SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
เรื่อง คำนำม
วิชำภำษำไทย
ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๒
คำนำม
คำนำม คือ คำสำหรับเรียกคน พืช สัตว์
สิ่งของ และสถำนที่ต่ำง ๆ ซึ่งรวมทั้งสิ่ง
ที่มีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต สิ่งที่มีรูป
ปรำกฏ และสิ่งที่ไม่มีรูปปรำกฏ
๑. คำนำมที่ไม่ชี้เฉพำะ (สำมำนยนำม)
๒. คำนำมที่เป็นชื่อเฉพำะ (วิสำมำนยนำม)
๓. คำนำมที่บอกลักษณะของนำม (ลักษณนำม)
๔. คำนำมรวมหมู่ (สมุหนำม)
๕. คำนำมที่แสดงอำกำรต่ำง ๆ (อำกำรนำม)
คำนำมแบ่งเป็น ๕ ชนิด คือ
คำนำมที่ไม่ชี้เฉพำะ (สำมำนยนำม) คือ
คำนำมที่เป็นชื่อทั่วไปของคน พืช สัตว์
สิ่งของ และสถำนที่ โดยไม่ฉพำะเจำะจง
ได้แก่ บ้ำน ข้ำว วิทยุ อนุสำวรีย์
ทนำยควำม ฯลฯ เช่น บ้ำนของเขำอยู่
ใกล้ภูเขำ
คำนำมที่เป็นชื่อเฉพำะ (วิสำมำนยนำม) คือ
คำนำมที่เป็นชื่อเฉพำะของคน สัตว์ และสถำนที่
ได้แก่ กรุงเทพมหำนคร พระรำม ทวีปยุโรป
ดวงอำทิตย์ อนุสำวรีย์ประชำธิปไตย ฯลฯ เช่น
ประเทศไทยอยู่ในทวีปเอเชีย
คำนำมที่บอกลักษณะของนำม (ลักษณนำม) คือ
คำนำมที่ใช้บอกลักษณะของนำมข้ำงหน้ำ ซึ่ง
มักจะใช้ตำมหลังคำที่บอกจำนวน ได้แก่ ฉบับ ผล
กิ่ง ฯลฯ เช่น วันนี้ฉันได้รับจดหมำย ๓ ฉบับ
คำนำมบอกลักษณะของนำม จะ
อยู่หลังจำนวนนับ ได้แก่ ไข่ ๓ ฟอง มะม่วง ๕
ผล หมวก ๒ ใบ แต่ถ้ำจำนวนนับเป็นหนึ่งอำจ
ใช้คำว่ำหนึ่งตำมหลังลักษณนำมได้ เช่น นกตัว
หนึ่ง บ้ำนหลังหนึ่ง ชำยคนหนึ่ง เป็นต้น หรือ
ตำมหลังนำมเมื่อต้องกำรเน้นคำนำมนั้น เช่น
อำหำรจำนนั้น หญิงคนนี้สุนัขตัวนี้ เป็นต้น
ข้อสังเกต
คำนำมรวมหมู่ (สมุหนำม) คือ คำนำมที่บอก
ลักษณะของคน พืช สัตว์ และสิ่งของที่รวมกัน
อยู่เป็นหมวด เป็นหมู่ เป็นพวก ได้แก่ โขลง หมู่
คณะ กลุ่ม ฝูง ฯลฯ เช่น หมู่แมลงบินว่อนตอม
ดอกไม้
คำนำมรวมหมู่หน้ำคำนำม
ที่ประกอบอยู่ เช่น ฝูงนก คณะนักเรียน
หมู่แมลง เป็นต้น
ข้อสังเกต
คำนำมที่แสดงอำกำรต่ำง ๆ (อำกำรนำม) คือ คำนำมที่
เกิดจำกกำรนำคำ “กำร” และ “ควำม” นำหน้ำคำกริยำ
หรือคำวิเศษณ์ เพื่อแสดงควำมเป็นไปต่ำง ๆ ของคน พืช
สัตว์ และสิ่งของ ได้แก่ กำรเรียน กำรเล่น ควำมสูง ฯลฯ
เช่น กำรเรียนเป็นประตูสู่อนำคต
คำว่ำ “กำร” และ “ควำม” หำกนำหน้ำ
คำชนิดอื่นนอกจำก คำกริยำและคำวิเศษณ์ถือเป็นคำสำ
มำนยนำม ไม่ใช่อำกำรนำม เช่น กำรบ้ำน กำรเมือง ฯลฯ
ข้อสังเกต
ขอบคุณข้อมูลควำมรู้จำก
HTTP://WWW.UDOMSUKSA.AC.TH/LATPHRAO/KNOWLEDGE/P6/THAI.PPSX

More Related Content

What's hot

What's hot (6)

คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
งานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทงานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบท
 

Similar to คำนาม

คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำspeedpiyawat
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 

Similar to คำนาม (11)

ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
47 61
47 6147 61
47 61
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 

คำนาม