SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
ใบความรู้ เรื่องการประมาณค่า
การหาค่าประมาณ
การหาค่าประมาณจากการวัดสามารถหาได้โดยวิธีการวัดค่าต่าง ๆ
โดยใช้เครื่องมือในการวัดซึ่งการอ่านค่าการวัดอาจคลาดเคลื่อนได้
ค่าที่ได้จากการวัดจึงเป็นค่าประมาณที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง
ตัวอย่าง
ปากกามีความยาวตั้งแต่ 14.5 ซม. และยาวไม่ถึง 15.5 ซม.
แสดงว่าปากกามีความยาวประมาณเป็นจานวนเต็มเท่าใด (ปากกามีความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร)
กรรไกรมีความยาวตั้งแต่ 16.55 ซม. และยาวไม่ถึง 16.65 ซม. แสดงว่ากรรไกร
มีความยาวประมาณเป็นทศนิยม1ตาแหน่งเป็นเท่าใด(กรรไกรมีความยาวประมาณ 16.6 เซนติเมตร)
การประมาณค่าจากการปัดเศษของจานวนเต็ม
การประมาณค่าจากการปัดเศษของจานวนเต็ม
สามารถทาได้โดยพิจารณาเลขโดดตัวที่อยู่ถัดจากตาแหน่งที่ต้องการไปทางขวามือตัวเดียว
ถ้าเลขโดดตัวนั้นมีค่าต่ากว่า 5ให้ปัดทิ้ง ตั้งแต่5 ขึ้นไปให้ปัดขึ้น
ตัวอย่าง
การปัดเศษที่เป็นจานวนเต็มสิบ ถ้าเลขโดดในหลักหน่วยมีค่าน้อยกว่า 5 ต้องทาอย่างไร
(ปัดทิ้ง) ถ้าตั้งแต่5 ขึ้นไปต้องทาอย่างไร (ให้ปัดขึ้นเป็นสิบ)
การปัดเศษที่เป็นจานวนเต็มร้อย ถ้าเลขโดดในหลักสิบมีค่าน้อยกว่า 5 ต้องทาอย่างไร
(ปัดทิ้ง) ถ้าตั้งแต่5 ขึ้นไปต้องทาอย่างไร (ให้ปัดขึ้นเป็นร้อย)
การประมาณค่าจากการปัดเศษของทศนิยม
การประมาณค่าจากการปัดเศษของทศนิยม
สามารถทาได้โดยพิจารณาเลขโดดตัวที่อยู่ถัดจากตาแหน่งที่ต้องการไปทางขวามือตัวเดียว
ถ้าเลขโดดตัวนั้นมีค่าต่ากว่า 5ให้ปัดทิ้ง ตั้งแต่5ขึ้นไปให้ปัดขึ้น
ตัวอย่าง
1) การปัดเศษให้เป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง
84.49  49.5
46.36  36.6
05.2  2.5
2) การปัดเศษให้เป็นทศนิยม 2 ตาแหน่ง
635.4  4.36
348.2  2.48
079.13  13.79
803.56  56.04
การประมาณค่าโดยใช้ค่าประมาณจากการปัดเศษ
การประมาณค่าโดยใช้ค่าประมาณจากการปัดเศษ
สามารถนาไปใช้หาคาตอบที่ใกล้เคียงค่าที่แท้จริงได้อย่างรวดเร็ว
ซึ่งก่อนที่จะคานวณหาผลลัพธ์จะต้องประมาณค่าจานวนต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเป็นจานวนเต็ม เศษส่วน
หรือทศนิยม โดยวิธีการปัดเศษ
จงประมาณค่าผลลัพธ์ของ 41,760 + 32,500 – 16,900
วิธีทา 41,760  40,000
32,500  30,000
16,900  20,000
ดังนั้น 41,760 + 32,500 – 16,900  40,000 + 30,000 – 20,000
41,760 +32,500 –16,900  50,000

More Related Content

More from kanjana2536

More from kanjana2536 (20)

ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
 
ใบ'งาน4
ใบ'งาน4ใบ'งาน4
ใบ'งาน4
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 
ใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิต
ใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิตใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิต
ใบงานที่22 เรื่อง นำไปใช้ในชีวิต
 
ใบงานที่ 20 เรื่อง สมบัติการแจกแจง
ใบงานที่ 20 เรื่อง สมบัติการแจกแจงใบงานที่ 20 เรื่อง สมบัติการแจกแจง
ใบงานที่ 20 เรื่อง สมบัติการแจกแจง
 
ใบงานที่ 19 เรื่อง สมบัติสลับที่การคุนและสมบัติเปลี่ยนหมู่การคุน
ใบงานที่ 19 เรื่อง สมบัติสลับที่การคุนและสมบัติเปลี่ยนหมู่การคุนใบงานที่ 19 เรื่อง สมบัติสลับที่การคุนและสมบัติเปลี่ยนหมู่การคุน
ใบงานที่ 19 เรื่อง สมบัติสลับที่การคุนและสมบัติเปลี่ยนหมู่การคุน
 
ใบงานที่ 17 เรื่อง สมบัติของ 1 และ 0
ใบงานที่ 17 เรื่อง สมบัติของ 1 และ 0ใบงานที่ 17 เรื่อง สมบัติของ 1 และ 0
ใบงานที่ 17 เรื่อง สมบัติของ 1 และ 0
 
ใบงานที่ 16 เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนเต็ม
ใบงานที่ 16 เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนเต็มใบงานที่ 16 เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนเต็ม
ใบงานที่ 16 เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนเต็ม
 

ใบความรู้ เรื่องการประมาณค่า