาโดยนาดัชนีมาปรับกับต ้นทุน เปลี่ยนแทนที่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสะสมแล ้ว • นาค่าเสื่อมราคาสะสมหักจากราคาตามบัญชี (ก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม) และปรับเป็นราคาที่ตีใหม่ มักใช ้กับการตีราคาอาคาร
  • 51. วิธีราคาที่ตีใหม่ (Revaluation Model) ตีราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้น ตีราคาสินทรัพย์ลดลง ส่วนเกินทุน จากการตีราคาสินทรัพย์ อยู่ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นใน งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ค่าใช ้จ่าย งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ยกเว ้น : เคยตีราคา ลดลงและบันทึกเป็น ค่าใช ้จ่ายในงวดก่อน ให ้รับรู้เป็นรายได ้ไม่ เกินจานวนที่ลดลง ยกเว ้น : เคยตีราคา เพิ่มขึ้น และมียอดคงค ้าง ในส่วนเกินทุน ให ้หัก ออกจากส่วนเกินทุนฯ ไม่ เกินจานวนที่เคยตีราคา เพิ่มขึ้น * หากมีการจาหน่ายหรือเลิกใช ้สินทรัพย์ ต ้องโอน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ไปยัง กาไร สะสม โดยตรง
  • 52. ค่าเสื่อมราคา • ส่วนประกอบที่มีนัยสาคัญต ้องคิดค่าเสื่อมราคาแต่ละส่วนแยกต่างหากจากกัน เกณฑ์พิจารณาความมีนัยสาคัญ --> ต ้นทุนส่วนประกอบแต่ละส่วน ต ้นทุนทั้งหมดของสินทรัพย์นั้น ขึ้นกับดุลยพินิจในการกาหนดนโยบายบัญชี • รวมกลุ่มคิดค่าเสื่อมราคาได ้ หากส่วนประกอบที่มีนัยสาคัญ 1. มีอายุการใช ้งานเท่ากัน และ 2. ใช ้วิธีการคิดค่าเสื่อมราคาเหมือนกัน • ส่วนประกอบที่เหลือคิดค่าเสื่อมราคาโดยใช ้วิธีประมาณการที่สะท ้อนถึงรูปแบบการ ใช ้ประโยชน์ • การรับรู้รายการ • เป็นค่าใช ้จ่ายแต่ละงวดในงบกาไรขาดทุน • ยกเว ้นรวมเป็นมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์อื่น
  • 53. มูลค่าเสื่อมสภาพ และระยะเวลาในการคิดค่าเสื่อมราคา • ปันส่วนมูลค่าเสื่อมสภาพอย่างมีระบบตลอดอายุการใช ้งาน • ทบทวนมูลค่าคงเหลือ (Residual value) และอายุการใช ้งาน (Useful life) อย่างน้อยทุกสิ้นรอบปีบัญชี  ทางปฏิบัติ : มูลค่าคงเหลือจานวนไม่มีนัยสาคัญ จึงไม่นามาคิดค่าเสื่อมราคา  กรณีแตกต่างไปจากที่ประมาณไว ้ถือว่าเป็น การเปลี่ยนแปลงประมาณการทาง บัญชีให ้ปฏิบัติตาม TAS 8 *  กรณีมูลค่าคงเหลือเพิ่มขึ้น มูลค่าคงเหลือ > ราคาตามบัญชี  หยุดรับรู้ค่าเสื่อมราคา * TAS 8 เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข ้อผิดพลาด ค่าเสื่อมราคา
  • 54. ค่าเสื่อมราคา  การรับรู้ค่าเสื่อมราคา มูลค่ายุติธรรม > ราคาตามบัญชี  รับรู้ค่าเสื่อมราคา มูลค่าคงเหลือ > ราคาตามบัญชี  หยุดรับรู้ค่าเสื่อมราคา • เริ่มคิดค่าเสื่อมราคา เมื่อสินทรัพย์พร้อมใช ้งานตามวัตถุประสงค์ของ ผู้บริหาร • สิ้นสุดการคิดค่าเสื่อมราคา เมื่อ 1. ตัดรายการสินทรัพย์นั้น หรือ 2. จัดประเภทเป็นสินทรัพย์ที่ถือไว ้เพื่อขาย (TFRS 5*) • คิดค่าเสื่อมราคา ต ้นทุนในการรื้อถอน การขนย ้าย และการบูรณะสถานที่ หากรวมเป็นส่วนหนึ่งของต ้นทุนสินทรัพย์ *TFRS 5 Assets Held for Sale and Discontinued Operation
  • 55. ค่าเสื่อมราคา • อายุการใช ้งาน (Useful life) • ประมาณจากประสบการณ์การใช ้สินทรัพย์ที่คล ้ายคลึงกัน • ปัจจัยในการกาหนด 1. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได ้รับ 2. การชารุดเสียหายที่คาดว่าจะเกิดจากการใช ้งาน 3. ความล ้าสมัยทางด ้านเทคนิค หรือทางพาณิชย์ 4. ข ้อจากัดหรือข ้อกาหนดตามกฎหมาย • อาจไม่เท่ากับอายุเชิงเศรษฐกิจ หากมีการขายสินทรัพย์ก่อนหมดอายุ การใช ้งาน
  • 56. ค่าเสื่อมราคา  การเลือกวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาที่สะท ้อน รูปแบบของประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจที่คาดว่าจะได ้รับจากการใช ้สินทรัพย์  ทบทวนวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปีบัญชี  กรณีรูปแบบของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่คาดว่าจะได ้รับ เปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสาคัญ ต ้องเปลี่ยนวิธีการคิดค่า เสื่อม ราคา  การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีให ้ปฏิบัติตาม TAS 8
  • 57. • วิธีการคิดค่าเสื่อมราคาที่เป็นระบบมีหลายวิธี เช่น • วิธีเส ้นตรง (ราคาทุน – RV*) x 1 . (Straight Line Method) จานวนอายุการใช ้งาน • วิธีผลรวมจานวนปี ราคาทุน x ปีที่คิดค่าเสื่อมราคา . (Sum of the year digit) ผลรวมจานวนปี • วิธียอดลดลงทวีคูณ (Double-Declining Balance) ราคาทุน x 2 . จานวนอายุการ ใช ้งาน • วิธีจานวนผลผลิต (ราคาทุน – RV) x จานวนหน่วยที่ผลิตในปี นั้นๆ (Unit of Production: UOP) จานวนหน่วยที่ผลิตสินค ้า ได ้ ค่าเสื่อมราคา *Residual Value : มูลค่าคงเหลือ
  • 58. การตัดรายการ • ตัดมูลค่าตามบัญชีออกจากรายการในงบดุล เมื่อ 1. จาหน่าย หรือเลิกใช ้อย่างถาวร 2. คาดว่าจะไม่ได ้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต  รับรู้กาไรหรือขาดทุนในงบกาไรขาดทุน  กาไรหรือขาดทุน = ผลตอบแทนสุทธิที่ได ้รับ – มูลค่าตามบัญชี กรณีกาไรไม่จัดประเภทเป็นรายได ้หลัก  ยกเว ้น กรณีขายแล ้วเช่ากลับคืน ให ้ปฏิบัติตาม TAS 17* *TAS 17 เรื่อง สัญญาเช่า
  • 59. การเปิดเผยข ้อมูล เปิดเผยรายการต่อไปนี้ทุกข ้อในงบการเงินตามประเภทของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ • เกณฑ์การวัดมูลค่าที่ใช ้กาหนดมูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม • วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา • อายุการใช ้งานหรืออัตราค่าเสื่อมราคา • มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสม • ค่าเสื่อมราคาสะสม • ค่าเผื่อการด ้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันต ้นงวด และสิ้นงวด • จานวนรายจ่ายทั้งสิ้นที่เกิดขึ้นในการสร้างที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ • จานวนภาระผูกพันที่ตกลงกันไว ้เพื่อให ้ได ้มาซึ่งสินทรัพย์ • จานวนค่าชดเชยที่ได ้รับจากบุคคลภายนอก
  • 60. การเปิดเผยข ้อมูล • มูลค่าของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้น • สินทรัพย์ที่ถือไว ้เพื่อขาย • มูลค่าของสินทรัพย์ที่ได ้มาจากการรวมกิจการ • การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของสินทรัพย์ซึ่ง เป็นผลมาจากการตีราคาใหม่ • ผลขาดทุนจากการด ้อยค่าของสินทรัพย์ • ผลขาดทุนจากการด ้อยค่าที่กลับรายการ • ค่าเสื่อมราคา • ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิจากการแปลง ค่างบการเงิน • การเปลี่ยนแปลงอื่น  รายการกระทบยอดของราคาตามบัญชีระหว่างวันต ้นงวดถึงวัน สิ้นงวด  จานวนและข ้อจากัดในกรรมสิทธ์ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ใช ้เป็น หลักประกัน  ลักษณะ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีที่มี ผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ เช่น ราคาซาก อายุการใช ้งาน วิธีการคิด ค่าเสื่อมราคา และอื่นๆ
  • 61. หากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด ้วยราคาที่ตีใหม่ให ้เปิดเผย • วันที่มีการตีราคาสินทรัพย์ใหม่ • การตีราคาใหม่ทาโดยผู้ประเมินราคาอิสระหรือไม่ • วิธีการและข ้อสมมติที่มีนัยสาคัญที่ถูกนามาใช ้ประมาณ มูลค่ายุติธรรม • มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ • มูลค่าตามบัญชีที่จะรับรู้หากใช ้วิธีราคาทุน • ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ การเปิดเผยข ้อมูล
  • 63. ขอบเขต 2. กิจการต้องถือปฎิบัติมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กับการบัญชีสาหรับ ต้นทุนการกู้ยืม 3. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่ครอบคลุมถึงต้นทุนของตราสารประเภททุน รวมทั้งหุ้นบุริมสิทธิที่มิได้ จัดประเภทเป็นหนี้สิน 4. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่ใช้บังคับสาหรับต้นทุนการกู้ยืมที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับการได้มา การก่อสร้าง หรือการผลิตของ 4.1 สินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขที่วัดด้วยมูลค่ายุติธรรม เช่น สินทรัพย์ชีวภาพ หรือ 4.2 สินค้าคงเหลือที่ผลิตเป็นจานวนมาก โดยมีขั้นตอนการผลิตซ้าๆ