SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
วิจัยรายงานผลการจัดกิจกรรมภายใต้
โครงการ
ASEAN Youth Anti-Drug
(3 Spots: Skit – Radio - Media Anti-
Ice)
ประกอบการนำาเสนอผลงานในโครงการ
Thailand Youth Initiative Against Drugs
สารบัญ
สารบัญ............................................................................2
บทที่ 1
บทนำา..............................................................................4
ความเป็นมาและความสำาคัญของปัญหา.......................4
วัตถุประสงค์ของการวิจัย.............................................4
สมมติฐานของการวิจัย.................................................5
ความสำาคัญของการวิจัย..............................................5
ขอบเขตของการวิจัย...................................................5
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง..........................6
ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ..................................6
ความหมายของยาเสพติดให้โทษ.............................6
ประเภทของยาเสพติดให้โทษ...................................6
ชนิดของยาเสพติดให้โทษในปัจจุบัน.......................7
โทษและภัยของยาเสพติด.......................................13
ความรู้เกี่ยวกับยาไอซ์...............................................14
ความหมายของยาไอซ์...........................................14
โทษของการใช้ยาไอซ์...........................................15
นโยบายและยุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติดในสถานศึกษา............................................15
นโยบายรัฐเกี่ยวกับยาเสพติด.................................15
นโยบายด้านการป้องกันยาเสพติดของกระทรวง
ศึกษาธิการ.............................................................18
ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด..............19
บทที่ 3
ระเบียบวิธีการดำาเนินการวิจัย.......................................23
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.........................................23
การออกแบบรวบรวมข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางในการ
สร้างเครื่องมือวิจัย.....................................................24
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย...........................................25
การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย.............................25
การเก็บรวบรวมข้อมูล................................................26
การวิเคราะห์ข้อมูล.....................................................26
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล...................................................28
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้าน
ยาไอซ์ในโรงเรียน....................................................28
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ................................30
บทที่ 1
บทนำา
ความเป็นมาและความสำาคัญของปัญหา
ปัจจุบันนี้ปัญหายาเสพติดกลับมาแพร่ระบาดอีกครั้ง โดยเฉพาะยา
ไอซ์ที่ปัจจุบันนี้กำาลังระบาดหนักในกลุ่มเด็กและเยาวชนที่ชอบออก
เที่ยวกลางคืน นอกจากนั้นแล้วนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่จุดเสี่ยง
หลายที่ ก็กำาลังประสบปัญหาการแพร่ระบาดของยาไอซ์ในชุมชนรอบ
โรงเรียนเช่นกัน ถ้าหากปัญหาการแพร่ระบาดของยาไอซ์ยังไม่ได้รับ
การแก้ไข หรือควบคุมให้ลดน้อยลง อาจส่งผลให้การแพร่ระบาดของยา
ไอซ์ ลุกลามเข้ามาถึงในโรงเรียน ทุกคนล้วนตระหนักดีกว่า โรงเรียน
คือสถานที่ราชการ และเป็นสถานที่ซึ่งธำารงไว้ซึ่งคุณงามความดี การที่
จะทำาให้นักเรียนในโรงเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโทษภัยของยาไอซ์นั้น
ไม่ใช่เรื่องยาก แต่เป็นเรื่องที่ต้องคิดกันว่าทำาอย่าง นักเรียนจึงจะ
สามารถปฏิบัติตามที่โรงเรียนแนะนำาได้
กลุ่มเยาวชนต้นกล้าความดี โรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง
จังหวัดบุรีรัมย์ มีกลุ่มประชากรจำานวน 1,661 คน และบุคคลกร
ทางการศึกษามากกว่า 90 คน ได้ตระหนักเห็นความสำาคัญการให้ความ
รู้ความเข้าใจ การเข้าถึงเพื่อศึกษาปัญหาและการดึงให้ทุกฝ่ายให้มีส่วน
ร่วมในการดำาเนินการเพื่อหาแนวทางการป้องกันยาเสพติด จึงได้จัดทำา
วิจัยเพื่อศึกษาการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนโดยใช้ชื่อ
โครงการว่า ASEAN Youth Anti-Drug (3 Spots: Skit – Radio -
Media Anti-Ice) ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนการดำาเนินกิจกรรม
จากสำานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เพื่อดูว่า
ผลการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์มีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด ต่อ
การสร้างความเข้าใจ และสร้างเกราะป้องกันนักเรียนในโรงเรียนจาก
พิษภัยของยาไอซ์
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาถึงผลการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
2. เพื่อศึกษาเจตคติต่อการเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ของ
นักเรียนในโรงเรียน
สมมติฐานของการวิจัย
1. นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์มีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากยาไอซ์
2. นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์เกิดเจตคติ
ที่ดีต่อการเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
ความสำาคัญของการวิจัย
ผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นตัวบ่งบอกได้ว่า นักเรียนโรงเรียนภัทร
บพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
มีความรู้สึก และเจตคติอย่างไรต่อการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ใน
โรงเรียน ซึ่งในอนาคตสามารถนำาไปปรับปรุงเป็นกิจกรรมเสริมการ
เรียนการสอนในชั่วโมงเรียนได้ เพื่อให้นักเรียนเกิดการตื่นตัวในการ
ดูแลรักษาตนเองหลีกเลี่ยงยาเสพติดทุกชนิด เข้าใจ และช่วยเหลือผู้อื่น
ได้ถูกต้อง
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ มุ่งศึกษาผลการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ใน
โรงเรียน ดังนี้
1. เนื้อหาของการวิจัย เป็นการวิจัยตามสภาพจริง เก็บข้อมูลจาก
กลุ่มตัวอย่างสมำ่าเสมอ
ซึ่งจัดทำาในลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพ
2. ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
2.1 ประชากร ได้แก่ ผู้อำานวยการโรงเรียน รองผู้อำานวย
การโรงเรียน ครูในโรงเรียน และ
นักเรียนในโรงเรียน ปีการศึกษา 2555 จำานวนทั้งสิ้น 1,761 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร ปีการ
ศึกษา 2555 จำานวน 1,661 คน
โดยแบ่งเป็น 2 ระดับคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 400 คน และระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย 200 คน
การสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling)
3. ตัวแปรที่ใช้วิจัย
3.1 ตัวแปรต้น คือ นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง
จังหวัดบุรีรัมย์
3.2 ตัวแปรตาม คือ อัตราส่วนของจำานวนนักเรียนที่มีความคิด
เห็นต่อการจัดกิจกรรมต่อต้าน
ยาไอซ์ในโรงเรียนระดับความพึงพอใจ ระดับ 3 (ดี) ขึ้นไป
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการดำาเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายา
ไอซ์ในโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้วิจัยได้ศึกษา
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
1. ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ
1.1 ความหมายของยาเสพติดให้โทษ
1.2 ประเภทของยาเสพติดให้โทษ
1.3 ชนิดของยาเสพติดให้โทษในปัจจุบัน
1.4 โทษและภัยของยาเสพติด
2. ความรู้เกี่ยวกับยาไอซ์
2.1 ความหมายของยาไอซ์
2.2 โทษของการใช้ยาไอซ์
3. นโยบายและยุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ
ติดในสถานศึกษา
3.1 นโยบายรัฐเกี่ยวกับยาเสพติด
3.2 นโยบายด้านการป้องกันยาเสพติดของกระทรวง
ศึกษาธิการ
3.3 ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด
ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ
ความหมายของยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษ หมายความว่า สารเคมี หรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่ง
เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประ
การใดๆ แล้ว ทำาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำาคัญเช่น
ต้องเพิ่มขนาดการเสพเรื่อยๆ มีอาการถอนยา เมื่อขาดยามีความ
ต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตอย่างรุนแรงอยู่ตลอดเวลาและ
สุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กลับให้รวมถึงพืช หรือ ส่วนของพืชที่
เป็น หรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษ หรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติด
ให้โทษและสารเคมี ที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษดังกล่าวด้วย
(กรมสามัญศึกษา, 2540: 3-4)
ประเภทของยาเสพติดให้โทษ
จำาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท
1. ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ
ยาระงับประสาท ยากล่อมประสาทเครื่องดื่มมึนเมา ทุกชนิด
รวมทั้ง สารระเหย เช่น ทินเนอร์ แล็กเกอร์ นำ้ามันเบนซิน กาว
เป็นต้น มักพบว่าผู้เสพติดมี ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง
อ่อนเพลีย ฟุ้งซ่าน อารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย
2. ประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ ยาบ้า ยาอี กระท่อม โคเคน
มักพบว่าผู้เสพติดจะมีอาการ หงุดหงิด กระวนกระวาย จิต
สับสนหวาดระแวง บางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่ง หรือทำาในสิ่งที่คน
ปกติ ไม่กล้าทำา เช่น ทำาร้ายตนเอง หรือฆ่าผู้อื่น เป็นต้น
3. 3. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี และ เห็ดขี้ควาย
เป็นต้น ผู้เสพติดจะมีอาการประสาทหลอน ฝันเฟื่องเห็นแสงสี
วิจิตรพิสดาร หูแว่ว ได้ยินเสียง ประหลาดหรือเห็นภาพหลอนที่
น่าเกลียดน่ากลัว ควบคุมตนเองไม่ได้ ในที่สุดมักป่วยเป็น
โรคจิต
4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน คือทั้งกระตุ้นกดและหลอนประสาท
ร่วมกันได้แก่ ผู้เสพติดมักมี อาการหวาดระแวง ความคิดสับสน
เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเป็นโรคจิต
ได้
ชนิดของยาเสพติดให้โทษในปัจจุบัน
ยาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาของชาติอยู่ในขณะนี้ มีประวัติความเป็น
มาอย่างไรเป็นสิ่งที่น่าสนใจ เพราะมนุษย์ได้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดมา
เป็นเวลาช้านาน บางชนิดก็ให้ทั้งคุณประโยชน์และโทษ บางชนิดก็มี
แต่โทษภัยเท่านั้น ซึ่งในปัจจุบันมียาเสพติดชนิดต่าง ๆ ในท้องตลาด
มากกว่า 120 ชนิด อย่างไรก็ตามยาเสพติดชนิดแรกที่คนไทยรู้จักก็คือ
1. ยาไอซ์ (Ice)
อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล (2553) กล่าวว่า ยา ICE หรือ ไอซ์
นั้น มันมีชื่อทางเคมีว่า เมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ ที่อยู่ใน
รูป เมทแอมเฟตามีนในรูปผลึกใส Crystal
Methamphetamines Hydrochloride ความบริสุทธิ์สูง
สังเคราะห์จากสารอีเฟดรีน (Ephedrine) “ชื่อ ICE” เรียกตาม
ลักษณะที่ปรากฏ คือ ก้อนผลึกใสเหมือนนำ้าแข็ง ปัจจุบันจัดเป็นยา
เสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
พ.ศ. 2522
ดังนั้น ยา ไอซ์ ก็คือยาบ้า หรือ เมทแอมเฟตามีน ในรูปแบบ
ที่บริสุทธ์มีลักษณะเป็นผลึกใสเหมือนแก้ว จึงเรียกว่า ICE ตามรูป
แบบยา นิยมเรียกกันในหมู่ผู้เสพ และเนื่องจากมีราคาแพงกว่า
ยาบ้า จึงมักใช้กันในกลุ่มไฮโซ ดารา กลุ่มนักเที่ยวที่มีอำานาจการ
จับจ่ายสูง
ยาไอซ์มีชื่อหลากไปแล้วแต่แหล่ง ไอซ์คือชื่อตามท้องถนน
ที่เรียกดังนี้เพราะมักปรากฏในรูปแบบของผลึกโปร่งใสคล้าย
กระจกหรือก้อนนำ้าแข็ง ซึ่งอาจมีสีสันหลากกันไป จะเป็นสีชมพู สี
ฟ้าหรือเขียว ชื่ออื่นๆของไอซ์ ได้แก่ meth, crystal meth,
shabu, glass, krank, tweak และ tina แล้วแต่จะนิยมเรียก
ในแหล่งนั้นๆ
ไอซ์จะไม่มีกลิ่นและมีอันตรายสูงกว่าโคเคนมาก อานุภาพ
ในการทำาให้ผุ้เสพต้องการและหันไปเสพติดจะรุนแรงกว่า สีของ
ไอซ์จะมีอยู่หลายสี แต่ละสีจะบ่งบอกถึงระดับความบริสุทธิ์และ
ความรุนแรงของไอซ์
ไอซ์ที่มีลักษณะเป็นผลึกใส คือไอซ์ที่ผลิตจากนำ้า (Water-
base) จะเผาไหม้อย่างรวดเร็ว เมื่อเผาแล้วจะเหลือ คราบลักษณะ
คล้ายนำ้านม ไอซ์ที่มีสีเหลืองจะผลิตจากนำ้ามัน (Oil-base) ซึ่งจะ
เผาไหม้ได้ช้ากว่าจะมีคราบเป็น สีนำ้าตาลหรือสีดำาเมื่อเผาไหม้แล้ว
ยาเสพติดประเภทนี้ เมื่อเผาไหม้แล้วจะไม่มีกลิ่น จึงทำาให้ผู้เสพ
นิยมเพราะ ไม่มีกลิ่นผิดปกติ เหมือนกัญชา อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำาให้
คนนิยมคือราคาถูกกว่าโคเคนมากในย่านอเมริกาใต้ และให้ผล
ในด้านการเปี่ยมสุขที่นานกว่า แต่คุณครับ คุณไม่รู้หรอกว่าไอซมี
พลานุภาพด้านเสพติดต่อร่างกายของเราที่รุนแรงกว่าเฮโรอีน
ตอนเสพก้อเพลินตามปัจจัยปรุงแต่ง แต่พอยาหมดฤทธิ์ไปแล้ว
สภาวะเปี่ยมสุขก้อจะละลายกลายมาเป็นอาการซึมเศร้า
(Depression หรือ Crash) ที่ยาวนานมากๆเป็นระยะเวลา หลาย
ๆ วัน
2. ยาบ้า (Amphetamine)
ยาบ้า เป็นชื่อที่ใช้เรียกยาเสพติดที่มีส่วนผสมของสารเคมี
ประเภท แอมเฟตามีน (Amphetamine) สารประเภทนี้แพร่
ระบาดอยู่ 3 รูปแบบ ด้วยกัน คือ แอมเฟตามีนซัลเฟต
(Amphetamine Sulfate) เมทแอมเฟตามีน
(Methamphetamine) และเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์
(Methamphetamine Hydrochloride) ซึ่งจากผลการตรวจ
พิสูจน์ยาบ้าปัจจุบัน ที่พบอยู่ในประเทศไทยมักพบว่า เกือบทั้งหมด
มีเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ผสมอยู่
ยาบ้า จัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มี
ลักษณะเป็นยาเม็ดกลมแบนขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ
6-8 มิลลิเมตร ความหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร นำ้าหนักเม็ดยา
ประมาณ 80-100 มิลลิกรัม มีสีต่างๆ กัน เช่น สีส้ม สีนำ้าตาล สี
ม่วง สีชมพู สีเทา สีเหลืองและสีเขียว มีสัญลักษณ์ ที่ปรากฎบน
เม็ดยา เช่น ฬ, m, M, RG, WY สัญลักษณ์รูปดาว, รูปพระจันร์
เสี้ยว, 99 หรืออาจเป็นลักษณะของเส้นแบ่งครึ่งเม็ด ซึ่งสัญลักษณ์
เหล่านี้ อาจปรากฏบนเม็ดยาด้านใดด้านหนึ่ง หรือทั้งสองด้าน
หรืออาจเป็นเม็ดเรียบทั้งสองด้านก็ได้
การออกฤทธิ์ของยากลุ่มแอมเฟตามีน ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
1. ออกฤทธิ์กระตุ้นต่อระบบประสาทส่วนกลางให้ตื่นตัว
ตลอดเวลา นอนไม่หลับ
2. ทำาให้ความดันโลหิตสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็วและแรงขึ้น
3. กดศูนย์ควบคุมการอยากอาหาร ทำาให้เบื่ออาหาร ทาน
น้อยลง เป็นยาลดนำ้าหนักได้
4. กระตุ้นศูนย์หายใจ ทำาให้หายใจเร็วและแรงขึ้น
5. กระตุ้นระบบสมองส่วนหน้า ทำาให้เกิดอาการความคิด
ความอ่านแจ่มใสชั่วขณะ บางราย
จะมีอาการสั่น
3. สาระเหย (Volatile Solvent)
องค์การอนามัยโลกได้ให้ความหมายของยาเสพติด หรือยา
เสพติดให้โทษ ว่าหมายถึง ยาหรือสารที่สามารถมีปฏิกิริยาต่อ
ร่างกาย ทำาให้เกิดการติดยาทางร่างกายหรือจิตใจ ทำาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาของร่างกาย เมื่อหยุดใช้ยาจะเกิด
อาการเนื่องจากการหยุดยา คือหงุดหงิด ตื่นเต้น หาวนอน นำ้ามูก
นำ้าตาไหล เหงื่อออกมาก ขนลุก ตะคริว นอนไม่หลับ คลื่นไส้
อาเจียน ปวดศรีษะ
ในกรณีสารระเหย การติดทางจิตใจมีแน่นอน เนื่องจากผู้ที่
จะเสพติดสารระเหยมักมีบุคคลิกภาพและสุขภาพจิตผิดปกติอยู่
ก่อนแล้ว ต้องการใช้สารระเหยเพื่อหลีกเลี่ยงอารมณ์ซึมเศร้า
กังวล ฯลฯ องค์การอนามัยโลกได้จัดตัวทำาละลายที่ระเหยง่าย
เช่น ethyl acetate ซึ่งพบในลูกโป่งวิทยาศาสตร์ และสารบาง
ตัวเช่น thinners ซึ่งพบในกาวต่างๆ เป็นสารระเหยเป็นต้น
เนื่องจากสารดังกล่าวเป็นปัญหาต่อการเสพติด
สารระเหย (Volatile Substances)
สารระเหยหมายถึง สารประกอบอินทรีย์เคมีประเภท
ไฮโดรคาร์บอน์ที่ได้มาจากนำ้ามันปิโตรเลี่ยมและก๊าซธรรมชาติ
เป็นสารที่ระเหยได้ง่ายในอุณหภูมปกติ สารเหล่านี้เป็นส่วนผสม
ในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์ที่พบเห็นได้บ่อยๆ เช่น
ทินเนอร์ แลคเกอร์
สารระเหยเมื่อแบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ แบ่งออกเป็น
3 พวกใหญ่ๆ คือ
1. สารระเหย (Volatile Substance) เป็นสารประกอบ
อินทรีย์เคมีที่ได้มาจากนำ้ามันปิโตรเลี่ยมและก๊าซธรรมชาติ เป็น
สารที่ระเหยได้ง่ายในอุณหภูมิห้อง จึงนิยมใช้กันมากใน
อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในทางอุตสาหกรรมที่มี
คุณสมบัติแห้งระเหยได้เร็ว
2. ตัวทำาละลาย (Solvents) เป็นสารที่เป็นของเหลวใช้เป็น
ส่วนผสมทั้งในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในทางอุตสาหกรรม และผลิตภัณฑ์
ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น เฮกเซน มีอยู่ในพลาสติก ซิเมนต์ โทลูอีน
ไซลีน มีอยู่ในกาวติดเครื่องบินเด็กเล่น แลกเกอร์ ทินเนอร์ อะซิ
โตน ในรูปนำ้ายาล้างเล็บ เบนซิน ในนำ้ายาทำาความสะอาด
3. ละอองลอย (Aerosol) ซึ่งจัดบรรจุในภาชนะที่ใช้
สำาหรับฉีด มีส่วนผสมของไฮโดร-คาร์บอน หรือ ฮาโลคาร์บอน
พบมากในรูปของสเปรย์ฉีดผม สีกระป๋องสำาหรับพ่น
4. ฝิ่น (Opium)
ฝิ่นเป็นสารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งได้จากยางของผลฝิ่น ใน
เนื้อฝิ่นมีสารเคมีผสมอยู่มากมาย ซึ่งประกอบด้วย โปรตีน เกลือแร่
ยางและกรดอินทรีย์เป็นแอลคะลอยด์ (Alkaloid) ซึ่งเป็นตัวการ
สำาคัญ ที่ทำาให้ฝิ่นกลายเป็นสารเสพติด ให้โทษที่ร้ายแรง แอลคะ
ลอยด์ในฝิ่นแบ่งแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 ออกฤทธิ์ทำาให้เกิดอาการมึนเมา และเป็นยา
เสพติดให้โทษโดยตรง แอลคะลอยด์ประเภทนี้ทางเภสัชวิทยา
ถือว่า เป็นยาทำาให้นอนหลับ (Hypnotic) แอลคะลอยด์ที่เป็นสาร
เสพติดซึ่งออกฤทธิ์ตัวสำาคัญที่สุดในฝิ่น คือ มอร์ฟีน (Morphine)
ประเภทที่ 2 ออกฤทธิ์ทำาให้กล้ามเนื้อเรียบหย่อนคลายตัว
ซึ่งในทางเภสัชวิทยาถือว่า แอลคะลอยด์ในฝิ่นประเภทนี้ไม่เป็น
สารเสพติด แต่มีฤทธิ์ทำาให้กล้ามเนื้อของร่างกายหย่อนคลายตัว
ซึ่งมีปาปาเวอร์รีน (Papaverine) เป็นตัวสำาคัญ
ฝิ่นเป็นพืชล้มลุกขึ้นในที่สูงกว่าระดับนำ้าทะเลประมาณ
3,000 ฟุตขึ้นไป เป็นยาเสพติดที่เป็นต้นตอของยาเสพติดร้ายแรง
เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีน และโคเคอีน มีการลักลอบปลูกฝิ่นมากทาง
ภาคเหนือของประเทศไทยบริเวณแนวพรมแดน ที่เรียกว่า
สามเหลี่ยมทองคำา
เนื้อฝิ่นได้มาจากยางของผลฝิ่นที่ถูกกรีดจะมีสีขาว เมื่อถูก
อากาศจะมีสีคลำ้าลง กลายเป็นยางเหนียวสีนำ้าตาลไหม้ หรือ ดำา มี
กลิ่นเหม็นเขียวและรสขม เรียกว่า ฝิ่นดิบ ส่วนฝิ่นที่มีการนำามาใช้
เสพ เรียกว่า ฝิ่นสุก ได้มาจากการนำาฝิ่นดิบไปต้มหรือเคี่ยวจนสุก
ฤทธิ์ทางเสพติด ออกฤทธิ์กดระบบประสาท มีอาการเสพติด
ทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีอาการขาดยาทางร่างกาย อาการผู้
เสพ คือ จิตใจเลื่อนลอย ง่วง ซึม แก้วตาหรี่ พูดจาวกวน ความคิด
เชื่องช้า ไม่รู้สึกหิว ชีพจรเต้นช้า โทษที่ได้รับนั้น ร่างการทรุด
โทรม สมองมึนชา สติปัญญาเสื่อมโทรม
5. มอร์ฟีน (Morphine)
มอร์ฟีนเป็น alkaloid ได้จากยางสีขาวขุ่นของผลฝิ่น เมื่อ
นำายางนี้มาตากให้แห้ง สีจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีนำ้าตาล มีลักษณะ
ข้นเหนียว ถ้าทำาให้แห้งต่อไปจะกลายเป็นผง 25% ตามนำ้าหนัก มี
ฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางแรงว่าฝิ่น ประมาณ 8-10 เท่า จัดเป็น
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้
โทษ พ.ศ.2522 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (แพทย์) มีสิทธ์ครอบ
ครองได้โดยต้องขออนุญาตที่กองควบคุมวัตถุเสพติด สำานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา
มอร์ฟีน สามารถสังเคราะห์ได้แต่กรรมวิธีจะยากกว่าสกัด
จากธรรมชาติ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสูตรโครงสร้างเพียงเล็กน้อย
จะได้สารตัวอื่น ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป เช่นเปลี่ยน
hydroxy group ที่ตำาแหน่ง 3 เป็น methoxy group จะได้
โคเดอีน ซึ่งนอกจากมีฤทธิ์ระงับปวดแล้วยังมีฤทธิ์ระงับไอได้ดีอีก
ด้วย และถ้าเปลี่ยน hydroxy group ที่ตำาแหน่ง 3 และที่
ตำาแหน่ง 6 เป็น acetyl group จะได้ เฮโรอีน ซึ่งจัดเป็นยาเสพ
ติดที่ร้ายแรงกว่า มอร์ฟีน
การให้โดยการฉีดจะได้ผลดีกว่าการรับประทาน โดยออก
ฤทธิ์ระงับปวด ทำาให้ง่วงซึม อารมณ์เปลี่ยนแปลง สมองไม่ปลอด
โปร่ง เมื่อให้มอร์ฟีน ในขนาดรักษาแก่ผู้ป่วยที่มีความเจ็บปวดจะ
ทำาให้ความเจ็บปวดหายไปหรือลดน้อยลง และในผู้ป่วยบางราย
อาจเกิดอาการคลิบเคลิ้มเป็นสุข ฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
อย่างอื่น ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน ซึมเซา เชื่องช้า ไม่มีสมาธิ ผู้ที่
ได้รับยาเกินขนาด จะมีอาการง่วงซึมมาก รูม่านตาหรี่ การหายใจ
ถูกกด โคม่า
มอร์ฟีนถูกดูดซึมได้ดีที่ระบบทางเดินอาหาร จากใต้ผิวหนัง
และกล้ามเนื้อ ไม่สะสมในร่างกาย ยาที่ให้ไปจะถูกขับออกจาก
ร่างกายประมาณ 90% ภายใน 24 ชั่วโมง
อาการการติดยาเกิดจากการได้รับยาซำ้าๆ กัน มีทั้งอาการพึ่ง
ยาทางจิตใจเนื่องจากฤทธิ์ของยาและเพื่อความพึงพอใจของผู้เสพ
และอาการพึ่งยาทางร่างกายซึ่งจำาเป็นต้องได้รับยาเพื่อให้ร่างกาย
อยู่ในภาวะปกติ และมีอาการถอนยาเมื่อขาดยา การติดยาเกิดขึ้น
เร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับขนาดยาที่ได้รับ ถ้าได้รับยาในขนาดสูงหรือ
ได้รับยาติดต่อกันนานมากเท่าไหร่ ก็จะทำาให้เกิดอาการติดยาได้
เร็วมากขึ้นเท่านั้น และอาการถอนยาจะรุนแรงตามไปด้วย
อาการถอนยาเป็นลักษณะเฉพาะของยาประเภทมอร์ฟีน จะมี
อาการเกิดขึ้นภายใน 2-3 ชั่วโมง หลังจากได้รับยาขนาดสุดท้าย
อาการสูงสุดภายใน 12 ชั่วโมง หลังจากนั้นจะสงบลงภายใน 1
สัปดาห์ อาการถอนยาที่เกิดขึ้นได้แก่ หาวนอน นำ้าตาไหล เหงื่อ
ออก ม่านตาขยาย ตัวสั่น นอนไม่หลับ กระวนกระวาย ตะคริว
ปัจจุบันมอร์ฟีนยังใช้ประโยชน์ได้ดีในการระงับปวด โดย
เฉพาะคนไข้โรคมะเร็งซึ่งมีอาการขั้นสุดท้าย (สำานักงานคณะ
กรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข, 2555)
6. เฮโรอีน (Heroin)
เฮโรอีนเป็นยาเสพติดที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี จาก
ปฏิกิริยาระหว่างมอร์ฟีนกับสารเคมีบางชนิด เช่น อาเซติคแอนไฮ
ไดรด์ (Acetic anhydride) หรือ อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl
chloride) หรือเอทิลิดีนไดอาเซเตต (Ethylidene diacetate)
โดยนักวิจัยชาวอังกฤษ ชื่อ C.R. Wright ได้ค้นพบวิธีการ
สังเคราะห์ เฮโรอีนจากมอร์ฟีนโดยใช้นำ้ายาอาเซติคแอนไฮไดรด์
(Acetic anhydride) และบริษัทผลิตยาไบเออร์ (Bayer) ได้นำา
“มาผลิตเป็นยาออกสู่ตลาดโลก ในชื่อทางการค้าว่า Heroin”
และนำามาใช้แทนมอร์ฟีนอย่างแพร่หลาย หลังจากที่มีการใช้เฮ
โอีนในวงการแพทย์นานถึง 18 ปี จึงทราบถึงอันตรายและผลที่
ทำาให้เกิดการเสพติดที่ให้โทษอย่างร้ายแรงจนปี พ.ศ. 2467
(ค.ศ. 1924) ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ออกกฎหมายระบุให้
เฮโรอีนเป็นยาเสพติดให้โทษ ห้ามมิให้ผู้ใดมีไว้ในครอบครองหลัง
จากนั้นต่อมาอีก 35 ปี คือ เมื่อปี พ.ศ. 2502 เฮโรอีนจึงได้แพร่
ระบาดสู่ประเทศไทย และในปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทยจึงออก
กฎหมาย ระบุให้เฮโรอีนและมอร์ฟีนเป็นยาเสพติดให้โทษ
เฮโรอีนออกฤทธิ์แรงกว่ามอร์ฟีนประมาณ 4-8 เท่า และออก
ฤทธิ์แรงกว่าฝิ่น ประมาณ 30-90 เท่า โดยทั่วไปเฮโรอีน จะมี
ลักษณะเป็นผงสีขาว สีนวล หรือสีครีม มีรสขม ไม่มีกลิ่น และแบ่ง
ได้เป็น 2 ประเภท เช่นเดียวกับมอร์ฟีน ได้แก่ เฮโรอีนเบส
(Heroin base) ซึ่งมีคุณลักษณะเด่น คือ ไม่ละลายนำ้า ส่วนอีก
ประเภทหนึ่ง คือ เกลือของเฮโรอีน (Heroin salt) เช่น เฮโร
อีนไฮโดรคลอไรด์ (Heroin hydrochloride)
เฮโรอีนที่แพร่ระบาดในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1. เฮโรอีนผสม หรือเรียกว่า เฮโรอีนเบอร์ 3 หรือไอระเหย
เป็นเฮโรอีนที่มีความบริสุทธิ์ตำ่า เนื่องจากมีการผสมสารอื่นเข้าไป
ด้วย เช่น ผสมสารหนู สตริกนิน ยานอนหลับ คาเฟอีน แป้ง
นำ้าตาลและอาจผสมสี เช่น สีม่วงอ่อน สีชมพูอ่อน สีนำ้าตาล อาจ
พบในลักษณะเป็นผง เป็นเกล็ดหรืออัดเป็นก้อนเล็กๆ มีวิธีการเสพ
“ ”โดยการสูดเอาไอสารเข้าร่างกาย จึงเรียกว่า ไอระเหย หรือ
“ ”แคป
2. เฮโรอีนเบอร์ 4 เป็นเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ที่มีความ
บริสุทธิ์สูง มีลักษณะเป็นผงละเอียด หรือเป็นเม็ดคล้ายไข่ปลา หรือ
พบในลักษณะอัดเป็นก้อนสี่เหลี่ยมผืนผ้า มักมีสีขาวหรือสีครีม
“ ”ไม่มีกลิ่น มีรสขม เป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่า ผงขาว มักเสพโดยนำา
มาละลายนำ้าแล้วฉีดเข้าร่างกาย หรือผสมบุหรี่สูบ
โทษและภัยของยาเสพติด
เนื่องด้วยพิษภัยหรือโทษของสารเสพติดที่เกิดแก่ผู้หลงผิดไป
เสพสารเหล่านี้เข้า ซึ่งเป็นโทษที่มองไม่เห็นชัด เปรียบเสมือนเป็น
ฆาตกรเงียบ ที่ทำาลายชีวิตบุคคลเหล่านั้นลงไปทุกวัน ก่อปัญหา
อาชญากรรม ปัญหาสุขภาพ ก่อความเสื่อมโทรมให้แก่สังคมและบ้าน
เมืองอย่างร้ายแรง เพราะสารเสพย์ติดทุกประเภทที่มีฤทธิ์เป็นอันตราย
ต่อร่างกายในระบบประสาท สมอง ซึ่งเปรียบเสมือนศูนย์บัญชาการของ
ร่างกายและชีวิตมนุษย์ การติดสารเสพติดเหล่านั้น จึงไม่มีประโยชน์
อะไรเกิดขึ้นแก่ร่างกายเลย แต่กลับจะเกิดโรคและพิษร้ายต่างๆ จนอาจ
ทำาให้เสียชีวิต หรือ เกิดโทษและอันตรายต่อครอบครัว เพื่อนบ้าน
สังคม และชุมชนต่างๆ ต่อไปได้อีกมาก โทษทางร่างกาย และจิตใจ คือ
1. สารเสพติดจะให้โทษโดยทำาให้การปฏิบัติหน้าที่ของอวัยวะ
ส่วนต่างๆ ของร่างกายเสื่อมโทรมพิษภัยของสารเสพย์ติดจะทำาลาย
ประสาท สมอง ทำาให้สมรรถภาพเสื่อมลง มีอารมณ์ จิตใจไม่ปกติ เกิด
การเปลี่ยนแปลงได้ง่าย เช่น วิตกกังวล เลื่อนลอยหรือฟุ้งซ่าน ทำางาน
ไม่ได้ อยู่ในภาวะมึนเมาตลอดเวลา อาจเป็นโรคจิตได้ง่าย
2. ด้านบุคลิกภาพจะเสียหมด ขาดความสนใจในตนเองทั้งความ
ประพฤติความสะอาดและสติสัมปชัญญะ มีอากัปกิริยาแปลกๆ เปลี่ยน
ไปจากเดิม
3. สภาพร่างกายของผู้เสพจะอ่อนเพลีย ซูบซีด หมดเรี่ยวแรง
ขาดความกระปรี้กระเปร่า และเกียจคร้าน เฉื่อยชา เพราะกินไม่ได้
นอนไม่หลับ ปล่อยเนื้อ ปล่อยตัวสกปรก ความเคลื่อนไหวของร่างกาย
และกล้ามเนื้อต่างๆ ผิดปกติ
4. ทำาลายสุขภาพของผู้ติดสารเสพติดให้ทรุดโทรมทุกขณะ
เพราะระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกายถูกพิษยาทำาให้เสื่อมลง นำ้าหนักตัว
ลด ผิวคลำ้าซีด เลือดจางผอมลงทุกวัน
5. เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย เพราะความต้านทานโรคน้อยกว่า
ปกติ ทำาให้เกิดโรคหรือเจ็บไข้ได้ง่าย และเมื่อเกิดแล้วจะมี
ความรุนแรงมาก รักษาหายได้ยาก
6. อาจประสบอุบัติเหตุได้ง่าย สาเหตุเพราะระบบการควบคุม
กล้ามเนื้อและประสาทบกพร่อง ใจลอย ทำางานด้วยความ
ประมาท และเสี่ยงต่ออุบัติเหตุตลอดเวลา
7. เกิดโทษที่รุนแรงมาก คือ จะเกิดอาการคลุ้มคลั่ง ถึงขั้น
อาละวาด เมื่อหิวยาเสพติดและหายาไม่ทัน เริ่มด้วยอาการนอน
ไม่หลับ นำ้าตาไหล เหงื่อออก ท้องเดิน อาเจียน กล้ามเนื้อกระตุก
กระวาย และในที่สุดจะมีอาการเหมือนคนบ้า เป็นบ่อเกิดแห่ง
อาชญากรรม
ความรู้เกี่ยวกับยาไอซ์
ความหมายของยาไอซ์
"ไอซ์" คือผงเมธแอมเฟตามีน ที่ทำาให้อยู่มนสภาพแข็ง ด้วย
การนำาเอาเมธแอมเฟตามีนมาผ่านกระบวนการหุงต้มจนตกเป็นก้อน
ผลึก ไอซ์มักมีที่มาจากประเทศแถบเอเชีย อย่างไรก็ไอซ์สามารถผลิต
ได้ทุก ๆ แห่งที่มีเมธแอมเฟตามีน ความรุนแรงของไอซ์ขึ้นอยู่กับระดับ
ความบริสุทธิ์ ของเมธแอมเฟตามีนที่มีอยู่สูงมาก ในขณะที่เมธแอมเฟตา
มีนที่มีขายอยู่ทั่วไป จะถูกลดระดับความบริสุทธ์ (Cut) ลงด้วยเคมีภัณฑ์
อื่นหลายครั้ง แต่ผลึกเมธแอมเฟตามีนของไอซ์ จะมีระดับความบริสุทธิ์
ของเมธแอมเฟตามีน สูงถึง 98-100% ไอซ์จะไม่มีกลิ่นและมีอันตราย
สูงกว่า Crack และ Cocaine
นอกจากนั้นยังมีอานุภาพในการ เสพติดที่รุนแรงกว่าสีของไอซ์จะ
มีอยู่หลายสี แต่ละสีจะบ่งบอกถึงระดับความบริสุทธิ์และความรุนแรงของ
ไอซ์ ไอซ์ที่มีลักษณะเป็นผลึกใส คือไอซ์ที่ผลิตจากนำ้า (Water-base)
จะเผาไหม้อย่างรวดเร็ว เมื่อเผาแล้วจะเหลือ คราบลักษณะคล้ายนำ้านม
ไอซ์ที่มีสีเหลืองจะผลิตจากนำ้ามัน (Oil-base) ซึ่งจะเผาไหม้ได้ช้ากว่า
จะมีคราบเป็น สีนำ้าตาลหรือสีดำาเมื่อเผาไหม้แล้ว ยาเสพติดประเภทนี้
เมื่อเผาไหม้แล้วจะไม่มีกลิ่น จึงทำาให้ผู้เสพนิยมเพราะ ไม่มีกลิ่นผิดปกติ
เหมือนกัญชา อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำาให้คนนิยม คือราคาถูกกว่าโคเคนมาก
และผลในด้านการ เปี่ยมสุขที่นานกว่า แต่ผู้เสพไม่รู้หลอกว่าไอซมี
อานุภาพด้านเสพติดทาง กายภาพที่รุนแรงกว่าเฮโรอีน และเมื่อ หมด
สถาวะความเปี่ยมสุขแล้วจะเกิดอาการซึมเศร้า(Depression หรือ
Crash) ที่ยาวนานเป็นระยะเวลา หลาย ๆ วัน
โทษของการใช้ยาไอซ์
ผู้เสพยาไอซ์จะเกิความรู้สึกเปี่ยมสุขทั้งร่างกายและจิตใจอย่าง
รุนแรง (Euphoria) ฤทธิ์ของยาไอซ์จะคงอยู่ระหว่าง 4-14 ชม. ขึ้น
อยู่กับปริมาณที่เสพ ถึงแม้ยาที่เสพเข้าไปจะถูกดูดซึมเข้าสุ่กระแสโลหิต
อย่างรวด เร็วแต่ตัวยา ส่วนหนึ่งจะถูกขับถ่ายออกมาทางร่างกายโดย
ไม่มีโอกาสแสดงปฏิกริยาใด ๆ ภายใน 72 ชม.หลังการเสพ หลังจาก
นั้นจะเกิดอาการตาแข็งนอนไม่หลับ เมื่อพ้นจากอาการนี้ก็จะนอนหลับ
อย่างต่อเนื่องเป็น เวลานาน ๆ ผลต่อ สภาพร่างกายของผู้เสพ
ผู้เสพจะเป็นโรคขาดวิตามินและแร่ธาตุสำาคัญต่อร่างกายเนื่องมา
จากรับประทาน อาหารไม่เพียงพอ นำ้าหนักจะลด ลงอย่างรวดเร็วจน
เห็นได้ชัด ภูมิต้านทานโรคของร่างกายถดถอย การเสพเป็นระยะนาน
ๆ จะทำาให้ระบบการทำางานของปอด ตับ และ ไต ชำารุด นอกจากนั้น
ยังทำาให้มีอาการเสพติดทางจิตซึ่งนำาไปสู่การฟั่นเฟือน ทางจิต โรคนอน
ไม่หลับ กระวนกระวาย ซึมเศร้าและอ่อนเพลียผู้เสพจำาต้องเพิ่มปริมาณ
การเสพมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้บรรลุถึงความเปี่ยมสุขที่เคยประสบ
นโยบายและยุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติดในสถานศึกษา
นโยบายรัฐเกี่ยวกับยาเสพติด
11 กันยายน 2554 เวลา 10.00 น. ณ ตึกสันติไมตรี ทาเนีย
บรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานเปิด
“ ”ปฏิบัติการวาระแห่งชาติ พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด โดยมี
ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บารุง รอง นรม., รมว.มท.รมว.ยธ.รมว.สธ., รมว.กห.
ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม โดยสรุป ดังนี้
เมื่อวันที่ 11 ส.ค.54 ที่ผ่านมา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม
ราชินีนาถ มีกระแสพระราชดารัส ที่พระราชทานแก่คณะบุคคลที่ เข้า
เฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 12
สิงหาคม 2554 ณ ศาลาดุสิดาลัย โดยขอความร่วมมืออย่างจริงจังจาก
รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติ ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด รัฐบาลจึงได้
กาหนดให้ปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ ที่ทุกภาคส่วนในสังคมจะ
ต้องมีความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจ เร่งแก้ไขปัญหายาเสพติด อย่าง
“จริงจังและต่อเนื่อง โดยกาหนดให้มียุทธศาสตร์ พลังแผ่นดินเอาชนะ
”ยาเสพติด ด้วยการรวมพลังทุกภาคส่วนเป็นพลังแผ่นดินในการต่อสู้กับ
ยาเสพติด โดยยึดหลักผู้เสพคือผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบาบัดรักษาให้กลับ
มาเป็นคนดีของสังคม และสั่งการให้มีการกากับติดตามช่วยเหลืออย่าง
เป็นระบบ รวมทั้งดาเนินการป้องกันกลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไปไม่ให้
เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ยึดหลักนิติธรรมในการปราบปรามลงโทษ
ผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้มีอิทธิพล และผู้ประพฤติมิชอบ มีการบังคับใช้กฎหมาย
อย่างเคร่งครัด และดาเนินการอย่างจริงจังในการป้องกันปัญหาด้วยการ
แสวงหาความร่วมมือเชิงรุกกับต่างประเทศในการควบคุมและสกัดกั้นยา
เสพติด สารเคมี และสารตั้งต้นในการผลิตยาเสพติดที่ลักลอบเข้าสู่
ประเทศ ภายใต้การบริการจัดการอย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์หลักของยุทธศาสตร์ ยุติสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของยาเสพติด ภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ 7 แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เร่ง ยึดเป็นหลักในการขับเคลื่อนงาน
ยาเสพติด 7 แผน ดังนี้
1. แผนสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด ทาให้
หมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ ประมาณ 60,000 แห่ง มีการรวมตัวเป็น
พลังแผ่นดิน ในการป้องกันเฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหายาเสพติดใน
หมู่บ้าน/ชุมชน
2. แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพผู้ติด (Demand) ลดจานวนผู้เสพ
ยาเสพติดในประเทศไทย 1.2 ล้านคน ใน 4 ปี โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่า
ในปีแรกจะดาเนินการให้ได้ถึง 400,000 คนทั่วประเทศ ติดตามช่วย
เหลือฟื้นฟู ไม่ให้กลับมา เสพซ้า ประมาณ 80 % ใน 1 ปี
3. แผนสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติด (Potential Demand)
มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้กับประชาชน เยาวชนทั่วไป เยาวชนกลุ่ม
เสี่ยง ซึ่งจะเป็นการตัดการเพิ่มขึ้นของผู้เสพรายใหม่
4. แผนปราบปรามยาเสพติดและบังคับใช้กฎหมาย ลดผู้ผลิต ผู้ค้า
ผู้ลาเลียงยาเสพติดในทุกระดับ โดยบังคับใช้กฎหมายตามหลักนิติธรรม
อย่างเคร่งครัด ใช้มาตรการทางด้านทรัพย์สิน การสืบสวนขยายผล
เป็นแนวทางปฏิบัติหลัก
5. แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ รัฐบาลจะแสวงความร่วมมือ
กับต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อร่วมกันปราบ
ปรามการผลิตและค้ายาเสพติด รวมทั้ง ใช้นโยบายเชิงรุกในการพัฒนา
พื้นที่ชายแดนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เพื่อให้ชายแดนมีความเป็นอยู่อย่างสันติ
6. แผนสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดน สกัดกั้นยาเสพติดตาม
แนวชายแดนทุกด้าน มิให้มีการลักลอบนายาเสพติดสู่ประเทศไทย โดย
เฉพาะอย่างยิ่ง ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
7. แผนบริหารจัดการแบบบูรณาการ ระดมสรรพกำาลังทั้งประเทศ
เข้าแก้ไขปัญหายาเสพติด มีการจัดองค์กร กลไกการแก้ไขปัญหายา
เสพติดทุกระดับ และบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
4 ปรับ เพื่อทาให้การเอาชนะยาเสพติด มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
1. ปรับปรุงข้อมูล การข่าวให้ถูกต้อง ทันสมัย
2. ปรับบทบาท พฤติกรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ
3. ปรับกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ
4. ปรับทัศนคติของสังคมและชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด
3 หลัก ยึด 3 หลักในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย
1. หลักเมตตาธรรมที่มีความรักในเพื่อนมนุษย์อยากเห็นคน
ผิดกลับตัวเป็นคนดี คืนความรักให้ครอบครัว คืนสุขให้ชุมชน
2. ยึดหลักนิติธรรม ทางกฎหมายมาบังคับใช้อย่างจริงจัง
ตามหลักนิติธรรม
3. หลักแก้ปัญหาโดยยึดพื้นที่เป็นตัวตั้ง โดยยึดจังหวัด
อำาเภอ ตาบล หมู่บ้าน เป็นตัวตั้งของการแก้ไขปัญหา ให้พื้นที่เป็น
เจ้าของปัญหา
6 เร่ง ข้อฏิบัติเร่งด่วน 6 เรื่องที่จะต้องเร่งดาเนินการ
1. เร่งดาเนินการในด้านข้อมูล ให้ทุกหน่วยหาข้อมูลปัญหา
ยาเสพติดที่เป็นจริงในระดับพื้นที่
2. เร่งลดจานวนผู้เสพยาจากหมู่บ้าน/ชุมชน จัดทาแผนบา
บัดรักษาลดจานวนผู้เสพยาเสพติดในพื้นที่
3. เร่งแสวงหาความร่วมมือกับต่างประเทศและการสกัดกั้น
ยาเสพติด
4. เร่งปราบปรามผู้ค้า ลดความเดือดร้อนของประชาชนจาก
ปัญหายาเสพติด ตามที่ข้อร้องเรียนของประชาชนผ่านช่องทาง
ต่างๆ ให้เป็นเรื่องเร่งด่วนลาดับแรก และจะมีการแจ้งผลการดา
เนินงานให้ประชาชนรับทราบ ขยายผลการยึดทรัพย์ผู้ค้ายาเสพ
ติดตามหลักนิติธรรม ให้เพิ่มมากขึ้น
5. เร่งแก้ไขปัญหาเยาวชนกลุ่มเสี่ยงทั้งในและนอกสถาน
ศึกษา ให้ทุกจังหวัดเข้มงวด กวดขันพื้นที่เสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงที่สร้าง
ความเดือดร้อนราคาญให้กับชุมชนและสังคม เร่งสร้างระบบ
ป้องกัน และเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษาในทุกจังหวัด เพื่อ
สร้างความสบายใจให้กับผู้ปกครอง
6. เร่งสร้างหมู่บ้าน/ชุมชนให้มีความเข้มแข็ง โดยน้อมนา
พระราชดารัสสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 11
สิงหาคม 2554 เรื่องโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน จะทาให้
หมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินทั้งหมดที่มีอยู่มีความเข้มแข็ง จะ
ขยายจานวนหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินให้เพิ่มขึ้น ประมาณ
50% ของหมู่บ้าน/ชุมชนทั้งประเทศในระยะ 4 ปี
นโยบายด้านการป้องกันยาเสพติดของกระทรวง
ศึกษาธิการ
นายชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น
ฐาน (เลขาธิการ กพฐ.)เปิดเผยว่า ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ มอบ
นโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาภายใต้
ยุทธศาสตร์"รั้วโรงเรียน" และนโยบายด้านภูมิคุ้มกันยาเสพติด (Drug-
Free) เพื่อให้สถานศึกษาทุกสังกัดดำาเนินการป้องกัน แก้ไข หยุดยั้ง
และลดระดับการแพร่ระบาดยาเสพติดในสถานศึกษานั้น สพฐ. ได้จัดทำา
เกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัดเครื่องมือ และคู่มือการประเมินผลการดำาเนิน
งานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและมอบให้
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริมกำากับ ติดตามและประเมินผลการ
ดำาเนินงานของสถานศึกษาในสังกัด ภายใต้ระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนและแผนยุทธศาสตร์ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี (3D) ของ
ศธ. เพื่อให้สถานศึกษาได้รับการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกัน
และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาอย่างยั่งยืน
รวมทั้งได้แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกสถานศึกษาดีเด่นในระดับ
สพฐ.นั้น เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและลดปัญหาการแพร่
ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษา รวมทั้งเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน
องค์กรประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดำาเนินงานแก้ไขปัญหายา
เสพติดในสถานศึกษาภายใต้ยุทธศาสตร์"รั้วโรงเรียน" จึงได้เชิญผู้รับ
ผิดชอบงานยาเสพติดจากสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหารสถาน
ศึกษาดีเด่น ด้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด รวม 136 แห่งเข้า
ร่วมประชุมปฏิบัติการถอดบทเรียนสถานศึกษาดีเด่นในการป้องกันและ
แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาภายใต้ยุทธศาสตร์"รั้วโรงเรียน"
และนโยบายด้านภูมิคุ้มกันยาเสพติด (Drug-Free) และเพื่อยกย่อง
เชิดชูเกียรติผู้บริหารสถานศึกษาที่ยอมรับปัญหาและป้องกัน/แก้ไข
ปัญหาอย่างจริงจังรวมทั้งเพื่อเป็นขวัญกำาลังใจ จึงได้จัดพิธีมอบโล่
รางวัลให้แก่สถานศึกษาดีเด่นในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ในสถานศึกษาภายใต้ยุทธศาสตร์ "รั้วโรงเรียน" ระดับประเทศ ในวันที่
28 ก.พ.54 ณ รร.ริเวอร์ไซด์ กรุงเทพฯ ทั้งนี้คาดว่าจากการประชุม
ครั้ง สพฐ.จะมีสถานศึกษาที่เป็นต้นแบบในการขยายผล สู่สถาน ศึกษา
ทั่วประเทศ อีกทั้งยังเป็นการสร้างกระแสให้หน่วยงานสถานศึกษาจัด
กิจกรรมให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีและมีพฤติกรรมตาม
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน
สถานศึกษาและที่สำาคัญเรายังจะได้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้ยุทธศาสตร์"รั้วโรงเรียน"
อีกด้วย
ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด
ตามที่รัฐบาลได้กำาหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
เป็นวาระแห่งชาติ
โดยนายกรัฐมนตรีได้ลงนามในคำาสั่งสำานักนายกรัฐมนตรี ที่
154/2554 กำาหนด ยุทธศาสตร์
พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด และจัดตั้งศูนย์อำานวยการพลังแผ่นดิน
เอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ (ศพส.)
เป็นองค์กรอำานวยการระดับชาติ โดยมีกลยุทธ์การดำาเนินงาน คือ 7
แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เร่ง เพื่อให้ทุกงานที่เกี่ยวข้องยึดเป็นหลักในการ
ขับเคลื่อนงานยาเสพติด ซึ่งได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการ เป็น
หน่วยงานหลัก รับผิดชอบแผนที่ 3 แผนการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกัน
ยาเสพติดในสถานศึกษา
โดยมีเป้าหมายและตัวชี้วัดการดำาเนินงาน ได้แก่
1. โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในสถานศึกษา กำาหนด
ให้นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำานวน 30% ทั่วประเทศ ซึ่งเป็นกลุ่ม
เป้าหมายเยาวชนก่อนวัยเสี่ยงลำาดับแรกสุดที่จะเพิ่มภูมิคุ้มกันป้องกันยา
เสพติด ซึ่งแนวทางการปฏิบัติ เน้นให้สถานศึกษาให้ความสำาคัญในการ
เปิดโอกาสให้ ครูพระ ครู D.A.R.E. และครูตำารวจ เข้าสอนในสถาน
ศึกษาที่ตั้งอยู่พื้นที่อำาเภอ ที่มีความหนาแน่นของปัญหายาเสพติดใน
เกณฑ์สูง
2. โครงการป้องกัน เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาน
ศึกษา กำาหนดสถานศึกษาในระดับประถมศึกษา (ขยายโอกาส)
มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา สถานศึกษาเอกชน สถาบันอุดมศึกษาเป็นเป้า
หมายการป้องกัน เฝ้าระวังยาเสพติด และลดปัญหาเสี่ยง ซึ่งแนวทาง
การปฏิบัติเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักเรียน กลุ่มเสพ/กลุ่มเสี่ยง
โดยให้สถานศึกษาสำารวจและค้นหานักเรียนกลุ่มเสพ/กลุ่มเสี่ยง เพื่อจัด
กิจกรรมดูแลช่วยเหลือและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตลอดจนกิจกรรมเพื่อ
การป้องกันและพัฒนากลไกการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถาน
ศึกษา เช่น โครงการ To Be Number One ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น
โครงการลูกเสือต้านภัยยาเสพติด โครงการเจ้าหน้าที่ตำารวจประจำา
สถานศึกษา และศูนย์เครือข่ายเจ้าพนักงานส่งเสริมความประพฤติ
นักเรียน เป็นต้น
3. การขจัดภัยเสี่ยงรอบสถานศึกษาได้รับการแก้ไขทุกจังหวัด
โดยให้สถานศึกษา
ทุกสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัด
ประเมินและชี้เป้าปัจจัยเสี่ยงและจุดเสี่ยงโดยรอบสถานศึกษา และให้
รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1
ที่ได้รับมอบหมาย ในฐานะเลขานุการร่วมของคณะกรรมการ
ศพส.จังหวัด นำาเสนอข้อมูลในภาพรวม เสนอต่อคณะกรรมการ
ศพส.จังหวัด เพื่อร่วมกันดำาเนินการป้องกัน แก้ไขปัญหา
กระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาแล้วเห็นว่าเพื่อให้การนำานโยบาย
และยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็น
รูปธรรม และมีความชัดเจน กระทรวงศึกษาธิการจึงขอซักซ้อม และ
ทบทวน ในเรื่องกลไกการบริหารจัดการและการจัดทำาแผนงาน/
โครงการ ให้หน่วยงานท่านทราบ และจัดแผนงาน/โครงการ ให้
สอดคล้องกับเป้าหมาย ตัวชี้วัด ดังนี้
1. กลไกการบริหารจัดการระดับจังหวัด
คำาสั่งสำานักนายกรัฐมนตรี ที่ 156/2554 เรื่อง จัดตั้งศูนย์อำานวย
การและศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดระดับพื้นที่ ที่
เกี่ยวข้องกับจังหวัด ประกอบด้วย
- ศูนย์อำานวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัด เรียกโดย
ย่อว่า ศพส.จ. เป็นกลไกบูรณาการการปฏิบัติในพื้นที่จังหวัด มีรองผู้ว่า
ราชการที่ได้รับมอบหมายเป็นประธาน โดยมีผู้อำานวยการสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษา ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย เป็นรองผู้อำานวยการ
และมี
รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ได้รับมอบหมาย เป็น
กรรมการและเลขานุการร่วม
- ศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดอำาเภอ เรียกโดย
ย่อว่า ศพส.อ. เป็นกลไกบูรณาการการปฏิบัติในพื้นที่อำาเภอ มีผู้แทน
สถานศึกษาในอำาเภอที่สำานักงานเขตพื้นที่มอบหมาย
เป็นกรรมการ
ดังนั้น เพื่อให้การมอบหมายผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ เป็นไปใน
ทิศทางเดียวกัน โดยเฉพาะองค์ประกอบของศูนย์อำานวยการพลังแผ่น
ดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัด (ศพส.จ.) กระทรวงศึกษาธิการ จึงขอมอบ
หมาย
1) ให้รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เขต 1 ที่รับผิดชอบงานยาเสพติด เป็นกรรมการและเลขานุการร่วมของ
ศพส.จ. โดยมีบทบาทบูรณาการและเชื่อมต่อการทำางานด้านการสร้าง
ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดของสถานศึกษาในสังกัดต่างๆ ในจังหวัด
2) ให้สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 เป็นผู้
แทนกระทรวงศึกษาธิการในจังหวัด ทำาหน้าที่ในการอำานวยการ
ประสานงาน กับทุกภาคส่วน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ในสถานศึกษา ภายในจังหวัด ทั้งนี้ยังคงใช้กลไกของศูนย์ประสาน
งานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษาจังหวัด ใน
การบูรณาการ ขับเคลื่อนงานของหน่วยงานทางการศึกษา
ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
2. การจัดทำาแผนงาน/โครงการ
1) การจัดทำาแผนงาน/โครงการ แผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดิน
เอาชนะยาเสพติด พ.ศ. 2555 ได้กำาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดการ
ดำาเนินงาน ตามรายละเอียดแนวทางจัดกิจกรรมข้างต้น
ซึ่งในไตรมาสที่ 1 (1 ตุลาคม 2554 – 31 มกราคม 2555 )
สำานักงาน ป.ป.ส. ได้กำาหนดเป้าหมาย
ที่จะดำาเนินการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน การป้องกัน เฝ้าระวังและแก้ไข
ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา จำานวน 1,781 แห่ง ใน 76 จังหวัดทั่ว
ประเทศ (ยกเว้นกทม.) สถานศึกษาละ 5,000 บาท โดยแนวทางดัง
กล่าว ได้กำาหนดให้ ศพส.จ. เป็นผู้ดำาเนินการอนุมัติแผนและงบ
ประมาณให้กับสถานศึกษา
2) สำานักงาน ป.ป.ส. ได้กำาหนดจำานวนสถานศึกษาเป้าหมายที่จะ
ดำาเนินการในแต่ละจังหวัด และได้แจ้งให้ ศพส.จ. และ ปปส.ภาค
ทราบแล้ว แต่ไม่ได้ระบุรายชื่อสถานศึกษา ดังนั้นการจัดทำาแผนงาน/
โครงการในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน การป้องกัน เฝ้าระวังและแก้ไข
ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ให้พิจารณาคัดเลือกรายชื่อสถานศึกษา
เป้าหมาย ให้สอดคล้องกับเป้าหมายหลักตามตัวชี้วัดดังกล่าวข้างต้น
และสอดคล้องกับอำาเภอ ที่มีความหนาแน่นของปัญหายาเสพติดใน
เกณฑ์สูง จำานวน 338 อำาเภอ
รายละเอียดเป้าหมาย แนวทางการดำาเนินงาน และอำาเภอที่มีความหนา
แน่นของปัญหายาเสพติด อยู่ในคำาสั่งที่ 1/2554 เรื่อง แผน
ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด พ.ศ. 2555 สามารถ
Download ได้ที่ www.nccd.go.th/ หรือ
www.skp.moe.go.th/th/
3) สำานักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษา เขต 1 ของทุกจังหวัด ทำา
หน้าที่เป็นหลักในการประสานแผนงาน/โครงการ/งบประมาณ และการ
รายงานผลในภาพรวมของจังหวัด โดยบูรณาการ และขับเคลื่อนงาน
ร่วมกับสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 2 -
7 ,สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา และทุกสถานศึกษาใน
สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ตั้งอยู่ในจังหวัด
บทที่ 3
ระเบียบวิธีการดำาเนินการวิจัย
กาวิจัยเพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมภายใต้โครงการ ASEAN
Youth Anti-Drug (3 Spots: Skit – Radio - Media Anti-Ice)
ของโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีวิธีการดำาเนินการ
ดังต่อไปนี้
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย มีดังนี้
1. ผู้อำานวยการโรงเรียน รองผู้อำานวยการโรงเรียน ครูใน
โรงเรียน และนักเรียนในโรงเรียน ปีการศึกษา 2555 จำานวน
ทั้งสิ้น 1,761 คน
2. นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร ปีการศึกษา 2555 จำานวน
1,661 คน โดยแบ่งเป็น 2 ระดับคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
300 คน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 300 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย มีวิธีการดังนี้
กลุ่มตัวอย่างที่ 1 คณะครูโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัด
บุรีรัมย์ สุ่มแบบเฉพาะเจาะจง จำานวน 40 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ 2 นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัด
บุรีรัมย์ ดำาเนินการโดยการสุ่มทุกระดับ ทุกห้องเรียน และสุ่มอย่างง่าย
ในทุกห้องเรียน โดยใช้ตารางของยามาเน่ Yamane Taro (เกษม
สาหร่ายทิพย์, 2543: 350)
ที่ สถานภาพ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง
1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1
320
100
2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 2
290
100
3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 3
250
100
4 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 4
300
100
5 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี 250 100
ที่ 5
6 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 6
251
100
รวม 1661 600
ตารางที่ 1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างของนักเรียน
การออกแบบรวบรวมข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางในการ
สร้างเครื่องมือวิจัย
วัตถุประสงค์ที่ 1
เพื่อศึกษาสภาพการดำาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาไอซ์
ภายในโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
1. ด้านการวางแผน
2. ด้านการจัดรูปแบบงาน
3. ด้านการดำาเนินงาน
4. ด้านการประเมินผลงาน
แหล่งข้อมูล
1. คณะครูโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
2. นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
3. ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร จังหวัดบุรีรัมย์
เครื่องมือ
แบบสอบถามและแบบสอบถามแบบปลายเปิด
วัตถุประสงค์ที่ 2
เพื่อศึกษาปัญหาการดำาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาไอซ์
ของโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
1. ด้านการวางแผน
2. ด้านการจัดรูปแบบงาน
3. ด้านการดำาเนินงาน
4. ด้านการประเมินผลงาน
แหล่งข้อมูล
1. คณะครูโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
2. นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
3. ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร จังหวัดบุรีรัมย์
เครื่องมือ
แบบสอบถามและแบบสอบถามแบบปลายเปิด
วัตถุประสงค์ที่ 3
Ice research 30 08-2012 (1)
Ice research 30 08-2012 (1)
Ice research 30 08-2012 (1)
Ice research 30 08-2012 (1)
Ice research 30 08-2012 (1)
Ice research 30 08-2012 (1)

More Related Content

Similar to Ice research 30 08-2012 (1)

Similar to Ice research 30 08-2012 (1) (9)

ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
5555
55555555
5555
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdfsaiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
 

More from Kruthai Kidsdee

คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sitesKruthai Kidsdee
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน GoogleKruthai Kidsdee
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesKruthai Kidsdee
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsKruthai Kidsdee
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Kruthai Kidsdee
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันKruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091Kruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 

More from Kruthai Kidsdee (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 

Ice research 30 08-2012 (1)

  • 1. วิจัยรายงานผลการจัดกิจกรรมภายใต้ โครงการ ASEAN Youth Anti-Drug (3 Spots: Skit – Radio - Media Anti- Ice) ประกอบการนำาเสนอผลงานในโครงการ Thailand Youth Initiative Against Drugs
  • 2. สารบัญ สารบัญ............................................................................2 บทที่ 1 บทนำา..............................................................................4 ความเป็นมาและความสำาคัญของปัญหา.......................4 วัตถุประสงค์ของการวิจัย.............................................4 สมมติฐานของการวิจัย.................................................5 ความสำาคัญของการวิจัย..............................................5 ขอบเขตของการวิจัย...................................................5 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง..........................6 ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ..................................6 ความหมายของยาเสพติดให้โทษ.............................6 ประเภทของยาเสพติดให้โทษ...................................6 ชนิดของยาเสพติดให้โทษในปัจจุบัน.......................7 โทษและภัยของยาเสพติด.......................................13 ความรู้เกี่ยวกับยาไอซ์...............................................14 ความหมายของยาไอซ์...........................................14 โทษของการใช้ยาไอซ์...........................................15 นโยบายและยุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในสถานศึกษา............................................15 นโยบายรัฐเกี่ยวกับยาเสพติด.................................15 นโยบายด้านการป้องกันยาเสพติดของกระทรวง ศึกษาธิการ.............................................................18 ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด..............19 บทที่ 3 ระเบียบวิธีการดำาเนินการวิจัย.......................................23 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.........................................23
  • 3. การออกแบบรวบรวมข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางในการ สร้างเครื่องมือวิจัย.....................................................24 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย...........................................25 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย.............................25 การเก็บรวบรวมข้อมูล................................................26 การวิเคราะห์ข้อมูล.....................................................26 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล...................................................28 แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้าน ยาไอซ์ในโรงเรียน....................................................28 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ................................30
  • 4. บทที่ 1 บทนำา ความเป็นมาและความสำาคัญของปัญหา ปัจจุบันนี้ปัญหายาเสพติดกลับมาแพร่ระบาดอีกครั้ง โดยเฉพาะยา ไอซ์ที่ปัจจุบันนี้กำาลังระบาดหนักในกลุ่มเด็กและเยาวชนที่ชอบออก เที่ยวกลางคืน นอกจากนั้นแล้วนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่จุดเสี่ยง หลายที่ ก็กำาลังประสบปัญหาการแพร่ระบาดของยาไอซ์ในชุมชนรอบ โรงเรียนเช่นกัน ถ้าหากปัญหาการแพร่ระบาดของยาไอซ์ยังไม่ได้รับ การแก้ไข หรือควบคุมให้ลดน้อยลง อาจส่งผลให้การแพร่ระบาดของยา ไอซ์ ลุกลามเข้ามาถึงในโรงเรียน ทุกคนล้วนตระหนักดีกว่า โรงเรียน คือสถานที่ราชการ และเป็นสถานที่ซึ่งธำารงไว้ซึ่งคุณงามความดี การที่ จะทำาให้นักเรียนในโรงเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโทษภัยของยาไอซ์นั้น ไม่ใช่เรื่องยาก แต่เป็นเรื่องที่ต้องคิดกันว่าทำาอย่าง นักเรียนจึงจะ สามารถปฏิบัติตามที่โรงเรียนแนะนำาได้ กลุ่มเยาวชนต้นกล้าความดี โรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีกลุ่มประชากรจำานวน 1,661 คน และบุคคลกร ทางการศึกษามากกว่า 90 คน ได้ตระหนักเห็นความสำาคัญการให้ความ รู้ความเข้าใจ การเข้าถึงเพื่อศึกษาปัญหาและการดึงให้ทุกฝ่ายให้มีส่วน ร่วมในการดำาเนินการเพื่อหาแนวทางการป้องกันยาเสพติด จึงได้จัดทำา วิจัยเพื่อศึกษาการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนโดยใช้ชื่อ โครงการว่า ASEAN Youth Anti-Drug (3 Spots: Skit – Radio - Media Anti-Ice) ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนการดำาเนินกิจกรรม จากสำานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เพื่อดูว่า ผลการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์มีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด ต่อ การสร้างความเข้าใจ และสร้างเกราะป้องกันนักเรียนในโรงเรียนจาก พิษภัยของยาไอซ์ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาถึงผลการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน 2. เพื่อศึกษาเจตคติต่อการเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ของ นักเรียนในโรงเรียน
  • 5. สมมติฐานของการวิจัย 1. นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากยาไอซ์ 2. นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์เกิดเจตคติ ที่ดีต่อการเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน ความสำาคัญของการวิจัย ผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นตัวบ่งบอกได้ว่า นักเรียนโรงเรียนภัทร บพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีความรู้สึก และเจตคติอย่างไรต่อการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ใน โรงเรียน ซึ่งในอนาคตสามารถนำาไปปรับปรุงเป็นกิจกรรมเสริมการ เรียนการสอนในชั่วโมงเรียนได้ เพื่อให้นักเรียนเกิดการตื่นตัวในการ ดูแลรักษาตนเองหลีกเลี่ยงยาเสพติดทุกชนิด เข้าใจ และช่วยเหลือผู้อื่น ได้ถูกต้อง ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ มุ่งศึกษาผลการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ใน โรงเรียน ดังนี้ 1. เนื้อหาของการวิจัย เป็นการวิจัยตามสภาพจริง เก็บข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่างสมำ่าเสมอ ซึ่งจัดทำาในลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพ 2. ประชากรกลุ่มตัวอย่าง 2.1 ประชากร ได้แก่ ผู้อำานวยการโรงเรียน รองผู้อำานวย การโรงเรียน ครูในโรงเรียน และ นักเรียนในโรงเรียน ปีการศึกษา 2555 จำานวนทั้งสิ้น 1,761 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร ปีการ ศึกษา 2555 จำานวน 1,661 คน โดยแบ่งเป็น 2 ระดับคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 400 คน และระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย 200 คน การสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling) 3. ตัวแปรที่ใช้วิจัย 3.1 ตัวแปรต้น คือ นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 3.2 ตัวแปรตาม คือ อัตราส่วนของจำานวนนักเรียนที่มีความคิด เห็นต่อการจัดกิจกรรมต่อต้าน ยาไอซ์ในโรงเรียนระดับความพึงพอใจ ระดับ 3 (ดี) ขึ้นไป
  • 6. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการดำาเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายา ไอซ์ในโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้วิจัยได้ศึกษา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 1. ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ 1.1 ความหมายของยาเสพติดให้โทษ 1.2 ประเภทของยาเสพติดให้โทษ 1.3 ชนิดของยาเสพติดให้โทษในปัจจุบัน 1.4 โทษและภัยของยาเสพติด 2. ความรู้เกี่ยวกับยาไอซ์ 2.1 ความหมายของยาไอซ์ 2.2 โทษของการใช้ยาไอซ์ 3. นโยบายและยุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ ติดในสถานศึกษา 3.1 นโยบายรัฐเกี่ยวกับยาเสพติด 3.2 นโยบายด้านการป้องกันยาเสพติดของกระทรวง ศึกษาธิการ 3.3 ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ ความหมายของยาเสพติดให้โทษ ยาเสพติดให้โทษ หมายความว่า สารเคมี หรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่ง เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประ การใดๆ แล้ว ทำาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำาคัญเช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพเรื่อยๆ มีอาการถอนยา เมื่อขาดยามีความ ต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตอย่างรุนแรงอยู่ตลอดเวลาและ สุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กลับให้รวมถึงพืช หรือ ส่วนของพืชที่ เป็น หรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษ หรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติด ให้โทษและสารเคมี ที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษดังกล่าวด้วย (กรมสามัญศึกษา, 2540: 3-4) ประเภทของยาเสพติดให้โทษ จำาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท
  • 7. 1. ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับประสาท ยากล่อมประสาทเครื่องดื่มมึนเมา ทุกชนิด รวมทั้ง สารระเหย เช่น ทินเนอร์ แล็กเกอร์ นำ้ามันเบนซิน กาว เป็นต้น มักพบว่าผู้เสพติดมี ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้งซ่าน อารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย 2. ประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ ยาบ้า ยาอี กระท่อม โคเคน มักพบว่าผู้เสพติดจะมีอาการ หงุดหงิด กระวนกระวาย จิต สับสนหวาดระแวง บางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่ง หรือทำาในสิ่งที่คน ปกติ ไม่กล้าทำา เช่น ทำาร้ายตนเอง หรือฆ่าผู้อื่น เป็นต้น 3. 3. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี และ เห็ดขี้ควาย เป็นต้น ผู้เสพติดจะมีอาการประสาทหลอน ฝันเฟื่องเห็นแสงสี วิจิตรพิสดาร หูแว่ว ได้ยินเสียง ประหลาดหรือเห็นภาพหลอนที่ น่าเกลียดน่ากลัว ควบคุมตนเองไม่ได้ ในที่สุดมักป่วยเป็น โรคจิต 4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน คือทั้งกระตุ้นกดและหลอนประสาท ร่วมกันได้แก่ ผู้เสพติดมักมี อาการหวาดระแวง ความคิดสับสน เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเป็นโรคจิต ได้ ชนิดของยาเสพติดให้โทษในปัจจุบัน ยาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาของชาติอยู่ในขณะนี้ มีประวัติความเป็น มาอย่างไรเป็นสิ่งที่น่าสนใจ เพราะมนุษย์ได้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดมา เป็นเวลาช้านาน บางชนิดก็ให้ทั้งคุณประโยชน์และโทษ บางชนิดก็มี แต่โทษภัยเท่านั้น ซึ่งในปัจจุบันมียาเสพติดชนิดต่าง ๆ ในท้องตลาด มากกว่า 120 ชนิด อย่างไรก็ตามยาเสพติดชนิดแรกที่คนไทยรู้จักก็คือ 1. ยาไอซ์ (Ice) อุทัย สุขวิวัฒน์ศิริกุล (2553) กล่าวว่า ยา ICE หรือ ไอซ์ นั้น มันมีชื่อทางเคมีว่า เมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ ที่อยู่ใน รูป เมทแอมเฟตามีนในรูปผลึกใส Crystal Methamphetamines Hydrochloride ความบริสุทธิ์สูง สังเคราะห์จากสารอีเฟดรีน (Ephedrine) “ชื่อ ICE” เรียกตาม ลักษณะที่ปรากฏ คือ ก้อนผลึกใสเหมือนนำ้าแข็ง ปัจจุบันจัดเป็นยา เสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ดังนั้น ยา ไอซ์ ก็คือยาบ้า หรือ เมทแอมเฟตามีน ในรูปแบบ ที่บริสุทธ์มีลักษณะเป็นผลึกใสเหมือนแก้ว จึงเรียกว่า ICE ตามรูป แบบยา นิยมเรียกกันในหมู่ผู้เสพ และเนื่องจากมีราคาแพงกว่า
  • 8. ยาบ้า จึงมักใช้กันในกลุ่มไฮโซ ดารา กลุ่มนักเที่ยวที่มีอำานาจการ จับจ่ายสูง ยาไอซ์มีชื่อหลากไปแล้วแต่แหล่ง ไอซ์คือชื่อตามท้องถนน ที่เรียกดังนี้เพราะมักปรากฏในรูปแบบของผลึกโปร่งใสคล้าย กระจกหรือก้อนนำ้าแข็ง ซึ่งอาจมีสีสันหลากกันไป จะเป็นสีชมพู สี ฟ้าหรือเขียว ชื่ออื่นๆของไอซ์ ได้แก่ meth, crystal meth, shabu, glass, krank, tweak และ tina แล้วแต่จะนิยมเรียก ในแหล่งนั้นๆ ไอซ์จะไม่มีกลิ่นและมีอันตรายสูงกว่าโคเคนมาก อานุภาพ ในการทำาให้ผุ้เสพต้องการและหันไปเสพติดจะรุนแรงกว่า สีของ ไอซ์จะมีอยู่หลายสี แต่ละสีจะบ่งบอกถึงระดับความบริสุทธิ์และ ความรุนแรงของไอซ์ ไอซ์ที่มีลักษณะเป็นผลึกใส คือไอซ์ที่ผลิตจากนำ้า (Water- base) จะเผาไหม้อย่างรวดเร็ว เมื่อเผาแล้วจะเหลือ คราบลักษณะ คล้ายนำ้านม ไอซ์ที่มีสีเหลืองจะผลิตจากนำ้ามัน (Oil-base) ซึ่งจะ เผาไหม้ได้ช้ากว่าจะมีคราบเป็น สีนำ้าตาลหรือสีดำาเมื่อเผาไหม้แล้ว ยาเสพติดประเภทนี้ เมื่อเผาไหม้แล้วจะไม่มีกลิ่น จึงทำาให้ผู้เสพ นิยมเพราะ ไม่มีกลิ่นผิดปกติ เหมือนกัญชา อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำาให้ คนนิยมคือราคาถูกกว่าโคเคนมากในย่านอเมริกาใต้ และให้ผล ในด้านการเปี่ยมสุขที่นานกว่า แต่คุณครับ คุณไม่รู้หรอกว่าไอซมี พลานุภาพด้านเสพติดต่อร่างกายของเราที่รุนแรงกว่าเฮโรอีน ตอนเสพก้อเพลินตามปัจจัยปรุงแต่ง แต่พอยาหมดฤทธิ์ไปแล้ว สภาวะเปี่ยมสุขก้อจะละลายกลายมาเป็นอาการซึมเศร้า (Depression หรือ Crash) ที่ยาวนานมากๆเป็นระยะเวลา หลาย ๆ วัน 2. ยาบ้า (Amphetamine) ยาบ้า เป็นชื่อที่ใช้เรียกยาเสพติดที่มีส่วนผสมของสารเคมี ประเภท แอมเฟตามีน (Amphetamine) สารประเภทนี้แพร่ ระบาดอยู่ 3 รูปแบบ ด้วยกัน คือ แอมเฟตามีนซัลเฟต (Amphetamine Sulfate) เมทแอมเฟตามีน (Methamphetamine) และเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ (Methamphetamine Hydrochloride) ซึ่งจากผลการตรวจ พิสูจน์ยาบ้าปัจจุบัน ที่พบอยู่ในประเทศไทยมักพบว่า เกือบทั้งหมด มีเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ผสมอยู่ ยาบ้า จัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มี ลักษณะเป็นยาเม็ดกลมแบนขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6-8 มิลลิเมตร ความหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร นำ้าหนักเม็ดยา
  • 9. ประมาณ 80-100 มิลลิกรัม มีสีต่างๆ กัน เช่น สีส้ม สีนำ้าตาล สี ม่วง สีชมพู สีเทา สีเหลืองและสีเขียว มีสัญลักษณ์ ที่ปรากฎบน เม็ดยา เช่น ฬ, m, M, RG, WY สัญลักษณ์รูปดาว, รูปพระจันร์ เสี้ยว, 99 หรืออาจเป็นลักษณะของเส้นแบ่งครึ่งเม็ด ซึ่งสัญลักษณ์ เหล่านี้ อาจปรากฏบนเม็ดยาด้านใดด้านหนึ่ง หรือทั้งสองด้าน หรืออาจเป็นเม็ดเรียบทั้งสองด้านก็ได้ การออกฤทธิ์ของยากลุ่มแอมเฟตามีน ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา 1. ออกฤทธิ์กระตุ้นต่อระบบประสาทส่วนกลางให้ตื่นตัว ตลอดเวลา นอนไม่หลับ 2. ทำาให้ความดันโลหิตสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็วและแรงขึ้น 3. กดศูนย์ควบคุมการอยากอาหาร ทำาให้เบื่ออาหาร ทาน น้อยลง เป็นยาลดนำ้าหนักได้ 4. กระตุ้นศูนย์หายใจ ทำาให้หายใจเร็วและแรงขึ้น 5. กระตุ้นระบบสมองส่วนหน้า ทำาให้เกิดอาการความคิด ความอ่านแจ่มใสชั่วขณะ บางราย จะมีอาการสั่น 3. สาระเหย (Volatile Solvent) องค์การอนามัยโลกได้ให้ความหมายของยาเสพติด หรือยา เสพติดให้โทษ ว่าหมายถึง ยาหรือสารที่สามารถมีปฏิกิริยาต่อ ร่างกาย ทำาให้เกิดการติดยาทางร่างกายหรือจิตใจ ทำาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาของร่างกาย เมื่อหยุดใช้ยาจะเกิด อาการเนื่องจากการหยุดยา คือหงุดหงิด ตื่นเต้น หาวนอน นำ้ามูก นำ้าตาไหล เหงื่อออกมาก ขนลุก ตะคริว นอนไม่หลับ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศรีษะ ในกรณีสารระเหย การติดทางจิตใจมีแน่นอน เนื่องจากผู้ที่ จะเสพติดสารระเหยมักมีบุคคลิกภาพและสุขภาพจิตผิดปกติอยู่ ก่อนแล้ว ต้องการใช้สารระเหยเพื่อหลีกเลี่ยงอารมณ์ซึมเศร้า กังวล ฯลฯ องค์การอนามัยโลกได้จัดตัวทำาละลายที่ระเหยง่าย เช่น ethyl acetate ซึ่งพบในลูกโป่งวิทยาศาสตร์ และสารบาง ตัวเช่น thinners ซึ่งพบในกาวต่างๆ เป็นสารระเหยเป็นต้น เนื่องจากสารดังกล่าวเป็นปัญหาต่อการเสพติด สารระเหย (Volatile Substances) สารระเหยหมายถึง สารประกอบอินทรีย์เคมีประเภท ไฮโดรคาร์บอน์ที่ได้มาจากนำ้ามันปิโตรเลี่ยมและก๊าซธรรมชาติ เป็นสารที่ระเหยได้ง่ายในอุณหภูมปกติ สารเหล่านี้เป็นส่วนผสม ในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์ที่พบเห็นได้บ่อยๆ เช่น ทินเนอร์ แลคเกอร์
  • 10. สารระเหยเมื่อแบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ แบ่งออกเป็น 3 พวกใหญ่ๆ คือ 1. สารระเหย (Volatile Substance) เป็นสารประกอบ อินทรีย์เคมีที่ได้มาจากนำ้ามันปิโตรเลี่ยมและก๊าซธรรมชาติ เป็น สารที่ระเหยได้ง่ายในอุณหภูมิห้อง จึงนิยมใช้กันมากใน อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในทางอุตสาหกรรมที่มี คุณสมบัติแห้งระเหยได้เร็ว 2. ตัวทำาละลาย (Solvents) เป็นสารที่เป็นของเหลวใช้เป็น ส่วนผสมทั้งในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในทางอุตสาหกรรม และผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น เฮกเซน มีอยู่ในพลาสติก ซิเมนต์ โทลูอีน ไซลีน มีอยู่ในกาวติดเครื่องบินเด็กเล่น แลกเกอร์ ทินเนอร์ อะซิ โตน ในรูปนำ้ายาล้างเล็บ เบนซิน ในนำ้ายาทำาความสะอาด 3. ละอองลอย (Aerosol) ซึ่งจัดบรรจุในภาชนะที่ใช้ สำาหรับฉีด มีส่วนผสมของไฮโดร-คาร์บอน หรือ ฮาโลคาร์บอน พบมากในรูปของสเปรย์ฉีดผม สีกระป๋องสำาหรับพ่น 4. ฝิ่น (Opium) ฝิ่นเป็นสารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งได้จากยางของผลฝิ่น ใน เนื้อฝิ่นมีสารเคมีผสมอยู่มากมาย ซึ่งประกอบด้วย โปรตีน เกลือแร่ ยางและกรดอินทรีย์เป็นแอลคะลอยด์ (Alkaloid) ซึ่งเป็นตัวการ สำาคัญ ที่ทำาให้ฝิ่นกลายเป็นสารเสพติด ให้โทษที่ร้ายแรง แอลคะ ลอยด์ในฝิ่นแบ่งแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ออกฤทธิ์ทำาให้เกิดอาการมึนเมา และเป็นยา เสพติดให้โทษโดยตรง แอลคะลอยด์ประเภทนี้ทางเภสัชวิทยา ถือว่า เป็นยาทำาให้นอนหลับ (Hypnotic) แอลคะลอยด์ที่เป็นสาร เสพติดซึ่งออกฤทธิ์ตัวสำาคัญที่สุดในฝิ่น คือ มอร์ฟีน (Morphine) ประเภทที่ 2 ออกฤทธิ์ทำาให้กล้ามเนื้อเรียบหย่อนคลายตัว ซึ่งในทางเภสัชวิทยาถือว่า แอลคะลอยด์ในฝิ่นประเภทนี้ไม่เป็น สารเสพติด แต่มีฤทธิ์ทำาให้กล้ามเนื้อของร่างกายหย่อนคลายตัว ซึ่งมีปาปาเวอร์รีน (Papaverine) เป็นตัวสำาคัญ ฝิ่นเป็นพืชล้มลุกขึ้นในที่สูงกว่าระดับนำ้าทะเลประมาณ 3,000 ฟุตขึ้นไป เป็นยาเสพติดที่เป็นต้นตอของยาเสพติดร้ายแรง เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีน และโคเคอีน มีการลักลอบปลูกฝิ่นมากทาง ภาคเหนือของประเทศไทยบริเวณแนวพรมแดน ที่เรียกว่า สามเหลี่ยมทองคำา เนื้อฝิ่นได้มาจากยางของผลฝิ่นที่ถูกกรีดจะมีสีขาว เมื่อถูก อากาศจะมีสีคลำ้าลง กลายเป็นยางเหนียวสีนำ้าตาลไหม้ หรือ ดำา มี
  • 11. กลิ่นเหม็นเขียวและรสขม เรียกว่า ฝิ่นดิบ ส่วนฝิ่นที่มีการนำามาใช้ เสพ เรียกว่า ฝิ่นสุก ได้มาจากการนำาฝิ่นดิบไปต้มหรือเคี่ยวจนสุก ฤทธิ์ทางเสพติด ออกฤทธิ์กดระบบประสาท มีอาการเสพติด ทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีอาการขาดยาทางร่างกาย อาการผู้ เสพ คือ จิตใจเลื่อนลอย ง่วง ซึม แก้วตาหรี่ พูดจาวกวน ความคิด เชื่องช้า ไม่รู้สึกหิว ชีพจรเต้นช้า โทษที่ได้รับนั้น ร่างการทรุด โทรม สมองมึนชา สติปัญญาเสื่อมโทรม 5. มอร์ฟีน (Morphine) มอร์ฟีนเป็น alkaloid ได้จากยางสีขาวขุ่นของผลฝิ่น เมื่อ นำายางนี้มาตากให้แห้ง สีจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีนำ้าตาล มีลักษณะ ข้นเหนียว ถ้าทำาให้แห้งต่อไปจะกลายเป็นผง 25% ตามนำ้าหนัก มี ฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางแรงว่าฝิ่น ประมาณ 8-10 เท่า จัดเป็น ยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้ โทษ พ.ศ.2522 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (แพทย์) มีสิทธ์ครอบ ครองได้โดยต้องขออนุญาตที่กองควบคุมวัตถุเสพติด สำานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา มอร์ฟีน สามารถสังเคราะห์ได้แต่กรรมวิธีจะยากกว่าสกัด จากธรรมชาติ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสูตรโครงสร้างเพียงเล็กน้อย จะได้สารตัวอื่น ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป เช่นเปลี่ยน hydroxy group ที่ตำาแหน่ง 3 เป็น methoxy group จะได้ โคเดอีน ซึ่งนอกจากมีฤทธิ์ระงับปวดแล้วยังมีฤทธิ์ระงับไอได้ดีอีก ด้วย และถ้าเปลี่ยน hydroxy group ที่ตำาแหน่ง 3 และที่ ตำาแหน่ง 6 เป็น acetyl group จะได้ เฮโรอีน ซึ่งจัดเป็นยาเสพ ติดที่ร้ายแรงกว่า มอร์ฟีน การให้โดยการฉีดจะได้ผลดีกว่าการรับประทาน โดยออก ฤทธิ์ระงับปวด ทำาให้ง่วงซึม อารมณ์เปลี่ยนแปลง สมองไม่ปลอด โปร่ง เมื่อให้มอร์ฟีน ในขนาดรักษาแก่ผู้ป่วยที่มีความเจ็บปวดจะ ทำาให้ความเจ็บปวดหายไปหรือลดน้อยลง และในผู้ป่วยบางราย อาจเกิดอาการคลิบเคลิ้มเป็นสุข ฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง อย่างอื่น ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน ซึมเซา เชื่องช้า ไม่มีสมาธิ ผู้ที่ ได้รับยาเกินขนาด จะมีอาการง่วงซึมมาก รูม่านตาหรี่ การหายใจ ถูกกด โคม่า มอร์ฟีนถูกดูดซึมได้ดีที่ระบบทางเดินอาหาร จากใต้ผิวหนัง และกล้ามเนื้อ ไม่สะสมในร่างกาย ยาที่ให้ไปจะถูกขับออกจาก ร่างกายประมาณ 90% ภายใน 24 ชั่วโมง อาการการติดยาเกิดจากการได้รับยาซำ้าๆ กัน มีทั้งอาการพึ่ง ยาทางจิตใจเนื่องจากฤทธิ์ของยาและเพื่อความพึงพอใจของผู้เสพ
  • 12. และอาการพึ่งยาทางร่างกายซึ่งจำาเป็นต้องได้รับยาเพื่อให้ร่างกาย อยู่ในภาวะปกติ และมีอาการถอนยาเมื่อขาดยา การติดยาเกิดขึ้น เร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับขนาดยาที่ได้รับ ถ้าได้รับยาในขนาดสูงหรือ ได้รับยาติดต่อกันนานมากเท่าไหร่ ก็จะทำาให้เกิดอาการติดยาได้ เร็วมากขึ้นเท่านั้น และอาการถอนยาจะรุนแรงตามไปด้วย อาการถอนยาเป็นลักษณะเฉพาะของยาประเภทมอร์ฟีน จะมี อาการเกิดขึ้นภายใน 2-3 ชั่วโมง หลังจากได้รับยาขนาดสุดท้าย อาการสูงสุดภายใน 12 ชั่วโมง หลังจากนั้นจะสงบลงภายใน 1 สัปดาห์ อาการถอนยาที่เกิดขึ้นได้แก่ หาวนอน นำ้าตาไหล เหงื่อ ออก ม่านตาขยาย ตัวสั่น นอนไม่หลับ กระวนกระวาย ตะคริว ปัจจุบันมอร์ฟีนยังใช้ประโยชน์ได้ดีในการระงับปวด โดย เฉพาะคนไข้โรคมะเร็งซึ่งมีอาการขั้นสุดท้าย (สำานักงานคณะ กรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข, 2555) 6. เฮโรอีน (Heroin) เฮโรอีนเป็นยาเสพติดที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี จาก ปฏิกิริยาระหว่างมอร์ฟีนกับสารเคมีบางชนิด เช่น อาเซติคแอนไฮ ไดรด์ (Acetic anhydride) หรือ อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl chloride) หรือเอทิลิดีนไดอาเซเตต (Ethylidene diacetate) โดยนักวิจัยชาวอังกฤษ ชื่อ C.R. Wright ได้ค้นพบวิธีการ สังเคราะห์ เฮโรอีนจากมอร์ฟีนโดยใช้นำ้ายาอาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic anhydride) และบริษัทผลิตยาไบเออร์ (Bayer) ได้นำา “มาผลิตเป็นยาออกสู่ตลาดโลก ในชื่อทางการค้าว่า Heroin” และนำามาใช้แทนมอร์ฟีนอย่างแพร่หลาย หลังจากที่มีการใช้เฮ โอีนในวงการแพทย์นานถึง 18 ปี จึงทราบถึงอันตรายและผลที่ ทำาให้เกิดการเสพติดที่ให้โทษอย่างร้ายแรงจนปี พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ออกกฎหมายระบุให้ เฮโรอีนเป็นยาเสพติดให้โทษ ห้ามมิให้ผู้ใดมีไว้ในครอบครองหลัง จากนั้นต่อมาอีก 35 ปี คือ เมื่อปี พ.ศ. 2502 เฮโรอีนจึงได้แพร่ ระบาดสู่ประเทศไทย และในปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทยจึงออก กฎหมาย ระบุให้เฮโรอีนและมอร์ฟีนเป็นยาเสพติดให้โทษ เฮโรอีนออกฤทธิ์แรงกว่ามอร์ฟีนประมาณ 4-8 เท่า และออก ฤทธิ์แรงกว่าฝิ่น ประมาณ 30-90 เท่า โดยทั่วไปเฮโรอีน จะมี ลักษณะเป็นผงสีขาว สีนวล หรือสีครีม มีรสขม ไม่มีกลิ่น และแบ่ง ได้เป็น 2 ประเภท เช่นเดียวกับมอร์ฟีน ได้แก่ เฮโรอีนเบส (Heroin base) ซึ่งมีคุณลักษณะเด่น คือ ไม่ละลายนำ้า ส่วนอีก ประเภทหนึ่ง คือ เกลือของเฮโรอีน (Heroin salt) เช่น เฮโร อีนไฮโดรคลอไรด์ (Heroin hydrochloride)
  • 13. เฮโรอีนที่แพร่ระบาดในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. เฮโรอีนผสม หรือเรียกว่า เฮโรอีนเบอร์ 3 หรือไอระเหย เป็นเฮโรอีนที่มีความบริสุทธิ์ตำ่า เนื่องจากมีการผสมสารอื่นเข้าไป ด้วย เช่น ผสมสารหนู สตริกนิน ยานอนหลับ คาเฟอีน แป้ง นำ้าตาลและอาจผสมสี เช่น สีม่วงอ่อน สีชมพูอ่อน สีนำ้าตาล อาจ พบในลักษณะเป็นผง เป็นเกล็ดหรืออัดเป็นก้อนเล็กๆ มีวิธีการเสพ “ ”โดยการสูดเอาไอสารเข้าร่างกาย จึงเรียกว่า ไอระเหย หรือ “ ”แคป 2. เฮโรอีนเบอร์ 4 เป็นเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ที่มีความ บริสุทธิ์สูง มีลักษณะเป็นผงละเอียด หรือเป็นเม็ดคล้ายไข่ปลา หรือ พบในลักษณะอัดเป็นก้อนสี่เหลี่ยมผืนผ้า มักมีสีขาวหรือสีครีม “ ”ไม่มีกลิ่น มีรสขม เป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่า ผงขาว มักเสพโดยนำา มาละลายนำ้าแล้วฉีดเข้าร่างกาย หรือผสมบุหรี่สูบ โทษและภัยของยาเสพติด เนื่องด้วยพิษภัยหรือโทษของสารเสพติดที่เกิดแก่ผู้หลงผิดไป เสพสารเหล่านี้เข้า ซึ่งเป็นโทษที่มองไม่เห็นชัด เปรียบเสมือนเป็น ฆาตกรเงียบ ที่ทำาลายชีวิตบุคคลเหล่านั้นลงไปทุกวัน ก่อปัญหา อาชญากรรม ปัญหาสุขภาพ ก่อความเสื่อมโทรมให้แก่สังคมและบ้าน เมืองอย่างร้ายแรง เพราะสารเสพย์ติดทุกประเภทที่มีฤทธิ์เป็นอันตราย ต่อร่างกายในระบบประสาท สมอง ซึ่งเปรียบเสมือนศูนย์บัญชาการของ ร่างกายและชีวิตมนุษย์ การติดสารเสพติดเหล่านั้น จึงไม่มีประโยชน์ อะไรเกิดขึ้นแก่ร่างกายเลย แต่กลับจะเกิดโรคและพิษร้ายต่างๆ จนอาจ ทำาให้เสียชีวิต หรือ เกิดโทษและอันตรายต่อครอบครัว เพื่อนบ้าน สังคม และชุมชนต่างๆ ต่อไปได้อีกมาก โทษทางร่างกาย และจิตใจ คือ 1. สารเสพติดจะให้โทษโดยทำาให้การปฏิบัติหน้าที่ของอวัยวะ ส่วนต่างๆ ของร่างกายเสื่อมโทรมพิษภัยของสารเสพย์ติดจะทำาลาย ประสาท สมอง ทำาให้สมรรถภาพเสื่อมลง มีอารมณ์ จิตใจไม่ปกติ เกิด การเปลี่ยนแปลงได้ง่าย เช่น วิตกกังวล เลื่อนลอยหรือฟุ้งซ่าน ทำางาน ไม่ได้ อยู่ในภาวะมึนเมาตลอดเวลา อาจเป็นโรคจิตได้ง่าย 2. ด้านบุคลิกภาพจะเสียหมด ขาดความสนใจในตนเองทั้งความ ประพฤติความสะอาดและสติสัมปชัญญะ มีอากัปกิริยาแปลกๆ เปลี่ยน ไปจากเดิม 3. สภาพร่างกายของผู้เสพจะอ่อนเพลีย ซูบซีด หมดเรี่ยวแรง ขาดความกระปรี้กระเปร่า และเกียจคร้าน เฉื่อยชา เพราะกินไม่ได้ นอนไม่หลับ ปล่อยเนื้อ ปล่อยตัวสกปรก ความเคลื่อนไหวของร่างกาย และกล้ามเนื้อต่างๆ ผิดปกติ
  • 14. 4. ทำาลายสุขภาพของผู้ติดสารเสพติดให้ทรุดโทรมทุกขณะ เพราะระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกายถูกพิษยาทำาให้เสื่อมลง นำ้าหนักตัว ลด ผิวคลำ้าซีด เลือดจางผอมลงทุกวัน 5. เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย เพราะความต้านทานโรคน้อยกว่า ปกติ ทำาให้เกิดโรคหรือเจ็บไข้ได้ง่าย และเมื่อเกิดแล้วจะมี ความรุนแรงมาก รักษาหายได้ยาก 6. อาจประสบอุบัติเหตุได้ง่าย สาเหตุเพราะระบบการควบคุม กล้ามเนื้อและประสาทบกพร่อง ใจลอย ทำางานด้วยความ ประมาท และเสี่ยงต่ออุบัติเหตุตลอดเวลา 7. เกิดโทษที่รุนแรงมาก คือ จะเกิดอาการคลุ้มคลั่ง ถึงขั้น อาละวาด เมื่อหิวยาเสพติดและหายาไม่ทัน เริ่มด้วยอาการนอน ไม่หลับ นำ้าตาไหล เหงื่อออก ท้องเดิน อาเจียน กล้ามเนื้อกระตุก กระวาย และในที่สุดจะมีอาการเหมือนคนบ้า เป็นบ่อเกิดแห่ง อาชญากรรม ความรู้เกี่ยวกับยาไอซ์ ความหมายของยาไอซ์ "ไอซ์" คือผงเมธแอมเฟตามีน ที่ทำาให้อยู่มนสภาพแข็ง ด้วย การนำาเอาเมธแอมเฟตามีนมาผ่านกระบวนการหุงต้มจนตกเป็นก้อน ผลึก ไอซ์มักมีที่มาจากประเทศแถบเอเชีย อย่างไรก็ไอซ์สามารถผลิต ได้ทุก ๆ แห่งที่มีเมธแอมเฟตามีน ความรุนแรงของไอซ์ขึ้นอยู่กับระดับ ความบริสุทธิ์ ของเมธแอมเฟตามีนที่มีอยู่สูงมาก ในขณะที่เมธแอมเฟตา มีนที่มีขายอยู่ทั่วไป จะถูกลดระดับความบริสุทธ์ (Cut) ลงด้วยเคมีภัณฑ์ อื่นหลายครั้ง แต่ผลึกเมธแอมเฟตามีนของไอซ์ จะมีระดับความบริสุทธิ์ ของเมธแอมเฟตามีน สูงถึง 98-100% ไอซ์จะไม่มีกลิ่นและมีอันตราย สูงกว่า Crack และ Cocaine นอกจากนั้นยังมีอานุภาพในการ เสพติดที่รุนแรงกว่าสีของไอซ์จะ มีอยู่หลายสี แต่ละสีจะบ่งบอกถึงระดับความบริสุทธิ์และความรุนแรงของ ไอซ์ ไอซ์ที่มีลักษณะเป็นผลึกใส คือไอซ์ที่ผลิตจากนำ้า (Water-base) จะเผาไหม้อย่างรวดเร็ว เมื่อเผาแล้วจะเหลือ คราบลักษณะคล้ายนำ้านม ไอซ์ที่มีสีเหลืองจะผลิตจากนำ้ามัน (Oil-base) ซึ่งจะเผาไหม้ได้ช้ากว่า จะมีคราบเป็น สีนำ้าตาลหรือสีดำาเมื่อเผาไหม้แล้ว ยาเสพติดประเภทนี้ เมื่อเผาไหม้แล้วจะไม่มีกลิ่น จึงทำาให้ผู้เสพนิยมเพราะ ไม่มีกลิ่นผิดปกติ เหมือนกัญชา อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำาให้คนนิยม คือราคาถูกกว่าโคเคนมาก และผลในด้านการ เปี่ยมสุขที่นานกว่า แต่ผู้เสพไม่รู้หลอกว่าไอซมี อานุภาพด้านเสพติดทาง กายภาพที่รุนแรงกว่าเฮโรอีน และเมื่อ หมด
  • 15. สถาวะความเปี่ยมสุขแล้วจะเกิดอาการซึมเศร้า(Depression หรือ Crash) ที่ยาวนานเป็นระยะเวลา หลาย ๆ วัน โทษของการใช้ยาไอซ์ ผู้เสพยาไอซ์จะเกิความรู้สึกเปี่ยมสุขทั้งร่างกายและจิตใจอย่าง รุนแรง (Euphoria) ฤทธิ์ของยาไอซ์จะคงอยู่ระหว่าง 4-14 ชม. ขึ้น อยู่กับปริมาณที่เสพ ถึงแม้ยาที่เสพเข้าไปจะถูกดูดซึมเข้าสุ่กระแสโลหิต อย่างรวด เร็วแต่ตัวยา ส่วนหนึ่งจะถูกขับถ่ายออกมาทางร่างกายโดย ไม่มีโอกาสแสดงปฏิกริยาใด ๆ ภายใน 72 ชม.หลังการเสพ หลังจาก นั้นจะเกิดอาการตาแข็งนอนไม่หลับ เมื่อพ้นจากอาการนี้ก็จะนอนหลับ อย่างต่อเนื่องเป็น เวลานาน ๆ ผลต่อ สภาพร่างกายของผู้เสพ ผู้เสพจะเป็นโรคขาดวิตามินและแร่ธาตุสำาคัญต่อร่างกายเนื่องมา จากรับประทาน อาหารไม่เพียงพอ นำ้าหนักจะลด ลงอย่างรวดเร็วจน เห็นได้ชัด ภูมิต้านทานโรคของร่างกายถดถอย การเสพเป็นระยะนาน ๆ จะทำาให้ระบบการทำางานของปอด ตับ และ ไต ชำารุด นอกจากนั้น ยังทำาให้มีอาการเสพติดทางจิตซึ่งนำาไปสู่การฟั่นเฟือน ทางจิต โรคนอน ไม่หลับ กระวนกระวาย ซึมเศร้าและอ่อนเพลียผู้เสพจำาต้องเพิ่มปริมาณ การเสพมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้บรรลุถึงความเปี่ยมสุขที่เคยประสบ นโยบายและยุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในสถานศึกษา นโยบายรัฐเกี่ยวกับยาเสพติด 11 กันยายน 2554 เวลา 10.00 น. ณ ตึกสันติไมตรี ทาเนีย บรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานเปิด “ ”ปฏิบัติการวาระแห่งชาติ พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด โดยมี ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บารุง รอง นรม., รมว.มท.รมว.ยธ.รมว.สธ., รมว.กห. ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม โดยสรุป ดังนี้ เมื่อวันที่ 11 ส.ค.54 ที่ผ่านมา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ มีกระแสพระราชดารัส ที่พระราชทานแก่คณะบุคคลที่ เข้า เฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 12 สิงหาคม 2554 ณ ศาลาดุสิดาลัย โดยขอความร่วมมืออย่างจริงจังจาก รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติ ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด รัฐบาลจึงได้ กาหนดให้ปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ ที่ทุกภาคส่วนในสังคมจะ ต้องมีความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจ เร่งแก้ไขปัญหายาเสพติด อย่าง “จริงจังและต่อเนื่อง โดยกาหนดให้มียุทธศาสตร์ พลังแผ่นดินเอาชนะ ”ยาเสพติด ด้วยการรวมพลังทุกภาคส่วนเป็นพลังแผ่นดินในการต่อสู้กับ ยาเสพติด โดยยึดหลักผู้เสพคือผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบาบัดรักษาให้กลับ
  • 16. มาเป็นคนดีของสังคม และสั่งการให้มีการกากับติดตามช่วยเหลืออย่าง เป็นระบบ รวมทั้งดาเนินการป้องกันกลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไปไม่ให้ เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ยึดหลักนิติธรรมในการปราบปรามลงโทษ ผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้มีอิทธิพล และผู้ประพฤติมิชอบ มีการบังคับใช้กฎหมาย อย่างเคร่งครัด และดาเนินการอย่างจริงจังในการป้องกันปัญหาด้วยการ แสวงหาความร่วมมือเชิงรุกกับต่างประเทศในการควบคุมและสกัดกั้นยา เสพติด สารเคมี และสารตั้งต้นในการผลิตยาเสพติดที่ลักลอบเข้าสู่ ประเทศ ภายใต้การบริการจัดการอย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์หลักของยุทธศาสตร์ ยุติสถานการณ์การแพร่ระบาด ของยาเสพติด ภายใน 1 ปี กลยุทธ์ 7 แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เร่ง ยึดเป็นหลักในการขับเคลื่อนงาน ยาเสพติด 7 แผน ดังนี้ 1. แผนสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด ทาให้ หมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ ประมาณ 60,000 แห่ง มีการรวมตัวเป็น พลังแผ่นดิน ในการป้องกันเฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหายาเสพติดใน หมู่บ้าน/ชุมชน 2. แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพผู้ติด (Demand) ลดจานวนผู้เสพ ยาเสพติดในประเทศไทย 1.2 ล้านคน ใน 4 ปี โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่า ในปีแรกจะดาเนินการให้ได้ถึง 400,000 คนทั่วประเทศ ติดตามช่วย เหลือฟื้นฟู ไม่ให้กลับมา เสพซ้า ประมาณ 80 % ใน 1 ปี 3. แผนสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติด (Potential Demand) มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้กับประชาชน เยาวชนทั่วไป เยาวชนกลุ่ม เสี่ยง ซึ่งจะเป็นการตัดการเพิ่มขึ้นของผู้เสพรายใหม่ 4. แผนปราบปรามยาเสพติดและบังคับใช้กฎหมาย ลดผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้ลาเลียงยาเสพติดในทุกระดับ โดยบังคับใช้กฎหมายตามหลักนิติธรรม อย่างเคร่งครัด ใช้มาตรการทางด้านทรัพย์สิน การสืบสวนขยายผล เป็นแนวทางปฏิบัติหลัก 5. แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ รัฐบาลจะแสวงความร่วมมือ กับต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อร่วมกันปราบ ปรามการผลิตและค้ายาเสพติด รวมทั้ง ใช้นโยบายเชิงรุกในการพัฒนา พื้นที่ชายแดนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เพื่อให้ชายแดนมีความเป็นอยู่อย่างสันติ 6. แผนสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดน สกัดกั้นยาเสพติดตาม แนวชายแดนทุกด้าน มิให้มีการลักลอบนายาเสพติดสู่ประเทศไทย โดย เฉพาะอย่างยิ่ง ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 17. 7. แผนบริหารจัดการแบบบูรณาการ ระดมสรรพกำาลังทั้งประเทศ เข้าแก้ไขปัญหายาเสพติด มีการจัดองค์กร กลไกการแก้ไขปัญหายา เสพติดทุกระดับ และบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 4 ปรับ เพื่อทาให้การเอาชนะยาเสพติด มีประสิทธิภาพ มากขึ้น 1. ปรับปรุงข้อมูล การข่าวให้ถูกต้อง ทันสมัย 2. ปรับบทบาท พฤติกรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ 3. ปรับกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ 4. ปรับทัศนคติของสังคมและชุมชนมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหา ยาเสพติด 3 หลัก ยึด 3 หลักในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย 1. หลักเมตตาธรรมที่มีความรักในเพื่อนมนุษย์อยากเห็นคน ผิดกลับตัวเป็นคนดี คืนความรักให้ครอบครัว คืนสุขให้ชุมชน 2. ยึดหลักนิติธรรม ทางกฎหมายมาบังคับใช้อย่างจริงจัง ตามหลักนิติธรรม 3. หลักแก้ปัญหาโดยยึดพื้นที่เป็นตัวตั้ง โดยยึดจังหวัด อำาเภอ ตาบล หมู่บ้าน เป็นตัวตั้งของการแก้ไขปัญหา ให้พื้นที่เป็น เจ้าของปัญหา 6 เร่ง ข้อฏิบัติเร่งด่วน 6 เรื่องที่จะต้องเร่งดาเนินการ 1. เร่งดาเนินการในด้านข้อมูล ให้ทุกหน่วยหาข้อมูลปัญหา ยาเสพติดที่เป็นจริงในระดับพื้นที่ 2. เร่งลดจานวนผู้เสพยาจากหมู่บ้าน/ชุมชน จัดทาแผนบา บัดรักษาลดจานวนผู้เสพยาเสพติดในพื้นที่ 3. เร่งแสวงหาความร่วมมือกับต่างประเทศและการสกัดกั้น ยาเสพติด 4. เร่งปราบปรามผู้ค้า ลดความเดือดร้อนของประชาชนจาก ปัญหายาเสพติด ตามที่ข้อร้องเรียนของประชาชนผ่านช่องทาง ต่างๆ ให้เป็นเรื่องเร่งด่วนลาดับแรก และจะมีการแจ้งผลการดา เนินงานให้ประชาชนรับทราบ ขยายผลการยึดทรัพย์ผู้ค้ายาเสพ ติดตามหลักนิติธรรม ให้เพิ่มมากขึ้น 5. เร่งแก้ไขปัญหาเยาวชนกลุ่มเสี่ยงทั้งในและนอกสถาน ศึกษา ให้ทุกจังหวัดเข้มงวด กวดขันพื้นที่เสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงที่สร้าง ความเดือดร้อนราคาญให้กับชุมชนและสังคม เร่งสร้างระบบ ป้องกัน และเฝ้าระวังยาเสพติดในสถานศึกษาในทุกจังหวัด เพื่อ สร้างความสบายใจให้กับผู้ปกครอง 6. เร่งสร้างหมู่บ้าน/ชุมชนให้มีความเข้มแข็ง โดยน้อมนา พระราชดารัสสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 11
  • 18. สิงหาคม 2554 เรื่องโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน จะทาให้ หมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินทั้งหมดที่มีอยู่มีความเข้มแข็ง จะ ขยายจานวนหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินให้เพิ่มขึ้น ประมาณ 50% ของหมู่บ้าน/ชุมชนทั้งประเทศในระยะ 4 ปี นโยบายด้านการป้องกันยาเสพติดของกระทรวง ศึกษาธิการ นายชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น ฐาน (เลขาธิการ กพฐ.)เปิดเผยว่า ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ มอบ นโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาภายใต้ ยุทธศาสตร์"รั้วโรงเรียน" และนโยบายด้านภูมิคุ้มกันยาเสพติด (Drug- Free) เพื่อให้สถานศึกษาทุกสังกัดดำาเนินการป้องกัน แก้ไข หยุดยั้ง และลดระดับการแพร่ระบาดยาเสพติดในสถานศึกษานั้น สพฐ. ได้จัดทำา เกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัดเครื่องมือ และคู่มือการประเมินผลการดำาเนิน งานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและมอบให้ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริมกำากับ ติดตามและประเมินผลการ ดำาเนินงานของสถานศึกษาในสังกัด ภายใต้ระบบการดูแลช่วยเหลือ นักเรียนและแผนยุทธศาสตร์ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี (3D) ของ ศธ. เพื่อให้สถานศึกษาได้รับการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาอย่างยั่งยืน รวมทั้งได้แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกสถานศึกษาดีเด่นในระดับ สพฐ.นั้น เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและลดปัญหาการแพร่ ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษา รวมทั้งเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน องค์กรประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดำาเนินงานแก้ไขปัญหายา เสพติดในสถานศึกษาภายใต้ยุทธศาสตร์"รั้วโรงเรียน" จึงได้เชิญผู้รับ ผิดชอบงานยาเสพติดจากสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหารสถาน ศึกษาดีเด่น ด้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด รวม 136 แห่งเข้า ร่วมประชุมปฏิบัติการถอดบทเรียนสถานศึกษาดีเด่นในการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาภายใต้ยุทธศาสตร์"รั้วโรงเรียน" และนโยบายด้านภูมิคุ้มกันยาเสพติด (Drug-Free) และเพื่อยกย่อง เชิดชูเกียรติผู้บริหารสถานศึกษาที่ยอมรับปัญหาและป้องกัน/แก้ไข ปัญหาอย่างจริงจังรวมทั้งเพื่อเป็นขวัญกำาลังใจ จึงได้จัดพิธีมอบโล่ รางวัลให้แก่สถานศึกษาดีเด่นในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษาภายใต้ยุทธศาสตร์ "รั้วโรงเรียน" ระดับประเทศ ในวันที่ 28 ก.พ.54 ณ รร.ริเวอร์ไซด์ กรุงเทพฯ ทั้งนี้คาดว่าจากการประชุม ครั้ง สพฐ.จะมีสถานศึกษาที่เป็นต้นแบบในการขยายผล สู่สถาน ศึกษา ทั่วประเทศ อีกทั้งยังเป็นการสร้างกระแสให้หน่วยงานสถานศึกษาจัด
  • 19. กิจกรรมให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีและมีพฤติกรรมตาม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน สถานศึกษาและที่สำาคัญเรายังจะได้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาใน การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้ยุทธศาสตร์"รั้วโรงเรียน" อีกด้วย ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ตามที่รัฐบาลได้กำาหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นวาระแห่งชาติ โดยนายกรัฐมนตรีได้ลงนามในคำาสั่งสำานักนายกรัฐมนตรี ที่ 154/2554 กำาหนด ยุทธศาสตร์ พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด และจัดตั้งศูนย์อำานวยการพลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ (ศพส.) เป็นองค์กรอำานวยการระดับชาติ โดยมีกลยุทธ์การดำาเนินงาน คือ 7 แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เร่ง เพื่อให้ทุกงานที่เกี่ยวข้องยึดเป็นหลักในการ ขับเคลื่อนงานยาเสพติด ซึ่งได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการ เป็น หน่วยงานหลัก รับผิดชอบแผนที่ 3 แผนการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกัน ยาเสพติดในสถานศึกษา โดยมีเป้าหมายและตัวชี้วัดการดำาเนินงาน ได้แก่ 1. โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในสถานศึกษา กำาหนด ให้นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำานวน 30% ทั่วประเทศ ซึ่งเป็นกลุ่ม เป้าหมายเยาวชนก่อนวัยเสี่ยงลำาดับแรกสุดที่จะเพิ่มภูมิคุ้มกันป้องกันยา เสพติด ซึ่งแนวทางการปฏิบัติ เน้นให้สถานศึกษาให้ความสำาคัญในการ เปิดโอกาสให้ ครูพระ ครู D.A.R.E. และครูตำารวจ เข้าสอนในสถาน ศึกษาที่ตั้งอยู่พื้นที่อำาเภอ ที่มีความหนาแน่นของปัญหายาเสพติดใน เกณฑ์สูง 2. โครงการป้องกัน เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาน ศึกษา กำาหนดสถานศึกษาในระดับประถมศึกษา (ขยายโอกาส) มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา สถานศึกษาเอกชน สถาบันอุดมศึกษาเป็นเป้า หมายการป้องกัน เฝ้าระวังยาเสพติด และลดปัญหาเสี่ยง ซึ่งแนวทาง การปฏิบัติเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักเรียน กลุ่มเสพ/กลุ่มเสี่ยง โดยให้สถานศึกษาสำารวจและค้นหานักเรียนกลุ่มเสพ/กลุ่มเสี่ยง เพื่อจัด กิจกรรมดูแลช่วยเหลือและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตลอดจนกิจกรรมเพื่อ การป้องกันและพัฒนากลไกการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถาน ศึกษา เช่น โครงการ To Be Number One ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น โครงการลูกเสือต้านภัยยาเสพติด โครงการเจ้าหน้าที่ตำารวจประจำา
  • 20. สถานศึกษา และศูนย์เครือข่ายเจ้าพนักงานส่งเสริมความประพฤติ นักเรียน เป็นต้น 3. การขจัดภัยเสี่ยงรอบสถานศึกษาได้รับการแก้ไขทุกจังหวัด โดยให้สถานศึกษา ทุกสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัด ประเมินและชี้เป้าปัจจัยเสี่ยงและจุดเสี่ยงโดยรอบสถานศึกษา และให้ รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 ที่ได้รับมอบหมาย ในฐานะเลขานุการร่วมของคณะกรรมการ ศพส.จังหวัด นำาเสนอข้อมูลในภาพรวม เสนอต่อคณะกรรมการ ศพส.จังหวัด เพื่อร่วมกันดำาเนินการป้องกัน แก้ไขปัญหา กระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาแล้วเห็นว่าเพื่อให้การนำานโยบาย และยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรม และมีความชัดเจน กระทรวงศึกษาธิการจึงขอซักซ้อม และ ทบทวน ในเรื่องกลไกการบริหารจัดการและการจัดทำาแผนงาน/ โครงการ ให้หน่วยงานท่านทราบ และจัดแผนงาน/โครงการ ให้ สอดคล้องกับเป้าหมาย ตัวชี้วัด ดังนี้ 1. กลไกการบริหารจัดการระดับจังหวัด คำาสั่งสำานักนายกรัฐมนตรี ที่ 156/2554 เรื่อง จัดตั้งศูนย์อำานวย การและศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดระดับพื้นที่ ที่ เกี่ยวข้องกับจังหวัด ประกอบด้วย - ศูนย์อำานวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัด เรียกโดย ย่อว่า ศพส.จ. เป็นกลไกบูรณาการการปฏิบัติในพื้นที่จังหวัด มีรองผู้ว่า ราชการที่ได้รับมอบหมายเป็นประธาน โดยมีผู้อำานวยการสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษา ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย เป็นรองผู้อำานวยการ และมี รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ได้รับมอบหมาย เป็น กรรมการและเลขานุการร่วม - ศูนย์ปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดอำาเภอ เรียกโดย ย่อว่า ศพส.อ. เป็นกลไกบูรณาการการปฏิบัติในพื้นที่อำาเภอ มีผู้แทน สถานศึกษาในอำาเภอที่สำานักงานเขตพื้นที่มอบหมาย เป็นกรรมการ ดังนั้น เพื่อให้การมอบหมายผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ เป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยเฉพาะองค์ประกอบของศูนย์อำานวยการพลังแผ่น ดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัด (ศพส.จ.) กระทรวงศึกษาธิการ จึงขอมอบ หมาย 1) ให้รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 ที่รับผิดชอบงานยาเสพติด เป็นกรรมการและเลขานุการร่วมของ
  • 21. ศพส.จ. โดยมีบทบาทบูรณาการและเชื่อมต่อการทำางานด้านการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดของสถานศึกษาในสังกัดต่างๆ ในจังหวัด 2) ให้สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 เป็นผู้ แทนกระทรวงศึกษาธิการในจังหวัด ทำาหน้าที่ในการอำานวยการ ประสานงาน กับทุกภาคส่วน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษา ภายในจังหวัด ทั้งนี้ยังคงใช้กลไกของศูนย์ประสาน งานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษาจังหวัด ใน การบูรณาการ ขับเคลื่อนงานของหน่วยงานทางการศึกษา ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2. การจัดทำาแผนงาน/โครงการ 1) การจัดทำาแผนงาน/โครงการ แผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด พ.ศ. 2555 ได้กำาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดการ ดำาเนินงาน ตามรายละเอียดแนวทางจัดกิจกรรมข้างต้น ซึ่งในไตรมาสที่ 1 (1 ตุลาคม 2554 – 31 มกราคม 2555 ) สำานักงาน ป.ป.ส. ได้กำาหนดเป้าหมาย ที่จะดำาเนินการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน การป้องกัน เฝ้าระวังและแก้ไข ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา จำานวน 1,781 แห่ง ใน 76 จังหวัดทั่ว ประเทศ (ยกเว้นกทม.) สถานศึกษาละ 5,000 บาท โดยแนวทางดัง กล่าว ได้กำาหนดให้ ศพส.จ. เป็นผู้ดำาเนินการอนุมัติแผนและงบ ประมาณให้กับสถานศึกษา 2) สำานักงาน ป.ป.ส. ได้กำาหนดจำานวนสถานศึกษาเป้าหมายที่จะ ดำาเนินการในแต่ละจังหวัด และได้แจ้งให้ ศพส.จ. และ ปปส.ภาค ทราบแล้ว แต่ไม่ได้ระบุรายชื่อสถานศึกษา ดังนั้นการจัดทำาแผนงาน/ โครงการในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน การป้องกัน เฝ้าระวังและแก้ไข ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ให้พิจารณาคัดเลือกรายชื่อสถานศึกษา เป้าหมาย ให้สอดคล้องกับเป้าหมายหลักตามตัวชี้วัดดังกล่าวข้างต้น และสอดคล้องกับอำาเภอ ที่มีความหนาแน่นของปัญหายาเสพติดใน เกณฑ์สูง จำานวน 338 อำาเภอ รายละเอียดเป้าหมาย แนวทางการดำาเนินงาน และอำาเภอที่มีความหนา แน่นของปัญหายาเสพติด อยู่ในคำาสั่งที่ 1/2554 เรื่อง แผน ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด พ.ศ. 2555 สามารถ Download ได้ที่ www.nccd.go.th/ หรือ www.skp.moe.go.th/th/ 3) สำานักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษา เขต 1 ของทุกจังหวัด ทำา หน้าที่เป็นหลักในการประสานแผนงาน/โครงการ/งบประมาณ และการ รายงานผลในภาพรวมของจังหวัด โดยบูรณาการ และขับเคลื่อนงาน ร่วมกับสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 2 -
  • 23. บทที่ 3 ระเบียบวิธีการดำาเนินการวิจัย กาวิจัยเพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมภายใต้โครงการ ASEAN Youth Anti-Drug (3 Spots: Skit – Radio - Media Anti-Ice) ของโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีวิธีการดำาเนินการ ดังต่อไปนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย มีดังนี้ 1. ผู้อำานวยการโรงเรียน รองผู้อำานวยการโรงเรียน ครูใน โรงเรียน และนักเรียนในโรงเรียน ปีการศึกษา 2555 จำานวน ทั้งสิ้น 1,761 คน 2. นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร ปีการศึกษา 2555 จำานวน 1,661 คน โดยแบ่งเป็น 2 ระดับคือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 300 คน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 300 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย มีวิธีการดังนี้ กลุ่มตัวอย่างที่ 1 คณะครูโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัด บุรีรัมย์ สุ่มแบบเฉพาะเจาะจง จำานวน 40 คน กลุ่มตัวอย่างที่ 2 นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัด บุรีรัมย์ ดำาเนินการโดยการสุ่มทุกระดับ ทุกห้องเรียน และสุ่มอย่างง่าย ในทุกห้องเรียน โดยใช้ตารางของยามาเน่ Yamane Taro (เกษม สาหร่ายทิพย์, 2543: 350) ที่ สถานภาพ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง 1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 320 100 2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 290 100 3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 250 100 4 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 300 100 5 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี 250 100
  • 24. ที่ 5 6 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 251 100 รวม 1661 600 ตารางที่ 1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างของนักเรียน การออกแบบรวบรวมข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางในการ สร้างเครื่องมือวิจัย วัตถุประสงค์ที่ 1 เพื่อศึกษาสภาพการดำาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาไอซ์ ภายในโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 1. ด้านการวางแผน 2. ด้านการจัดรูปแบบงาน 3. ด้านการดำาเนินงาน 4. ด้านการประเมินผลงาน แหล่งข้อมูล 1. คณะครูโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 2. นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 3. ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร จังหวัดบุรีรัมย์ เครื่องมือ แบบสอบถามและแบบสอบถามแบบปลายเปิด วัตถุประสงค์ที่ 2 เพื่อศึกษาปัญหาการดำาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาไอซ์ ของโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 1. ด้านการวางแผน 2. ด้านการจัดรูปแบบงาน 3. ด้านการดำาเนินงาน 4. ด้านการประเมินผลงาน แหล่งข้อมูล 1. คณะครูโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 2. นักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร อำาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 3. ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนภัทรบพิตร จังหวัดบุรีรัมย์ เครื่องมือ แบบสอบถามและแบบสอบถามแบบปลายเปิด วัตถุประสงค์ที่ 3