SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนปัจจุบัน
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนเป็นเหรียญที่ผลิตเพื่อนาออกใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจซึ่งต้องดาเนินการผลิต
อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีปริมาณเพียงพอสาหรับความต้องการใช้ในตลาดการค้าโดยมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและ
ลวดลายไปตามยุคสมัยเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนที่ผลิตในปัจจุบันมี 9 ชนิดราคา คือ 1 สตางค์ 5 สตางค์
10 สตางค์ 25 สตางค์ 25 สตางค์ 1 บาท 2 บาท 5 บาท และ 10 บาท แต่ที่ใช้หมุนเวียนในชีวิตประจาวันมีเพียง
5 ชนิด ราคา คือ ตั้งแต่ชนิดราคา 25 สตางค์ ถึงชนิดราคา 10 บาท ส่วนเหรียญชนิดราคา 1 สตางค์ 5 สตางค์ และ
10 สตางค์ ไม่ได้นาออกใช้โดยทั่วไป แต่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ในระบบบัญชีเท่านั้น
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 10 บาท
ด้านหลังของเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดนี้ เป็นภาพพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ตั้งอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยาฝั่ง
ตะวันตก เป็นวัดประจารัชกาลที่2พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โดยกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้น
ทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 วัดอรุณราชวราราม ได้สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรี
อยุธยา เดิมชื่อ “วัดมะกอก”
ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้เสด็จพร้อมด้วยไพร่พลโดยทางชลมารค และถึงหน้าวัด
แห่งนี้เมื่อยามใกล้รุ่ง จึงเสด็จพระราชดาเนินขึ้นประทับแรมที่ศาลาการเปรียญของวัด เมื่อพระองค์ทรง
ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงธนบุรีแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์และเปลี่ยน
ชื่อวัดใหม่เป็น “วัดแจ้ง” ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังใหม่ข้างวัดแจ้ง ทาให้วัดแจ้ง
กลายเป็นวัดในพระราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งไม่มีพระสงฆ์จาพรรษา
ในสมัยรัชกาลที่1พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระ
นครใหม่อยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา วัดแจ้งจึงกลายเป็นวัดนอกพระราชวังและให้มีพระสงฆ์จา
พรรษาได้ ในสมัยรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระ
อุโบสถ พระวิหารต่อจนสาเร็จ และพระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” และที่สาคัญทรงให้ก่อเสริม
พระปรางค์ เพื่อให้เป็นพระมหาธาตุเจดีย์ประจากรุงรัตนโกสินทร์ แต่ทาได้เพียงขุดฐานรากไว้ พระองค์เสด็จ
สวรรคตก่อน
ต่อมาช่วงสมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างพระ
ปรางค์ตามแบบที่รัชกาลที่ 2 ทรงมีพระราชดาริขึ้นจนสาเร็จ เรียกกันว่า “พระปรางค์วัดอรุณ” มีความสูง 66.7754
เมตร ล้อมรอบด้วยปรางค์ทิศและมณฑปทิศ องค์ปรางค์ก่อด้วยอิฐถือปูนประดับด้วยชิ้นกระเบื้องเคลือบสีต่างๆ
ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างและปฏิสังขรณ์เพิ่มเติม เช่น บุษบก
ยอดพระปรางค์ และพระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม” จะเห็นได้ว่าพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม
มีความสวยงาม และโดดเด่นบริเวณริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยาทั้งเวลากลางวันและกลางคืน
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 5 บาท
ด้านหลังของเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดนี้ เป็นภาพพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ซึ่งเป็นวัด
ประจาของรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยสันนิษฐานว่าเป็นวัดสร้างมาก่อนตั้งกรุง
รัตนโกสินทร์ ชื่อวัดแหลมหรือวัดไทรทอง (มีต้นไทรทองอยู่ภายในวัด) ต่อมาในรัชกาลที่ 2 ได้เกิดกบฎเจ้าอนุวงศ์
แห่งนครเวียงจันทน์ คิดจะตั้งตัวเป็นอิสระ ซึ่งแม่ทัพของไทยที่เป็นผู้รักษาพระนครในขณะนั้นคือ พระเจ้าบรมวงศ์
เธอ กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ พระราชโอรสในรัชกาลที่ 2 ทรงตั้งกองบัญชาการรบอยู่ที่วัดแห่งนี้ โดยกองทัพของ
เจ้าอนุวงศ์ได้พ่ายแพ้ก่อนที่จะยกกองทัพมาถึงพระนคร ทาให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ มี
ความศรัทธาและได้ปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้
ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้พระราชทานนามวัดแห่งนี้ใหม่ว่า “วัดเบญจมบพิตร” และในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5
ทรงมีพระราชดาริที่จะขยายพระนคร และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชฐานที่ประทับแห่งใหม่ คือ
พระราชวังดุสิต (บริเวณพระที่นั่งอัมพรสถาน พระที่นั่งวิมานเมฆ พระที่นั่งอภิเษกดุสิต เป็นต้น) โดยบริเวณ
ดังกล่าวเป็นพื้นที่ของวัดร้าง 2 แห่ง คือ วัดดุสิตและวัดปากคลอง ซึ่งตามประเพณีเดิมจะต้องสร้างวัดขึ้นทดแทน
แต่พระองค์ทรงเลือกสถาปนาวัดเบญจมบพิตรแทน และมีพระราชดาริที่จะสถาปนาขึ้นเป็นวัดใหญ่
โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็น
ผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างวัดเบญจมบพิตร โดยออกแบบให้พระอุโบสถของวัดประดับด้วยหินอ่อนจาก
อิตาลีทั้งหลัง เป็นอาคารทรงจตุรมุข มีมุขเด็จยื่นออกมาทั้งด้านหน้าและด้านหลัง หลังคาซ้อนกัน 5 ชั้น ภายใน
พระอุโบสถได้ประดิษฐานพระพุทธชินราชจาลอง ซึ่งพระองค์ทรงเติมสร้อยของพระนามวัดเป็น “วัดเบญจมบพิตร
ดุสิตวนาราม”
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 2 บาท
ในปี พ.ศ.2548 กระทรวงการคลังได้อนุมัติให้กรมธนารักษ์ออกใช้เหรียญกษาปณ์หมุนเวียน ชนิดราคา 2 บาท
เพิ่มขึ้นอีก 1 ชนิดราคา ด้านหลังของเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 2 บาท เป็นภาพของพระบรมบรรพต วัด
สระเกศราชวรมหาวิหาร
สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อว่า “วัดสะแก” ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุด
คลองรอบเมือง คลองหลอด และคลองมหานาค ซึ่งอยู่เหนือวัดสะแก และพระราชทานเปลี่ยนนามวัดใหม่ว่า “วัด
สระเกศ” และเริ่มก่อสร้างพระเจดีย์ของวัดสระเกศในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยพระราชทานนามว่า “พระเจดีย์ภูเขา
ทอง” และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค) เป็นแม่กองในการก่อสร้าง
พระเจดีย์ภูเขาทอง แต่การก่อสร้างครั้งนี้ไม่ประสบความสาเร็จ เนื่องจากที่ดินบริเวณดังกล่าวเป็นที่ลุ่มดินอ่อน ทา
ให้ทานน้าหนักพระเจดีย์ไม่ไหวและทรุดพังลงมา จึงได้หยุดการก่อสร้างพระเจดีย์ภูเขาทอง
ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) เป็นแม่กองสร้างพระเจดีย์
ภูเขาทองที่ค้างอยู่ และทรงวางศิลาฤกษ์พระเจดีย์ภูเขาทองเมื่อเดือน 6 ปีฉลู พ.ศ. 2408 โดยพระราชทานนามใหม่
ว่า “บรมบรรพต” ซึ่งได้ดาเนินสร้างต่อเนื่องมาจนสาเร็จในสมัยรัชกาลที่ 5 พร้อมทั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
ตัดถนน ถมคลองหน้าวัด และทาสะพานข้ามคลอง เพื่อให้มีความสะดวกต่อการเข้าชมบรมบรรพต หรือ “ภูเขา
ทอง” เนื่องด้วยสร้างเป็นรูปภูเขา มีลักษณะเป็นเจดีย์อยู่บนยอด ฐานของบรมบรรพตวัดได้ 330 เมตร ส่วนสูง 79
เมตร มีบันไดเวียนเป็นทางขึ้น 2 ทาง
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 1 บาท
ด้านหลังเป็นภาพพระศรีรัตนเจดีย์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือ วัดพระแก้ว รัชกาล
ที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2325 พร้อมกับการสร้างพระบรมมหาราชวังและกรุง
รัตนโกสินทร์ สืบตามราชประเพณีการสร้างพระอารามในพระราชฐานสมัยกรุงศรีอยุธยา และทรงมีพระราช
ประสงค์ให้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร โดยรัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัด
พระศรีรัตนศาสดารามพร้อมๆ กับการสร้างพระราชมณเฑียรและป้อมปราการในพระบรมมหาราชวัง
ทั้งนี้ การสร้างสิ่งก่อสร้างในพระบรมมหาราชวังระยะแรกสร้างด้วยไม้ ยกเว้นการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดารามที่
เป็นแบบการก่ออิฐถือปูน ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ.2327 วัดพระศรีรัตนศาสดารามประกอบด้วย พระอุโบสถ
พระระเบียงรอบวัดหอมณเฑียรธรรม หอระฆัง ศาลาราย จานวน 12 หลัง
นอกจากนี้ยังมีพระเจดีย์ทอง เรียกว่า พระศรีรัตนเจดีย์ ซึ่งรัชกาลที่ ๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ
ปี พ.ศ. ๒๓๙๘ เป็นเจดีย์ทรงกลมแบบลังกา มีรอบฐานเจดีย์ ยาว ๕๕.๕๕ เมตร เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้
รับมาจากลังกา โดยจาลองจากเจดีย์ตามแบบพระมหาสถูปเจดีย์ในวัดพระศรีสรรเพชญ จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จาพรรษา เนื่องจากเป็นวัดที่สร้างขึ้นใน
พระบรมมหาราชวัง
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 50 สตางค์
ด้านหลังเป็นภาพพระเจดีย์พระธาตุดอยสุเทพ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร จังหวัด
เชียงใหม่ ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ตาบลสุเทพ อาเภอเมืองเชียงใหม่ ชาวบ้านเรียกว่า วัดดอยสุ
เทพ หรือ วัดดอย ซึ่งตามตานานกล่าวว่า ก่อนปี พ.ศ.1929 พระเจ้ากือนามหาราช เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ได้สร้าง
พระเจดีย์ มีความสูง 10 เมตร อยู่บนดอยสุเทพ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ต่อมาในสมัยพระเมืองเกษเกล้าเจ้า
นครเมืองเชียงใหม่ โดยในพ.ศ. 2068 ได้ก่อสร้างพระเจดีย์เพิ่มเติมให้มีขนาดใหญ่ขึ้น คือ มีฐานกว้าง 12 เมตร
สูง 22 เมตร
ต่อมาในพ.ศ.2088 สมัยท้าวชายคาพระราชโอรสพระเมืองเกษเกล้า ได้สร้างวิหารด้านหน้าและด้านหลัง พร้อม
ระเบียงรอบ พระเจดีย์ 4 ด้าน และเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง แต่ยังไม่มีฐานะเป็นวัด เป็นเพียงปูชนียสถาน
ต่อมา พ.ศ.2494 ได้มีการสร้างพระอุโบสถขึ้น จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นวัดในเวลาต่อมา และพ.ศ.2504 รัฐบาลได้
สร้างพระตาหนักภูพิงคราชนิเวศน์บนยอดเขาตาบลสุเทพ ทาให้วัดพระธาตุดอยสุเทพได้รับการปฏิสังขรณ์และ
ก่อสร้างเพิ่มเติม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้
ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง ชั้นโท ตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม 2505 เป็นต้นมา ถือเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองและเป็น
สัญลักษณ์ของจังหวัดเชียงใหม่
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 25 สตางค์
ด้านหลังเป็นสัญลักษณ์ของวัดมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช จากตานานเมืองนครศรีธรรมราช
กล่าวว่า พระบรมธาตุเจดีย์สร้างโดยพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชในปี 1098 เพื่อเป็นที่ประดิษฐานองค์พระบรมธาตุ
เจดีย์ ซึ่งสร้างขึ้นในระยะเวลาใกล้เคียงกับการสร้างอาณาจักรศรีวิชัย โดยลักษณะของพระบรมธาตุเจดีย์เป็น
รูปทรงระฆังค่า ปากระฆังติดกับพื้นกาแพงแก้ว มีความสูงจากพื้นถึงยอดสูง 154 เมตร ฐานมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 1.5 เมตร ยอดหุ้มด้วยทองคาหนัก 800 ชั่ง มีปล้องไฉน 52 ปล้อง
เดิมวัดแห่งนี้ไม่มีภิกษุจาพรรษา เนื่องจากเป็นเขตพุทธาวาส ต่อมาในสมัยสุโขทัย พ่อขุนรามคาแหงทรงโปรดเกล้า
ฯ ให้นาทองแดงหล่อปิดทองยอดพระบรมธาตุ และสร้างพระระเบียงโดยรอบทั้งหมด 165 ห้อง
พระพุทธรูป 165 องค์ และสร้างกาแพง 4 ด้าน
ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ระหว่างปี 2437-2441 โดยพระครู
เทพมุนีศรีสุวรรณถูปฎมาภิบาล (ปาน) และได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์อีกหลายครั้งในเวลาถัดมา ในสมัยรัชกาล
ที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดาเนินเสด็จประพาสเมืองนครศรีธรรมราช ทรงมี
พระราชดาริเห็นสมควรให้พระสงฆ์มาดูแลวัดมหาธาตุ จึงรับสั่งให้สมเด็จพระบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ายุคลทิฆัมธร กรม
หลวงลพบุรีราเมศร์ ซึ่งขณะนั้นทรงดารงตาแหน่งอุปราชมณฑลปักษ์ใต้ ให้นิมนต์พระครูวินัยธร (นุ่น) มาปกครอง
วัด เพื่อให้พระภิกษุอยู่จาพรรษา วัดมหาธาตุวรมหาวิหารเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองของชาวนครศรีธรรมราช และเป็นศา
สนสถานที่สาคัญสาหรับสักการะและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวภาคใต้
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 10 สตางค์
ด้านหลังของเหรียญกษาปณ์ เป็นรูปพระเจดีย์พระธาตุเชิงชุม ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดพระธาตุเชิงชุม จังหวัด
สกลนคร สร้างขึ้นในสมัยใดไม่เป็นที่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด พระเจดีย์พระธาตุเชิงชุม มีลักษณะก่ออิฐถือปูน มีฐาน
เป็นรูปสี่เหลี่ยม ส่วนบนเป็นทรงบัวเหลี่ยม มีรูปทรงเพรียว ไม่มีลวดลายประดับที่องค์เจดีย์ เพียงแต่ฉาบปูนเรียบที่
ฐานพระเจดีย์ มีประตูทั้งสี่ด้าน โดยซุ้มประตูมีลักษณะเป็นยอดปราสาท ประตูด้านทิศตะวันออกที่ต่อกับพระ
วิหาร เปิดให้เห็นภายในขององค์พระธาตุ ที่สร้างครอบปราสาทแบบขอมขนาดเล็กที่ก่อด้วยศิลาแลง โดยมีกรอบ
ประตูทางเข้าเป็นหินทราย
ส่วนหลืบประตูทางทิศเหนือ มีจารึกอักษรขอม อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 กล่าวถึงการถวายที่ดิน ข้าทาส และ
สิ่งของต่างๆ ให้แก่ ศาสนสถานแห่งนี้ โดยภายในพระวิหารของวัดพระธาตุเชิงชุมเป็นที่ประดิษฐานของหลวงพ่อ
พระองค์แสน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะแบบเชียงแสน เป็นพระพุทธรูป และเป็นปูชนียสถานสาคัญ
คู่บ้านคู่เมืองของชาวสกลนครมาแต่โบราณ
รวมทั้งเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดสกลนคร ซึ่งทุกวันพระในตอนค่าจะมีประชาชนไปสักการะ
พระธาตุและหลวงพ่อพระองค์แสนมาก โดยงานประจาปีของพระธาตุเชิงชุมจะเริ่มตั้งแต่วันขึ้น 9 ค่า ถึงวัน
ขึ้น 15 ค่า เดือนยี่ (2) ของทุกปี (กาหนดตามจันทรคติ) พระธาตุเชิงชุมซึ่งถือเป็นศาสนสถานที่สาคัญสาหรับ
สักการะและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 5 สตางค์
ด้านหลังของเหรียญกษาปณ์ เป็นภาพพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นพระสถูปเจดีย์ที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและใหญ่ที่สุดในโลก มีอายุมากกว่า 2,000 ปี สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
แห่งประเทศอินเดียยุคโบราณ ได้จัดส่งพระสมณฑูตมาประกาศพระศาสนาในแถบสุวรรณภูมิ และได้สร้างพระ
สถูปเจดีย์ไว้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุเป็นหลักฐาน
ต่อมาในช่วงสมัยรัชกาลที่ 4 ปี 1853 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระเจดีย์องค์ใหม่ครอบพระเจดีย์องค์เดิม
ซึ่งมีรูปทรงระฆัง หรือบาตรคว่า มีความสูง 39 เมตร มีลักษณะคล้ายกับสาญจีเจดีย์ในประเทศอินเดียที่สร้างขึ้นใน
สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
ทั้งนี้การก่อสร้างพระเจดีย์ครอบองค์ใหม่ได้แล้วเสร็จในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 รวมเวลาก่อสร้าง 17 ปี ซึ่งพระเจดีย์องค์
ใหม่มีลักษณะทรงกลมรูปทรงระฆัง (แบบลังกา) มีความสูงโดยวัดจากพื้นดินถึงยอดประมาณ 120.45 เมตร และฐาน
วัดโดยรอบรวมประมาณ 233.50 เมตร ภายในพระเจดีย์เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์วัดพระปฐมเจดีย์ เป็นวัดประจารัชกาล
ภายในพระปฐมเจดีย์ได้ประดิษฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์ฯ อยู่ในซุ้มวิหารตั้งอยู่ทางด้านเหนือและด้านหน้าพระปฐม
เจดีย์ โดยภายในฐานของพระพุทธรูปองค์นี้เป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของรัชกาลที่ 6 ดังนั้น พระปฐมเจดีย์จึงถือเป็นปู
ชนียสถานที่สาคัญของไทย
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 1 สตางค์
ด้านหนึ่งของเหรียญกษาปณ์ เป็นภาพพระธาตุหริภุญไชย วัดพระธาตุหริภุญไชย จังหวัดลาพูน เป็นพระอาราม
หลวง ชั้นเอก ซึ่งตามพงศาวดารโยนกได้กล่าวว่าวัดพระธาตุหริภุญไชย สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอาทิตยราชกษัตริย์
นครหริภุญชัยองค์ที่ 33 นับจากพระนางจามเทวี ผู้ครองนครลาพูน ภายในวัดได้สร้างเจดีย์ที่สาคัญเรียกว่า พระ
บรมธาตุหริภุญไชย (คาว่า หริ แปลว่า ผลสมอ และภุญชัย แปลว่า เสวย)
ตามตานานกล่าวว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จมาประทับตรงที่สร้างพระเจดีย์ และเสวยผลสมอ เพื่อรักษาพระอุทร
หลังจากเสวยแล้วได้ทรงทิ้งผลสมอไว้ตรงนั้น กาลต่อมาเมล็ดสมอได้เจริญเติบโต พระราชาธิบดีจึงสร้างพระเจดีย์
เพื่อบรรจุพระเกศบรมธาตุของพระพุทธเจ้า โดยเจดีย์มีลักษณะทรงลังกา ใช้ศิลาแลงในการก่อสร้าง มีขนาดความ
สูง 51 เมตร ฐานกว้าง 25.25 เมตร มีสัตติบัญชร (ระเบียงหอก) มีลักษณะใกล้เคียงกับพระธาตุดอยสุเทพ ดังนั้น พระ
ธาตุหริภุญไชยเป็นปูชนียสถานที่สาคัญทางภาคเหนืออีกแห่งที่ชาวไทยและต่างประเทศไปสักการะและเยี่ยมชม
ความงดงามของศิลปะแบบล้านนา

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 

เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนปัจจุบัน

  • 1. เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนปัจจุบัน เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนเป็นเหรียญที่ผลิตเพื่อนาออกใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจซึ่งต้องดาเนินการผลิต อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีปริมาณเพียงพอสาหรับความต้องการใช้ในตลาดการค้าโดยมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและ ลวดลายไปตามยุคสมัยเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนที่ผลิตในปัจจุบันมี 9 ชนิดราคา คือ 1 สตางค์ 5 สตางค์ 10 สตางค์ 25 สตางค์ 25 สตางค์ 1 บาท 2 บาท 5 บาท และ 10 บาท แต่ที่ใช้หมุนเวียนในชีวิตประจาวันมีเพียง 5 ชนิด ราคา คือ ตั้งแต่ชนิดราคา 25 สตางค์ ถึงชนิดราคา 10 บาท ส่วนเหรียญชนิดราคา 1 สตางค์ 5 สตางค์ และ 10 สตางค์ ไม่ได้นาออกใช้โดยทั่วไป แต่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ในระบบบัญชีเท่านั้น
  • 2.
  • 3. เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 10 บาท ด้านหลังของเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดนี้ เป็นภาพพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ตั้งอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยาฝั่ง ตะวันตก เป็นวัดประจารัชกาลที่2พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โดยกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้น ทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 วัดอรุณราชวราราม ได้สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรี อยุธยา เดิมชื่อ “วัดมะกอก” ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้เสด็จพร้อมด้วยไพร่พลโดยทางชลมารค และถึงหน้าวัด แห่งนี้เมื่อยามใกล้รุ่ง จึงเสด็จพระราชดาเนินขึ้นประทับแรมที่ศาลาการเปรียญของวัด เมื่อพระองค์ทรง ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงธนบุรีแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์และเปลี่ยน ชื่อวัดใหม่เป็น “วัดแจ้ง” ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังใหม่ข้างวัดแจ้ง ทาให้วัดแจ้ง กลายเป็นวัดในพระราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งไม่มีพระสงฆ์จาพรรษา ในสมัยรัชกาลที่1พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระ นครใหม่อยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา วัดแจ้งจึงกลายเป็นวัดนอกพระราชวังและให้มีพระสงฆ์จา พรรษาได้ ในสมัยรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระ อุโบสถ พระวิหารต่อจนสาเร็จ และพระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” และที่สาคัญทรงให้ก่อเสริม พระปรางค์ เพื่อให้เป็นพระมหาธาตุเจดีย์ประจากรุงรัตนโกสินทร์ แต่ทาได้เพียงขุดฐานรากไว้ พระองค์เสด็จ สวรรคตก่อน ต่อมาช่วงสมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างพระ ปรางค์ตามแบบที่รัชกาลที่ 2 ทรงมีพระราชดาริขึ้นจนสาเร็จ เรียกกันว่า “พระปรางค์วัดอรุณ” มีความสูง 66.7754
  • 4. เมตร ล้อมรอบด้วยปรางค์ทิศและมณฑปทิศ องค์ปรางค์ก่อด้วยอิฐถือปูนประดับด้วยชิ้นกระเบื้องเคลือบสีต่างๆ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างและปฏิสังขรณ์เพิ่มเติม เช่น บุษบก ยอดพระปรางค์ และพระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม” จะเห็นได้ว่าพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม มีความสวยงาม และโดดเด่นบริเวณริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยาทั้งเวลากลางวันและกลางคืน เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 5 บาท ด้านหลังของเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดนี้ เป็นภาพพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ซึ่งเป็นวัด ประจาของรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยสันนิษฐานว่าเป็นวัดสร้างมาก่อนตั้งกรุง รัตนโกสินทร์ ชื่อวัดแหลมหรือวัดไทรทอง (มีต้นไทรทองอยู่ภายในวัด) ต่อมาในรัชกาลที่ 2 ได้เกิดกบฎเจ้าอนุวงศ์ แห่งนครเวียงจันทน์ คิดจะตั้งตัวเป็นอิสระ ซึ่งแม่ทัพของไทยที่เป็นผู้รักษาพระนครในขณะนั้นคือ พระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ พระราชโอรสในรัชกาลที่ 2 ทรงตั้งกองบัญชาการรบอยู่ที่วัดแห่งนี้ โดยกองทัพของ เจ้าอนุวงศ์ได้พ่ายแพ้ก่อนที่จะยกกองทัพมาถึงพระนคร ทาให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ มี ความศรัทธาและได้ปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้พระราชทานนามวัดแห่งนี้ใหม่ว่า “วัดเบญจมบพิตร” และในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชดาริที่จะขยายพระนคร และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชฐานที่ประทับแห่งใหม่ คือ พระราชวังดุสิต (บริเวณพระที่นั่งอัมพรสถาน พระที่นั่งวิมานเมฆ พระที่นั่งอภิเษกดุสิต เป็นต้น) โดยบริเวณ
  • 5. ดังกล่าวเป็นพื้นที่ของวัดร้าง 2 แห่ง คือ วัดดุสิตและวัดปากคลอง ซึ่งตามประเพณีเดิมจะต้องสร้างวัดขึ้นทดแทน แต่พระองค์ทรงเลือกสถาปนาวัดเบญจมบพิตรแทน และมีพระราชดาริที่จะสถาปนาขึ้นเป็นวัดใหญ่ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็น ผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างวัดเบญจมบพิตร โดยออกแบบให้พระอุโบสถของวัดประดับด้วยหินอ่อนจาก อิตาลีทั้งหลัง เป็นอาคารทรงจตุรมุข มีมุขเด็จยื่นออกมาทั้งด้านหน้าและด้านหลัง หลังคาซ้อนกัน 5 ชั้น ภายใน พระอุโบสถได้ประดิษฐานพระพุทธชินราชจาลอง ซึ่งพระองค์ทรงเติมสร้อยของพระนามวัดเป็น “วัดเบญจมบพิตร ดุสิตวนาราม” เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 2 บาท ในปี พ.ศ.2548 กระทรวงการคลังได้อนุมัติให้กรมธนารักษ์ออกใช้เหรียญกษาปณ์หมุนเวียน ชนิดราคา 2 บาท เพิ่มขึ้นอีก 1 ชนิดราคา ด้านหลังของเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 2 บาท เป็นภาพของพระบรมบรรพต วัด สระเกศราชวรมหาวิหาร สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อว่า “วัดสะแก” ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุด คลองรอบเมือง คลองหลอด และคลองมหานาค ซึ่งอยู่เหนือวัดสะแก และพระราชทานเปลี่ยนนามวัดใหม่ว่า “วัด สระเกศ” และเริ่มก่อสร้างพระเจดีย์ของวัดสระเกศในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยพระราชทานนามว่า “พระเจดีย์ภูเขา ทอง” และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค) เป็นแม่กองในการก่อสร้าง พระเจดีย์ภูเขาทอง แต่การก่อสร้างครั้งนี้ไม่ประสบความสาเร็จ เนื่องจากที่ดินบริเวณดังกล่าวเป็นที่ลุ่มดินอ่อน ทา ให้ทานน้าหนักพระเจดีย์ไม่ไหวและทรุดพังลงมา จึงได้หยุดการก่อสร้างพระเจดีย์ภูเขาทอง
  • 6. ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) เป็นแม่กองสร้างพระเจดีย์ ภูเขาทองที่ค้างอยู่ และทรงวางศิลาฤกษ์พระเจดีย์ภูเขาทองเมื่อเดือน 6 ปีฉลู พ.ศ. 2408 โดยพระราชทานนามใหม่ ว่า “บรมบรรพต” ซึ่งได้ดาเนินสร้างต่อเนื่องมาจนสาเร็จในสมัยรัชกาลที่ 5 พร้อมทั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ตัดถนน ถมคลองหน้าวัด และทาสะพานข้ามคลอง เพื่อให้มีความสะดวกต่อการเข้าชมบรมบรรพต หรือ “ภูเขา ทอง” เนื่องด้วยสร้างเป็นรูปภูเขา มีลักษณะเป็นเจดีย์อยู่บนยอด ฐานของบรมบรรพตวัดได้ 330 เมตร ส่วนสูง 79 เมตร มีบันไดเวียนเป็นทางขึ้น 2 ทาง เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 1 บาท ด้านหลังเป็นภาพพระศรีรัตนเจดีย์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือ วัดพระแก้ว รัชกาล ที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2325 พร้อมกับการสร้างพระบรมมหาราชวังและกรุง รัตนโกสินทร์ สืบตามราชประเพณีการสร้างพระอารามในพระราชฐานสมัยกรุงศรีอยุธยา และทรงมีพระราช ประสงค์ให้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร โดยรัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัด พระศรีรัตนศาสดารามพร้อมๆ กับการสร้างพระราชมณเฑียรและป้อมปราการในพระบรมมหาราชวัง
  • 7. ทั้งนี้ การสร้างสิ่งก่อสร้างในพระบรมมหาราชวังระยะแรกสร้างด้วยไม้ ยกเว้นการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดารามที่ เป็นแบบการก่ออิฐถือปูน ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ.2327 วัดพระศรีรัตนศาสดารามประกอบด้วย พระอุโบสถ พระระเบียงรอบวัดหอมณเฑียรธรรม หอระฆัง ศาลาราย จานวน 12 หลัง นอกจากนี้ยังมีพระเจดีย์ทอง เรียกว่า พระศรีรัตนเจดีย์ ซึ่งรัชกาลที่ ๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๓๙๘ เป็นเจดีย์ทรงกลมแบบลังกา มีรอบฐานเจดีย์ ยาว ๕๕.๕๕ เมตร เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้ รับมาจากลังกา โดยจาลองจากเจดีย์ตามแบบพระมหาสถูปเจดีย์ในวัดพระศรีสรรเพชญ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จาพรรษา เนื่องจากเป็นวัดที่สร้างขึ้นใน พระบรมมหาราชวัง เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 50 สตางค์ ด้านหลังเป็นภาพพระเจดีย์พระธาตุดอยสุเทพ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร จังหวัด เชียงใหม่ ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ตาบลสุเทพ อาเภอเมืองเชียงใหม่ ชาวบ้านเรียกว่า วัดดอยสุ เทพ หรือ วัดดอย ซึ่งตามตานานกล่าวว่า ก่อนปี พ.ศ.1929 พระเจ้ากือนามหาราช เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ได้สร้าง พระเจดีย์ มีความสูง 10 เมตร อยู่บนดอยสุเทพ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ต่อมาในสมัยพระเมืองเกษเกล้าเจ้า นครเมืองเชียงใหม่ โดยในพ.ศ. 2068 ได้ก่อสร้างพระเจดีย์เพิ่มเติมให้มีขนาดใหญ่ขึ้น คือ มีฐานกว้าง 12 เมตร สูง 22 เมตร
  • 8. ต่อมาในพ.ศ.2088 สมัยท้าวชายคาพระราชโอรสพระเมืองเกษเกล้า ได้สร้างวิหารด้านหน้าและด้านหลัง พร้อม ระเบียงรอบ พระเจดีย์ 4 ด้าน และเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง แต่ยังไม่มีฐานะเป็นวัด เป็นเพียงปูชนียสถาน ต่อมา พ.ศ.2494 ได้มีการสร้างพระอุโบสถขึ้น จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นวัดในเวลาต่อมา และพ.ศ.2504 รัฐบาลได้ สร้างพระตาหนักภูพิงคราชนิเวศน์บนยอดเขาตาบลสุเทพ ทาให้วัดพระธาตุดอยสุเทพได้รับการปฏิสังขรณ์และ ก่อสร้างเพิ่มเติม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง ชั้นโท ตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม 2505 เป็นต้นมา ถือเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองและเป็น สัญลักษณ์ของจังหวัดเชียงใหม่ เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 25 สตางค์ ด้านหลังเป็นสัญลักษณ์ของวัดมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช จากตานานเมืองนครศรีธรรมราช กล่าวว่า พระบรมธาตุเจดีย์สร้างโดยพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชในปี 1098 เพื่อเป็นที่ประดิษฐานองค์พระบรมธาตุ เจดีย์ ซึ่งสร้างขึ้นในระยะเวลาใกล้เคียงกับการสร้างอาณาจักรศรีวิชัย โดยลักษณะของพระบรมธาตุเจดีย์เป็น รูปทรงระฆังค่า ปากระฆังติดกับพื้นกาแพงแก้ว มีความสูงจากพื้นถึงยอดสูง 154 เมตร ฐานมีเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 1.5 เมตร ยอดหุ้มด้วยทองคาหนัก 800 ชั่ง มีปล้องไฉน 52 ปล้อง เดิมวัดแห่งนี้ไม่มีภิกษุจาพรรษา เนื่องจากเป็นเขตพุทธาวาส ต่อมาในสมัยสุโขทัย พ่อขุนรามคาแหงทรงโปรดเกล้า ฯ ให้นาทองแดงหล่อปิดทองยอดพระบรมธาตุ และสร้างพระระเบียงโดยรอบทั้งหมด 165 ห้อง พระพุทธรูป 165 องค์ และสร้างกาแพง 4 ด้าน
  • 9. ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ระหว่างปี 2437-2441 โดยพระครู เทพมุนีศรีสุวรรณถูปฎมาภิบาล (ปาน) และได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์อีกหลายครั้งในเวลาถัดมา ในสมัยรัชกาล ที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดาเนินเสด็จประพาสเมืองนครศรีธรรมราช ทรงมี พระราชดาริเห็นสมควรให้พระสงฆ์มาดูแลวัดมหาธาตุ จึงรับสั่งให้สมเด็จพระบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ายุคลทิฆัมธร กรม หลวงลพบุรีราเมศร์ ซึ่งขณะนั้นทรงดารงตาแหน่งอุปราชมณฑลปักษ์ใต้ ให้นิมนต์พระครูวินัยธร (นุ่น) มาปกครอง วัด เพื่อให้พระภิกษุอยู่จาพรรษา วัดมหาธาตุวรมหาวิหารเป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองของชาวนครศรีธรรมราช และเป็นศา สนสถานที่สาคัญสาหรับสักการะและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวภาคใต้ เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 10 สตางค์ ด้านหลังของเหรียญกษาปณ์ เป็นรูปพระเจดีย์พระธาตุเชิงชุม ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดพระธาตุเชิงชุม จังหวัด สกลนคร สร้างขึ้นในสมัยใดไม่เป็นที่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด พระเจดีย์พระธาตุเชิงชุม มีลักษณะก่ออิฐถือปูน มีฐาน เป็นรูปสี่เหลี่ยม ส่วนบนเป็นทรงบัวเหลี่ยม มีรูปทรงเพรียว ไม่มีลวดลายประดับที่องค์เจดีย์ เพียงแต่ฉาบปูนเรียบที่ ฐานพระเจดีย์ มีประตูทั้งสี่ด้าน โดยซุ้มประตูมีลักษณะเป็นยอดปราสาท ประตูด้านทิศตะวันออกที่ต่อกับพระ วิหาร เปิดให้เห็นภายในขององค์พระธาตุ ที่สร้างครอบปราสาทแบบขอมขนาดเล็กที่ก่อด้วยศิลาแลง โดยมีกรอบ ประตูทางเข้าเป็นหินทราย ส่วนหลืบประตูทางทิศเหนือ มีจารึกอักษรขอม อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 กล่าวถึงการถวายที่ดิน ข้าทาส และ สิ่งของต่างๆ ให้แก่ ศาสนสถานแห่งนี้ โดยภายในพระวิหารของวัดพระธาตุเชิงชุมเป็นที่ประดิษฐานของหลวงพ่อ พระองค์แสน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะแบบเชียงแสน เป็นพระพุทธรูป และเป็นปูชนียสถานสาคัญ คู่บ้านคู่เมืองของชาวสกลนครมาแต่โบราณ
  • 10. รวมทั้งเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดสกลนคร ซึ่งทุกวันพระในตอนค่าจะมีประชาชนไปสักการะ พระธาตุและหลวงพ่อพระองค์แสนมาก โดยงานประจาปีของพระธาตุเชิงชุมจะเริ่มตั้งแต่วันขึ้น 9 ค่า ถึงวัน ขึ้น 15 ค่า เดือนยี่ (2) ของทุกปี (กาหนดตามจันทรคติ) พระธาตุเชิงชุมซึ่งถือเป็นศาสนสถานที่สาคัญสาหรับ สักการะและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 5 สตางค์ ด้านหลังของเหรียญกษาปณ์ เป็นภาพพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นพระสถูปเจดีย์ที่มี ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและใหญ่ที่สุดในโลก มีอายุมากกว่า 2,000 ปี สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช แห่งประเทศอินเดียยุคโบราณ ได้จัดส่งพระสมณฑูตมาประกาศพระศาสนาในแถบสุวรรณภูมิ และได้สร้างพระ สถูปเจดีย์ไว้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุเป็นหลักฐาน ต่อมาในช่วงสมัยรัชกาลที่ 4 ปี 1853 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระเจดีย์องค์ใหม่ครอบพระเจดีย์องค์เดิม ซึ่งมีรูปทรงระฆัง หรือบาตรคว่า มีความสูง 39 เมตร มีลักษณะคล้ายกับสาญจีเจดีย์ในประเทศอินเดียที่สร้างขึ้นใน สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
  • 11. ทั้งนี้การก่อสร้างพระเจดีย์ครอบองค์ใหม่ได้แล้วเสร็จในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 รวมเวลาก่อสร้าง 17 ปี ซึ่งพระเจดีย์องค์ ใหม่มีลักษณะทรงกลมรูปทรงระฆัง (แบบลังกา) มีความสูงโดยวัดจากพื้นดินถึงยอดประมาณ 120.45 เมตร และฐาน วัดโดยรอบรวมประมาณ 233.50 เมตร ภายในพระเจดีย์เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์วัดพระปฐมเจดีย์ เป็นวัดประจารัชกาล ภายในพระปฐมเจดีย์ได้ประดิษฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์ฯ อยู่ในซุ้มวิหารตั้งอยู่ทางด้านเหนือและด้านหน้าพระปฐม เจดีย์ โดยภายในฐานของพระพุทธรูปองค์นี้เป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของรัชกาลที่ 6 ดังนั้น พระปฐมเจดีย์จึงถือเป็นปู ชนียสถานที่สาคัญของไทย เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชนิดราคา 1 สตางค์ ด้านหนึ่งของเหรียญกษาปณ์ เป็นภาพพระธาตุหริภุญไชย วัดพระธาตุหริภุญไชย จังหวัดลาพูน เป็นพระอาราม หลวง ชั้นเอก ซึ่งตามพงศาวดารโยนกได้กล่าวว่าวัดพระธาตุหริภุญไชย สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอาทิตยราชกษัตริย์ นครหริภุญชัยองค์ที่ 33 นับจากพระนางจามเทวี ผู้ครองนครลาพูน ภายในวัดได้สร้างเจดีย์ที่สาคัญเรียกว่า พระ บรมธาตุหริภุญไชย (คาว่า หริ แปลว่า ผลสมอ และภุญชัย แปลว่า เสวย) ตามตานานกล่าวว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จมาประทับตรงที่สร้างพระเจดีย์ และเสวยผลสมอ เพื่อรักษาพระอุทร หลังจากเสวยแล้วได้ทรงทิ้งผลสมอไว้ตรงนั้น กาลต่อมาเมล็ดสมอได้เจริญเติบโต พระราชาธิบดีจึงสร้างพระเจดีย์ เพื่อบรรจุพระเกศบรมธาตุของพระพุทธเจ้า โดยเจดีย์มีลักษณะทรงลังกา ใช้ศิลาแลงในการก่อสร้าง มีขนาดความ สูง 51 เมตร ฐานกว้าง 25.25 เมตร มีสัตติบัญชร (ระเบียงหอก) มีลักษณะใกล้เคียงกับพระธาตุดอยสุเทพ ดังนั้น พระ ธาตุหริภุญไชยเป็นปูชนียสถานที่สาคัญทางภาคเหนืออีกแห่งที่ชาวไทยและต่างประเทศไปสักการะและเยี่ยมชม ความงดงามของศิลปะแบบล้านนา