SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
คัมภีร์นาฏยศาสตร์ถือว่าเป็นคัมภีร์ที่มีอิทธิพลต่อนาฏศิลป์และการ
ละครไทยที่สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน
๑.ตารานาฏยศาสตร์แต่งโดยท่านภรตมุนี เมื่อประมาณ ค.ศ. ๓๐๐
๒.กาลิทาส กวีเอกของอินเดีย ได้เขียนในงานประพันธ์ของตน ซึ่งได้
กล่าวถึงตารานาฏยศาสตร์ไว้หลายบทหลายตอน
ตามตารานาฏศาสตร์กล่าวไว้ว่ามีการสร้างโรงละคร ๓ แบบ คือ
๑. ขนาดเล็ก เป็นรูปสามเหลี่ยม ๓๒ ศอก (โรงละครสามัญชน)
๒. ขนาดกลาง เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ๓๖ ศอก (โรงละครกษัตริย์)
๓. ขนาดใหญ่ เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ๑๐๘ ศอก (โรงละครเทวดา)
ก่อนการแสดงตามตารานาฏศาสตร์ต้องมีการบูชาพระอินทร์ให้ปกป้อง
ภัยอันตรายแก่ผู้แสดง
ตามตารานาฏยศาสตร์กล่าวไว้ว่า ต้องเลือกที่สร้างโรงละครให้
เหมาะสม สะอาด ไม่มีเศษไม้ กระดูกหลักตอ กอหญ้าในพื้นที่
ประพรมน้ามนต์ ขึงเชือกหรือด้ายดิบที่แข็งแรงไม่ขาดง่าย เพราะถ้า
เชือกขึงพื้นที่ทาโรงละครขาดจะเกิดอาเพศ
ไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรยืนยันได้ว่า พราหมณ์ได้นาตารา
นาฏยศาสตร์ของอินเดียมาใช้สอนในประเทศไทยเมื่อใด แต่อย่าง
น้อยเราก็ยังมีหลักฐานเป็นภาพปูนปั้น และลวดลายบน
เครื่องปั้นดินเผา เป็นรูปคนเล่นดนตรีและฟ้ อนรา กาหนดอายุได้ถึง
สมัยทวารวดี ซึ่งค้นพบที่ตาบลคู่บัว จังหวัดราชบุรี จากการศึกษา
พบว่า ท่าราบางรูปคล้ายท่ารากรณะ ๑๐๘ ท่า ในคัมภีร์นาฏยศาสตร์
ของอินเดีย
โขน หมายถึง การแสดงท่าทางการรา เต้นออกท่าทางเข้ากับดนตรี
ประกอบด้วยตัวละครที่เป็นยักษ์ ลิง มนุษย์ และเทวดา ผู้แสดงจะ
สวมหัวโขนไม่บทร้องและพูด ใช้วิธีการพากย์เป็นสาคัญ อาจมีการรา
ประกอบบทร้องบ้าง มีหลักฐานเป็นภาพจาหลักผนัง ที่ปราสาทนคร
วัด สมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๒ ของเขมร (พ.ศ.๑๖๕๖) ปรากฏให้
เห็นว่าเป็นการจัดการแสดงโขนโรงใหญ่ ตอนชักนาคหรือการกวนน้า
อมฤต หรือกวนเกษียรสมุทร ซึ่งจัดว่าเป็นหลักฐานโขนชุดที่เก่าแก่
ที่สุด
ประเภทการแสดง ที่มา ดนตรี เพลงร้อง สถานที่แสดง เรื่องที่แสดง
๑.โขนกลางแปลง สันนิษฐานว่ามีมา
ตั้งแต่สมัยกรุงศรี
อยุธยา แสดงในสมัย
รัชกาลที่ ๑ ประมาณปี
พ.ศ. ๒๓๓๙
ใช้วงปี่พาทย์
เครื่องห้า
๑.ไม่มีบทขับร้อง
๒.มีแต่การพากย์
เจรจา
๓.บรรเลงเพลงหนัง
พาทย์
นิยมแสดงกลางแจ้ง ไม่มี
เวที
แสดงเรื่องรามเกียรติ์
ตอนที่นิยมแสดงมักเป็น
ตอนยกทัพเพราะต้องใช้
ผู้แสดงจานวนมาก
๒.โขนโรงนอก บางครั้งเรียกว่า “โขน
นอนโรง” เพราะ
แสดง๒ วัน โดยแรก
แสดงโหมโรงแล้วจับ
เรื่อง
ใช้วงปี่พาทย์
เครื่องห้า
๑.ไม่มีบทขับร้อง
๒.มีแต่การพากย์
เจรจา
๓.บรรเลงเพลงหนัง
พาทย์
๑.แสดงบนเวที
๒.ไม่มีเตียงสาหรับผู้
แสดง
๓.ใช้ราวไม้พาดตามแนว
ยาวของเวทีแทนเตียง ผู้
แสดงเดินได้รอบราว
แสดงเรื่องรามเกียร์
๓.โขนหน้าจอ วิวัตนาการมาจากการ
แสดงหนังใหญ่ ต่อมา
ใช้ตัวโขนสลับกับการ
เชิดหนังใหญ่ที่เรียกว่า
หนังติดตัวโขน เมื่อ
ความนิยมเรื่องหนัง
ใหญ่ลดลงจึงนิยม
แสดงเฉพาะโขนชนิด
นี้
ใช้วงปี่พาทย์
เครื่องห้า
๑.ไม่มีบทขับร้อง
๒.มีแต่การพากย์และ
การเจรจา
๓.บรรเลงเพลงหน้า
พาทย์
๑.แสดงบนเวที
๒.ด้านหลังเวทีเป็น
ลักษณะจอหนังใหญ่
๓.ด้านล่างของจอหนัง
ใหญ่จะเจอะเป็นตาข่าย
เพื่อให้นักดนตรีเห็นผู้
แสดงขณะที่แสดงขณะที่
แสดงโดยตั้งวงอยู่
ด้านหลังที่เจาะ
แสดงเรื่องรามเกียรติ์
ประเภทการ
แสดง
ที่มา ดนตรี เพลงร้อง สถานที่แสดง เรื่องที่แสดง
๔.โขนโรงใน วิวัฒนาการมาจาก
การแสดงละครใน
เข้ามาผสมผสานกัน
ใช้วงปี่พาทย์
เครื่องห้า
๑.มีบทขับร้อง
๒.มีแต่การพากย์
เจรจา
๓.บรรเลงเพลงหนัง
พาทย์
บนเวทีทั่วไปหรืออาจ
แสดงบนเวทีโขน
หน้าจอก็ได้เพียงแต่
วิธีการแสดงเป็นโขน
โรงในอย่างที่เห็นใน
ปัจจุบัน
แสดงเรื่องรามเกียรติ์
๕.โขนฉาก วิวัฒนาการมาจาก
การนาเรื่องราวจัด
ฉากเข้ามาผสมใน
การแสดงโขนโดน
นาเทคนิคการจัด
ฉากมาจากการแสดง
ละครดึกดาบรรพืใน
สมัยรัชการที่๕ส่วน
วิธีการแสดงมีรุป
แบบคล้ายโขนโรง
ใน
ใช้วงปี่พาทย์
เครื่องห้า
๑.มีบทขับร้อง
๒.มีแต่การพากย์
เจรจา
๓.บรรเลงเพลงหนัง
พาทย์
บนเวทีมีการจัดฉาก
ประกอบการแสดงโขน
แต่ละตอนด้วย
แสดงเรื่องรามเกียรตื
ละคร เป็นวรรณกรรมรูปแบบหนึ่งที่แสดงออกซึ่งอารมณ์และความรู้สึก
ของมนุษย์ โดยการสร้างตัวแสดงและสถานการณ์ขึ้น เพื่อให้ตัวละครแสดงไป
ตามอารมณ์ ตามสถานการณ์ ก่อให้เกิดเหตุการณ์สอดคล้องต่อเนื่องเป็น
เรื่องราว
การละครไทยมีการพัฒนาการสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ แม้ว่าการ
แสดงออกในละครจะรับแบบแผนอิทธิพลมาจากชาติอื่นๆก็ตาม แต่ไทยเราได้
นามาดัดแปลง ปรับปรุงจนเป็นรูปลักษณะของละครไทยดังที่เห็นในปัจจุบัน
ละครแบ่งออกตามยุคสมัยได้ ดังนี้
๑.สมัยน่านเจ้า เป็นละครเรื่องมโนราห์ ซึ่งมีอิทธิพลละครแบบจีนตอนใต้ใน
อาณาจักรน่านเจ้า
๒.สมัยสุโขทัย ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับละครมากนัก มีเพียงการกาหนดแบบแผน
แห่งศิลปะการแสดงไว้ ๓ ชนิดคือ โขน ละคร และฟ้ อนรา
๓.สมัยอยุธยา มีการจัดระเบียบแบบแผนการละครชัดเจนขึ้น มีการแสดงละคร
ชาตรี ละครนอก ละครใน โดยการรับผสมผสานวัฒนธรรมละคร ๒ สาย
๔.สมัยธนบุรี การละครซบเซาเป็นผลมาจากสงครามแต่ในตอนปลายสมัยเมื่อ
พระเจ้ากรุงธนบุรีทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์
๕.สมัยรัตนโกสินทร์
๕.๑ รัชกาลที่ ๑ มีบทละครสาคัญ ๔ เรื่อง คือ เรื่องอุณรุท รามเกียรติ์ ดาหลัง และ
อิเหนา
๕.๒ รัชกาลที่ ๒ มีบทละครสาคัญๆ ดังนี้
๑) เรื่องอิเหนา
๒) เรื่องรามเกียรติ์
๓) เรื่องไกรทอง
๔) เรื่องคาวี
๕) เรื่องไชยเชษฐ์
๖) เรื่องสังข์ทอง
๗) เรื่องมณีพิชัย
๕.๓ รัชกาลที่ ๓ ยุคละครซบเซาเนื่องจากขาดการสนับสนุน
๕.๔ รัชกาลที่ ๔ มีการฟื้ นฟูละครหลวงขึ้นอีกครั้ง ออกประกาศให้ความสาคัญกับ
ละครอย่างเกิดละครประเภทต่างๆ ขึ้นมากมาย เช่น
๑) ละครพันทาง
๒) ละครดึกดาบรรพ์
๓) ละครร้อง
๔) ละครพูด
๕) ละครเสภา
๕.๖ รัชกาลที่ ๖ เป็นสมัยที่การละครเจริญรุ่งเรืองมากถึงขีดสุด เป็นยุคทองแห่ง
การละครไทย ทรงพระราชนิพนธ์บทละครไว้เป็นจานวนมาก
๕.๗ รัชกาลที่ ๗ ถึงปัจจุบัน ช่วงแรกเป็นยุคสงครามโลก การละครซบเซาจน
ต่อมาได้พัฒนาการละครสู่สากล
รา หมายถึง การแสดงที่มุ่งความงามของการร่ายรา เช่น ราเดี่ยว ราคู่ ราหมู่
ราอาวุธ ราทาบทหรือราใช้บท
ระบา หมายถึง ศิลปะของการร่ายราที่แสดงพร้อมกันเป็นหมู่เป็นชุด ไม่ดาเนิน
เป็นเรื่องราว
การแสดงการราและระบามีจุดมุ่งหมาย ดังนี้
๑. แสดงเบิกโรงก่อนเริ่มทาการแสดงจริง
๒. แสดงเป็นชุดเบ็ดเตล็ดประกอบในการแสดงละคร
๓. แสดงคั่นเวลาในการเปลี่ยนเครื่องแต่งกายหรือจัดฉาก
๔. แสดงความสามารถในศิลปะการราของผู้ราและผู้ฝึกซ้อมให้ปรากฏต่อสายตา
ผู้ชม
การราตามลักษณะของการแสดงละคร โขน เช่น
๑.การราหน้าพาทย์ คือ การราตามทานองเพลงดนตรีปี่พาทย์ โดยผู้แสดง
จะต้องเต้น หรือราไปตามจังหวะและทานองเพลงที่บัญญัติไว้โดยเฉพาะ
๒. การราบท เป็นการแสดงท่าทางแทนคาพูด ให้มีความหมายต่างๆ รวมทั้ง
การแสดงลักษณะอารมณ์ด้วยในการแสดงท่าทางคาพูด
การราจะแบ่งตามลักษณะที่จัดแสดง ดังนี้
๑. ราเดี่ยว เป็นการแสดงราคนเดียว
๒. ราคู่ เป็นการแสดงราที่ใช้ผู้แสดง ๒ คน
๓. ราหมู่ เป็นการแสดงราที่ใช้แสดงมากกว่า ๒ คนขึ้นไป
ระบาของนาฏศิลป์ไทยแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
๑. ระบามาตรฐาน เป็นระบาแบบดั้งเดิมที่มีแต่โบราณ ไม่สามารถนามา
เปลี่ยนแปลงท่าราใหม่ได้
๒. ระบาที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เป็นการจัดทาหรือปรับปรุงประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดย
คานึงถึงความเหมาะสมของผู้แสดงและนาไปใช้ในโอกาสต่างๆ
ระบาปรับปรุงขึ้นใหม่เหล่านี้ ลักษณะท่าทางในการราจะไม่ตายตัว จะมี
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม เหตุการณ์
ตัวบุคคลและฝีมือ ความสามารถของผู้สอนระบา รวมทั้งฝีมือของผู้แสดงทุก
คน
การละเล่นเป็นคาเกิดใหม่ แผลงมาจากคาว่า “เล่น”
การละเล่น หมายถึง การเล่นดนตรี การเล่นเพลง การเล่นรา การราที่ต้อง
ร่วมกันตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป แบบมหรสพหรือศิลปะการแสดง

More Related Content

Featured

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 

Featured (20)

Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. คัมภีร์นาฏยศาสตร์ถือว่าเป็นคัมภีร์ที่มีอิทธิพลต่อนาฏศิลป์และการ ละครไทยที่สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน ๑.ตารานาฏยศาสตร์แต่งโดยท่านภรตมุนี เมื่อประมาณ ค.ศ. ๓๐๐ ๒.กาลิทาส กวีเอกของอินเดีย ได้เขียนในงานประพันธ์ของตน ซึ่งได้ กล่าวถึงตารานาฏยศาสตร์ไว้หลายบทหลายตอน
  • 7. ตามตารานาฏศาสตร์กล่าวไว้ว่ามีการสร้างโรงละคร ๓ แบบ คือ ๑. ขนาดเล็ก เป็นรูปสามเหลี่ยม ๓๒ ศอก (โรงละครสามัญชน) ๒. ขนาดกลาง เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ๓๖ ศอก (โรงละครกษัตริย์) ๓. ขนาดใหญ่ เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ๑๐๘ ศอก (โรงละครเทวดา) ก่อนการแสดงตามตารานาฏศาสตร์ต้องมีการบูชาพระอินทร์ให้ปกป้อง ภัยอันตรายแก่ผู้แสดง
  • 8. ตามตารานาฏยศาสตร์กล่าวไว้ว่า ต้องเลือกที่สร้างโรงละครให้ เหมาะสม สะอาด ไม่มีเศษไม้ กระดูกหลักตอ กอหญ้าในพื้นที่ ประพรมน้ามนต์ ขึงเชือกหรือด้ายดิบที่แข็งแรงไม่ขาดง่าย เพราะถ้า เชือกขึงพื้นที่ทาโรงละครขาดจะเกิดอาเพศ
  • 9. ไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรยืนยันได้ว่า พราหมณ์ได้นาตารา นาฏยศาสตร์ของอินเดียมาใช้สอนในประเทศไทยเมื่อใด แต่อย่าง น้อยเราก็ยังมีหลักฐานเป็นภาพปูนปั้น และลวดลายบน เครื่องปั้นดินเผา เป็นรูปคนเล่นดนตรีและฟ้ อนรา กาหนดอายุได้ถึง สมัยทวารวดี ซึ่งค้นพบที่ตาบลคู่บัว จังหวัดราชบุรี จากการศึกษา พบว่า ท่าราบางรูปคล้ายท่ารากรณะ ๑๐๘ ท่า ในคัมภีร์นาฏยศาสตร์ ของอินเดีย
  • 10. โขน หมายถึง การแสดงท่าทางการรา เต้นออกท่าทางเข้ากับดนตรี ประกอบด้วยตัวละครที่เป็นยักษ์ ลิง มนุษย์ และเทวดา ผู้แสดงจะ สวมหัวโขนไม่บทร้องและพูด ใช้วิธีการพากย์เป็นสาคัญ อาจมีการรา ประกอบบทร้องบ้าง มีหลักฐานเป็นภาพจาหลักผนัง ที่ปราสาทนคร วัด สมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๒ ของเขมร (พ.ศ.๑๖๕๖) ปรากฏให้ เห็นว่าเป็นการจัดการแสดงโขนโรงใหญ่ ตอนชักนาคหรือการกวนน้า อมฤต หรือกวนเกษียรสมุทร ซึ่งจัดว่าเป็นหลักฐานโขนชุดที่เก่าแก่ ที่สุด
  • 11. ประเภทการแสดง ที่มา ดนตรี เพลงร้อง สถานที่แสดง เรื่องที่แสดง ๑.โขนกลางแปลง สันนิษฐานว่ามีมา ตั้งแต่สมัยกรุงศรี อยุธยา แสดงในสมัย รัชกาลที่ ๑ ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๓๙ ใช้วงปี่พาทย์ เครื่องห้า ๑.ไม่มีบทขับร้อง ๒.มีแต่การพากย์ เจรจา ๓.บรรเลงเพลงหนัง พาทย์ นิยมแสดงกลางแจ้ง ไม่มี เวที แสดงเรื่องรามเกียรติ์ ตอนที่นิยมแสดงมักเป็น ตอนยกทัพเพราะต้องใช้ ผู้แสดงจานวนมาก ๒.โขนโรงนอก บางครั้งเรียกว่า “โขน นอนโรง” เพราะ แสดง๒ วัน โดยแรก แสดงโหมโรงแล้วจับ เรื่อง ใช้วงปี่พาทย์ เครื่องห้า ๑.ไม่มีบทขับร้อง ๒.มีแต่การพากย์ เจรจา ๓.บรรเลงเพลงหนัง พาทย์ ๑.แสดงบนเวที ๒.ไม่มีเตียงสาหรับผู้ แสดง ๓.ใช้ราวไม้พาดตามแนว ยาวของเวทีแทนเตียง ผู้ แสดงเดินได้รอบราว แสดงเรื่องรามเกียร์ ๓.โขนหน้าจอ วิวัตนาการมาจากการ แสดงหนังใหญ่ ต่อมา ใช้ตัวโขนสลับกับการ เชิดหนังใหญ่ที่เรียกว่า หนังติดตัวโขน เมื่อ ความนิยมเรื่องหนัง ใหญ่ลดลงจึงนิยม แสดงเฉพาะโขนชนิด นี้ ใช้วงปี่พาทย์ เครื่องห้า ๑.ไม่มีบทขับร้อง ๒.มีแต่การพากย์และ การเจรจา ๓.บรรเลงเพลงหน้า พาทย์ ๑.แสดงบนเวที ๒.ด้านหลังเวทีเป็น ลักษณะจอหนังใหญ่ ๓.ด้านล่างของจอหนัง ใหญ่จะเจอะเป็นตาข่าย เพื่อให้นักดนตรีเห็นผู้ แสดงขณะที่แสดงขณะที่ แสดงโดยตั้งวงอยู่ ด้านหลังที่เจาะ แสดงเรื่องรามเกียรติ์
  • 12. ประเภทการ แสดง ที่มา ดนตรี เพลงร้อง สถานที่แสดง เรื่องที่แสดง ๔.โขนโรงใน วิวัฒนาการมาจาก การแสดงละครใน เข้ามาผสมผสานกัน ใช้วงปี่พาทย์ เครื่องห้า ๑.มีบทขับร้อง ๒.มีแต่การพากย์ เจรจา ๓.บรรเลงเพลงหนัง พาทย์ บนเวทีทั่วไปหรืออาจ แสดงบนเวทีโขน หน้าจอก็ได้เพียงแต่ วิธีการแสดงเป็นโขน โรงในอย่างที่เห็นใน ปัจจุบัน แสดงเรื่องรามเกียรติ์ ๕.โขนฉาก วิวัฒนาการมาจาก การนาเรื่องราวจัด ฉากเข้ามาผสมใน การแสดงโขนโดน นาเทคนิคการจัด ฉากมาจากการแสดง ละครดึกดาบรรพืใน สมัยรัชการที่๕ส่วน วิธีการแสดงมีรุป แบบคล้ายโขนโรง ใน ใช้วงปี่พาทย์ เครื่องห้า ๑.มีบทขับร้อง ๒.มีแต่การพากย์ เจรจา ๓.บรรเลงเพลงหนัง พาทย์ บนเวทีมีการจัดฉาก ประกอบการแสดงโขน แต่ละตอนด้วย แสดงเรื่องรามเกียรตื
  • 13.
  • 14. ละคร เป็นวรรณกรรมรูปแบบหนึ่งที่แสดงออกซึ่งอารมณ์และความรู้สึก ของมนุษย์ โดยการสร้างตัวแสดงและสถานการณ์ขึ้น เพื่อให้ตัวละครแสดงไป ตามอารมณ์ ตามสถานการณ์ ก่อให้เกิดเหตุการณ์สอดคล้องต่อเนื่องเป็น เรื่องราว การละครไทยมีการพัฒนาการสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ แม้ว่าการ แสดงออกในละครจะรับแบบแผนอิทธิพลมาจากชาติอื่นๆก็ตาม แต่ไทยเราได้ นามาดัดแปลง ปรับปรุงจนเป็นรูปลักษณะของละครไทยดังที่เห็นในปัจจุบัน
  • 15. ละครแบ่งออกตามยุคสมัยได้ ดังนี้ ๑.สมัยน่านเจ้า เป็นละครเรื่องมโนราห์ ซึ่งมีอิทธิพลละครแบบจีนตอนใต้ใน อาณาจักรน่านเจ้า ๒.สมัยสุโขทัย ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับละครมากนัก มีเพียงการกาหนดแบบแผน แห่งศิลปะการแสดงไว้ ๓ ชนิดคือ โขน ละคร และฟ้ อนรา ๓.สมัยอยุธยา มีการจัดระเบียบแบบแผนการละครชัดเจนขึ้น มีการแสดงละคร ชาตรี ละครนอก ละครใน โดยการรับผสมผสานวัฒนธรรมละคร ๒ สาย ๔.สมัยธนบุรี การละครซบเซาเป็นผลมาจากสงครามแต่ในตอนปลายสมัยเมื่อ พระเจ้ากรุงธนบุรีทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์
  • 16. ๕.สมัยรัตนโกสินทร์ ๕.๑ รัชกาลที่ ๑ มีบทละครสาคัญ ๔ เรื่อง คือ เรื่องอุณรุท รามเกียรติ์ ดาหลัง และ อิเหนา ๕.๒ รัชกาลที่ ๒ มีบทละครสาคัญๆ ดังนี้ ๑) เรื่องอิเหนา ๒) เรื่องรามเกียรติ์ ๓) เรื่องไกรทอง ๔) เรื่องคาวี ๕) เรื่องไชยเชษฐ์ ๖) เรื่องสังข์ทอง ๗) เรื่องมณีพิชัย
  • 17. ๕.๓ รัชกาลที่ ๓ ยุคละครซบเซาเนื่องจากขาดการสนับสนุน ๕.๔ รัชกาลที่ ๔ มีการฟื้ นฟูละครหลวงขึ้นอีกครั้ง ออกประกาศให้ความสาคัญกับ ละครอย่างเกิดละครประเภทต่างๆ ขึ้นมากมาย เช่น ๑) ละครพันทาง ๒) ละครดึกดาบรรพ์ ๓) ละครร้อง ๔) ละครพูด ๕) ละครเสภา ๕.๖ รัชกาลที่ ๖ เป็นสมัยที่การละครเจริญรุ่งเรืองมากถึงขีดสุด เป็นยุคทองแห่ง การละครไทย ทรงพระราชนิพนธ์บทละครไว้เป็นจานวนมาก
  • 18. ๕.๗ รัชกาลที่ ๗ ถึงปัจจุบัน ช่วงแรกเป็นยุคสงครามโลก การละครซบเซาจน ต่อมาได้พัฒนาการละครสู่สากล
  • 19. รา หมายถึง การแสดงที่มุ่งความงามของการร่ายรา เช่น ราเดี่ยว ราคู่ ราหมู่ ราอาวุธ ราทาบทหรือราใช้บท ระบา หมายถึง ศิลปะของการร่ายราที่แสดงพร้อมกันเป็นหมู่เป็นชุด ไม่ดาเนิน เป็นเรื่องราว
  • 20. การแสดงการราและระบามีจุดมุ่งหมาย ดังนี้ ๑. แสดงเบิกโรงก่อนเริ่มทาการแสดงจริง ๒. แสดงเป็นชุดเบ็ดเตล็ดประกอบในการแสดงละคร ๓. แสดงคั่นเวลาในการเปลี่ยนเครื่องแต่งกายหรือจัดฉาก ๔. แสดงความสามารถในศิลปะการราของผู้ราและผู้ฝึกซ้อมให้ปรากฏต่อสายตา ผู้ชม
  • 21. การราตามลักษณะของการแสดงละคร โขน เช่น ๑.การราหน้าพาทย์ คือ การราตามทานองเพลงดนตรีปี่พาทย์ โดยผู้แสดง จะต้องเต้น หรือราไปตามจังหวะและทานองเพลงที่บัญญัติไว้โดยเฉพาะ ๒. การราบท เป็นการแสดงท่าทางแทนคาพูด ให้มีความหมายต่างๆ รวมทั้ง การแสดงลักษณะอารมณ์ด้วยในการแสดงท่าทางคาพูด
  • 22. การราจะแบ่งตามลักษณะที่จัดแสดง ดังนี้ ๑. ราเดี่ยว เป็นการแสดงราคนเดียว ๒. ราคู่ เป็นการแสดงราที่ใช้ผู้แสดง ๒ คน ๓. ราหมู่ เป็นการแสดงราที่ใช้แสดงมากกว่า ๒ คนขึ้นไป
  • 23. ระบาของนาฏศิลป์ไทยแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. ระบามาตรฐาน เป็นระบาแบบดั้งเดิมที่มีแต่โบราณ ไม่สามารถนามา เปลี่ยนแปลงท่าราใหม่ได้ ๒. ระบาที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เป็นการจัดทาหรือปรับปรุงประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดย คานึงถึงความเหมาะสมของผู้แสดงและนาไปใช้ในโอกาสต่างๆ
  • 24. ระบาปรับปรุงขึ้นใหม่เหล่านี้ ลักษณะท่าทางในการราจะไม่ตายตัว จะมี การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม เหตุการณ์ ตัวบุคคลและฝีมือ ความสามารถของผู้สอนระบา รวมทั้งฝีมือของผู้แสดงทุก คน การละเล่นเป็นคาเกิดใหม่ แผลงมาจากคาว่า “เล่น” การละเล่น หมายถึง การเล่นดนตรี การเล่นเพลง การเล่นรา การราที่ต้อง ร่วมกันตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป แบบมหรสพหรือศิลปะการแสดง