SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
ข้อมูลท้องถิ่นบ้านกุดรัง
หมู่ 1 ต.กุดรัง อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม
การทอผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก
นางสาวก้อย ชาเรืองฤทธิ์
รหัสนักศึกษา 563560150102
สาขารัฐประศาสนศาสตร์
คณะวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
หลักการและเหตุผล
การสารวจข้อมูลท้องถิ่นบ้านกุดรัง หมู่ 1 ต.กุดรัง อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม
ทาให้ทราบถึงลักษณะความเป็นอยู่ของหมู่บ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็น
หมู่บ้านที่ทอผ้าไหมของกลุ่มสตรี แม่บ้านกุดรัง และผลิตสินค้า OTOP ที่ขึ้น
ชื่อของตาบล คือสินค้าจากการทอผ้าไหม “ลายสร้อยดอกหมาก” และยัง
ได้รับการคัดเลือกเป็น ลายเอกลักษณ์ของจังหวัดมหาสารคาม ดังนั้นจึง
เหมาะแก่การจัดทาข้อมูลท้องถิ่นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย
บทที่ 1
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านกุดรัง หมู่ 1 ต.กุดรัง อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม
2.เพื่อศึกษาสินค้าOTOP และสถานที่น่าสนใจของชุมชน
3.เพื่อนาเสนอประวัติข้อมูลท้องถิ่นบ้านกุดรังผ่าน Powerpoint
กลุ่มเป้ าหมาย
ชาวบ้านกุดรัง หมู่ 1 ต.กุดรัง อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม
ระยะเวลาดาเนินการ
23 มีนาคม – 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
วิธีดาเนินการ
ลาดับ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ระยะเวลาการปฏิบัติงาน
มี.ค.57 เม.ย.57 พ.ค.57
1 สารวจข้อมูล
2 เขียนโครงการ
3 ศึกษาข้อมูล
4 จัดทา Powerpoint
5 นาเสนอในรูปแบบPowerpoint
6 ประเมินผล
เครื่องมือ / อุปกรณ์ที่ใช้ในการดาเนินงาน
1. ยานพาหนะ
2.กล้องถ่ายภาพ
3.คอมพิวเตอร์
• ค
งบประมาณ
ค่าน้ามันรถ 300 บาท
สถานที่
บ้านกุดรัง หมู่ 1 ต.กุดรัง อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์การบริหารส่วนตาบลกุดรัง
• 1.1
การติดตามและประเมินผล
1.ประเมินผลโครงการโดยใช้แบบสอบถาม
2. ประเมินโครงการโดยอาจารย์
ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์นัยนา ประทุมรัตน์
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวก้อย ชาเรืองฤทธิ์
บทที่ 2
ประวัติบ้านกุดรัง
จากการบอกเล่าของผู้รู้ในชุมชนเล่าว่า
เมื่อประมาณ 150 ปีที่แล้ว มีพระภิกษุ
อาวุโสรูปหนึ่ง ชื่อว่า หลวงพ่อสาเร็จลุน
เดินธุดงค์มาเห็นบริเวณบ้านกุดรังอุดม
สมบูรณ์เลยชักชวนพี่น้องจากบ้านผาใหญ่
มาตั้งถิ่นฐานที่นี้ ( บ้านผาใหญ่ในปัจจุบัน
อยู่ในเขต
อ.สรวง จ.ร้อยเอ็ด
ประวัติบ้านกุดรัง ( ต่อ )
นอกจากนี้ยังมีคนอพยพมาจากเมือง
ชนบท ซึ่งตั้งบ้านเรือนอยู่บ้านหนองภู
บักแก้ว และกลุ่มดั้งเดิมซึ่งตั้งถิ่นฐาน
อยู่บริเวณหนองใหญ่ซึ่งนาโดยพ่อ
ใหญ่จาปา ต่อมาได้ย้ายบ้านเรือนออก
จากบริเวณดังกล่าวมาตั้งที่บริเวณโคก
บ้านเค็ง ( ปัจจุบันอยู่ทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของหมู่บ้าน )
ประวัติบ้านกุดรัง ( ต่อ )
แต่อยู่มาไม่นานก็เกิดโรคห่า
( โรคระบาด ) ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่า
หมู่บ้านตั้งขวางดวงอาทิตย์
จึงย้ายมาตั้งหมู่บ้านใหม่เรียกว่า
ดอนหัน ซึ่งเป็นที่ตั้งของหมู่บ้านใน
ปัจจุบัน
ที่ตั้งหมู่บ้านกุดรัง
ถ.แจ้งสนิท สายบรบือ – บ้านไผ่
ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 40
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียง
ใต้ของ จ.มหาสารคาม
ที่ตั้งหมู่บ้านกุดรัง ( ต่อ )
ห่าง 39 กิโลเมตร
อ.เมือง จ.มหาสารคาม อ.กุดรัง
ห่าง 3 กิโลเมตร
บ้านกุดรัง หมู่ 1 ต.กุดรัง จ.มหาสารคาม
ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่โดยทั่วไป
เป็นที่ราบลุ่มดอนสลับที่ดอนเป็นลูก
คลื่น มีป่าโปร่งและป่าละเมาะ มี
ลักษณะดินร่วนป่นทราย
ลักษณะภูมิอากาศ มีลักษณะอากาศแบบมรสุมฤดู 3 ฤดู
คือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน ฤดูฝน
การประกอบอาชีพของคนในชุมชน
90 %
อาชีพหลัก
ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม
การทานา
อาชีพเสริม
ทอผ้าไหม
เลี้ยงสัตว์
ปลูกมันสัมปะหลัง / ปลูกอ้อย
ทาสวนปลูกพืชผัก เช่น ถั่ว/ ข้าวโพด
ประกอบอาชีพ
รับราชการ
อาชีพค้าขาย
อาณาเขตชุมชนบ้านกุดรัง หมู่ 1
ทิศเหนือ บ้านโนนงาม ต.ห้วยเตย จ.มหาสารคาม
ทิศใต้ บ้านหนองป้าน ต.กุดรัง จ.มหาสารคาม
ทิศ
ตะวันออก
บ้านหนองแสง ต.กุดรัง จ.มหาสารคาม
ทิศตะวันตก บ้านหนองคลอง ต.กุดรัง จ.มหาสารคาม
จานวนประชากรบ้านกุดรัง หมู่ 1
ชาย 153 คน
หญิง 173 คน
จานวนครัวเรือน 119 ครัวเรือน
ผู้ใหญ่บ้าน นายวัชรินทร์ คามี
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นายดรุณี รัตน์ชุลี
นางเตือนใจ ขันผง
ประเพณี
ฮีต 12
เดือนอ้าย – บุญเข้ากรรม เดือนยี่ - บุญคูณลาน
เดือนสาม – บุญข้าวจี่ เดือนสี่ - บุญพระเวส
เดือนห้า – บุญสงกรานต์ เดือนหก - บุญบั้งไฟ
เดือนเจ็ด – บุญซาฮะ เดือนแปด - บุญเข้าพรรษา
เดือนเก้า – บุญข้าวประดับดิน เดือนสิบ - บุญข้าวสาก
เดือนสิบเอ็ด – บุญออกพรรษา เดือนสิบสอง - บุญกฐิน
1.วัดกลางกุดรัง 2.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.สถานที่ประกอบการ
กลุ่มข้าวฮางกุดรัง
4.ศูนย์ทอผ้าไหมบ้านกุดรัง
สถานที่สาคัญของหมู่บ้าน
วัดแห่งนี้เป็นสถานที่
สาคัญทางพุทธศาสนา
ของชาวบ้านกุดรัง
นอกจากเป็นวัดที่อยู่คู่
ชุมชนแล้ว วัดกลางกุดรัง
ยังเป็นสถานที่ตั้งของศูนย์
ทอผ้าไหมของหมู่บ้าน
และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
เจ้าอาวาสวัดกลางกุดรัง
ในปัจจุบัน คือ พระครู
สารกิจจานุยุต
1.วัดกลางกุดรัง
บริเวณภายในวัดกลางกุดรัง
พระอุโบสถ ศาลากลางเปรียญ
พระครูพิพัฒน์ศิลคุณ
อดีตเจ้าอาวาสวัดกลางกุดรังที่มีชื่อเสียง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดกลาง
กุดรัง ตั้งอยู่ภายในวัดกลาง
กุดรัง
ศูนย์แห่งนี้มีความสาคัญใน
การรับเลี้ยงและอบรมเด็ก
ในช่วงอายุระหว่าง 3-6 ขวบ
ของคนในชุมชนบ้านกุดรัง
2.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
วัดกลางกุดรัง
เป็นสถานที่ประกอบการ
ผลิตข้าวฮางของบ้านกุดรัง
ซึ่งผลิตโดยใช้วิธีภูมิปัญญา
ของชาวบ้านคนอีสานใน
สมัยก่อน ตั้งอยู่ที่
บ้านเลขที่141 หมู่ 1
ต.กุดรัง อ.กุดรัง
จ.มหาสารคาม
3.สถานที่ประกอบการ
กลุ่มข้าวฮางบ้านกุดรัง
ศูนย์ทอผ้าไหมบ้านกุดรัง
ตั้งอยู่ที่วัดกลางกุดรัง บ้าน
กุดรัง ต.กุดรัง อ.กุดรัง
จ.มหาสารคาม
เป็นสถานที่ทาการของ
กลุ่มวิสาหกิจทอผ้าไหมใน
ชุมชนกุดรัง
4.ศูนย์ทอผ้าไหม
บ้านกุดรัง
กลุ่มทอผ้าไหม
บ้านกุดรัง
ประวัติการก่อตั้งกลุ่มทอผ้าไหม
บ้านกุดรัง
ก่อตั้งโดย
คุณแม่สมจิตร บุรีนอก
จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2540 เกิดจากที่คุณแม่สมจิตร บุรีนอกได้ไป
อบรมการทอผ้าไหมมัดหมี่ที่ อ.ชนบท จ.ขอนแก่น เมื่อกลับมา
จึงได้รวมแม่บ้านบ้านกุดรัง จานวน 15 คน
บุคคลและหน่วยงานที่สนับสนุน
กลุ่มทอผ้าไหมบ้านกุดรัง
พระครูสารกิจจานุยุต ( เจ้าอาวาสวัดกลางกุดรัง )
สจ.คาดี แสงไพร
องค์การบริหารส่วนตาบลกุดรัง
สปก.และหน่วยพัฒนาการเยอรมัน
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ สาขากุดรัง
จานวนสมาชิก
กลุ่มทอผ้าไหมบ้านกุดรัง
ปัจจุบันมีจานวนสมาชิก (ทอ ) 32 คน
สมาชิกสมทบ ( ถือหุ้นร่วม ) 70 คน
เงินทุนหมุนเวียนในกลุ่ม 591,164 บาท
วัตถุดิบ
ซื้อเส้นไหมจากบ้านโนนงาม
ต.ห้วยเตย อ.กุดรัง จ.มหาสารคาม
และจากจุลไหมไทย จ.เพชรบูรณ์
ความภาคภูมิใจของกลุ่มทอผ้าไหม
บ้านกุดรัง
เป็นจุดกาเนิดผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก
ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ประจาจังหวัดมหาสารคาม
ที่ปรึกษา
1. พระครูสารกิจจานุยุต
2. หน่วยงานราชการในพื้นที่
3. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านกุดรัง
4. อาจารย์เรืองสรรค์ ศิริพล
5. อาจารย์ชารี ชินฮาต
ประเภทผ้าไหมที่ทางกลุ่มผลิต
ผ้าไหมมัดหมี่ลายทั่วไป
ผ้าไหมพื้นเรียบ
ผ้าไหมเปลือกนอก
ประเภทผ้าไหมที่ทางกลุ่มผลิต (ต่อ )
ผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก
เสื้อผ้าสาเร็จรูป
บทที่ 3
ขั้นตอนการทอผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก
( แผนภาพสรุปขั้นตอนการทอผ้าแบบย่อ )
1.ขั้นตอนการเตรียมเส้นไหม 2. ขั้นตอนมัดหมี่ 3.ขั้นตอนย้อมสี
4. ขั้นตอนแก้หมี่
5.ขั้นตอนทอผ้า
1. กี่ทอผ้าไหมหรือหูก
• เป็นอุปกรณ์ที่สาคัญยิ่งอีกอันหนึ่ง ลักษณะของกี่ จะมีโครงสร้างเป็นรูปสี่เหลี่ยม
ประกอบด้วยเสาหลัก 4 เสา มีไม้ยึดติดกัน
2. กระสวยวิ่งเส้นไหม
• ทาจากไม้เนื้อแข็ง ยาวประมาณ 1 ฟุต หัวหน้าท้ายเรียวงอน ตรงกลางเป็นรางสาหรับใส่
หลอดด้ายทางต่า (เส้นพุ่ง)เป็นเครื่องมือที่บรรจุหลอดไหมเส้นพุ่งเพื่อนาเส้นไหมไปขัดกับ
เส้นไหมยืน
3.หลอดด้ายไหม
• จะมีรูกลวงตลอด เพื่อใช้ไม้สอดยึดติดกับกระสวย
อุปกรณ์ในการทอผ้าไหม
4. ไม้เหยียบหูก
• เป็นไม้กลมๆ ยาวประมาณ 1.50 - 2.00 เมตร สาหรับสอดกับเชือกที่ผูกโยง จาก
ด้านล่างของเขาลงมาทาเป็นห่วงไว้เมื่อจะให้เขาขึ้น- ลง ในกรณีเปลี่ยนสีของเส้นไหมก็
เหยียบไม้นี้ ไม้เหยียบหูก จะมีจานวนเท่ากับจานวนของฟืมนั้นๆ
5.ไม้หาบหูก
• เป็นไม้ที่สอดร้อยกับเชือกที่ผูกเขาด้านบน เพื่อให้หูกยึดติดกับกี่ไม้หาบหูกจะมีอันเดียวไม่
ว่าจะใช้ฟืมที่มี 2 เขา ,3 เขา หรือ 4 เขา ไม้หาบหูกใช้ฟืม 2 เขา
6.ฟืมทอผ้า
• เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับทอผ้า มีตัวฟืมที่ทาจากไม้เนื้อแข็ง เป็นกรอบสี่เหลี่ยม มีฟันซี่เล็ก
ๆ เรียงกันเป็นตับอยู่กลางและระยะห่างของฟันเป็นที่ใช้สาหรับสอดเส้นไหมผ่าน ความ
กว้างของฟืมประมาณ 5 - 6 เซนติเมตร
อุปกรณ์ในการทอผ้าไหม ( ต่อ )
7.หลา
• ใช้สาหรับปั่นหลอด (ไหม) จากอักมาสู่โบกเพื่อทาเป็นทางต่า(เส้นพุ่ง)
• ใช้เข็นหรือปั่นไหม 2 เส้นรวมกัน
• ใช้แกว่งไหม
8. อัก
• ใช้สาหรับกวักไหมออกจากกง
9. โฮงมัดหมี่
• เครื่องมือสาหรับโยงด้ายเพื่อมัดลายก่อนนาไปย้อม
อุปกรณ์ในการทอผ้าไหม (ต่อ )
10.กง
• ใช้สาหรับใส่ไจหมี่
11.หลักเฝีย
• ใช้ในการค้นเส้น
อุปกรณ์ในการทอผ้าไหม ( ต่อ )
1.เส้นไหม
2.สีย้อมไหม
3.ด่างฟอกไหม
วัตถุดิบในการทอผ้าไหม
4.น้ายาล้างไหม
5.สบู่เทียม
6.ฟางสาหรับใช้มัดหมี่
วัตถุดิบในการทอผ้าไหม (ต่อ )
1.ขั้นตอนการเตรียมเส้นไหม
แผนภาพสรุปการเตรียมเส้นไหม ( แบบย่อ )
1.1 การเตรียมเส้นไหมยืน 1.2 การเตรียมเส้นไหมพุ่ง
กวักไหม
การค่นเส้นไหม
การฟอกไหม
การมัดหมี่
การย้อมไหมการสืบหูกการพันหูก การแก้หมี่
ปั่นหลอด
ใส่กระสวย
ประเภทเส้นไหมที่ใช้ในการทอผ้า
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้
เส้นยืน
เส้นพุ่ง
เส้นพุ่ง หมายถึง เส้นไหมที่ทาให้เกิดลวดลายลายบนผืนผ้า
เส้นยืน หมายถึง เส้นไหมที่ขัดสานกับเส้นพุ่งจะเป็นตัวบ่งชี้ความกว้างยาวของผืนผ้า
ขข 1.ขั้นตอนการเตรียมเส้นไหม
( แบบละเอียด )
1.1 ขั้นตอนการเตรียมเส้นไหมยืน
1.1.1 กวักไหม คือ กรรมวิธีที่นาเอาปอยไหมที่ผ่านการด่องไหมแล้วมากวักเพื่อทาให้เส้นไหมต่อกันเป็นเส้น
เดียวตลอด โดยใช้เครื่องมือสองอย่างคือ1.กง สาหรับใส่ปอยไหมทาด้วยไม้ไผ่และเชือก 2.อักทาด้วยไม้หรือไม้
ไผ่สาน
1.1.2 ค่นไหม
การค่นไหม คือ กรรมวิธี การนาไหมที่
กวักเรียบร้อยแล้ว “มาข้น” ทาปอยหมี่เพื่อ
นาไปมัดหมี่ต่อไป เครื่องมือที่ใช้ในการ
ค่นหมี่เรียกว่า “ฮงค่นหมี่”
1.1.3 การฟอกไหม คือ การนาไหมมาฟอก
ให้นิ่มและเป็นสีขาว นาเถ้าที่ได้ไปแช่น้าไว้
ให้ตกตะกอน ใช้เฉพาะส่วนที่เป็นน้าใส นา
ไหมที่จะฟอกลงแช่โดยก่อนจะนาไหมลงแช่
จะต้องทุบไหมให้อ่อนตัว เพื่อที่น้าจะได้ซึม
เข้าได้ง่าย แช่จนไหมนิ่มและขาว จึงนาไปผึ่ง
แดดให้แห้ง
1.1.4 การมัดหมี่
การมัดหมี่ คือ การนาเส้นไหมที่ฟอกขาวและนุ่ม
ดีแล้วนั้น มาพันหลักหมี่ซึ่งมีลักษณะเป็นไม้กลม 2
ท่อนตั้งตรงข้าม ห่างกันเท่ากับหน้าผ้าของผ้านุ่งที่
จะทอ พันไหมไปรอบหลักตามจานวนรอบที่
ต้องการ แล้วจึงนาเชือกมามัดเส้นไหมเป็นตอนๆ
ตามลวดลายที่จะประดิษฐ์ จะใช้เชือกกล้วยหรือ
เชือกฟางมัดก็ได้ทั้งนี้เพื่อกันไม่ให้น้าสีเข้าซึมใน
เส้นไหมเวลาย้อม
1.1.5 การย้อมไหม
การย้อมไหม คือกรรมวิธีนาไหมไปย้อมสี
ในน้าเดือด โดยเติมผงด่างคล้ายกรรมวิธี "การ
ด่องไหม" สีที่นามาย้อมนั้นจะต้องใช้สีให้
กลมกลืนกับสีของหมี่ที่ใช้สาหรับทอ หรือ
ย้อมให้เป็นสีเดียวกันก็ได้
1.1.6 การสืบหูก คือ กรรมวิธีนาเอาไหมเครือ
(ไหมเส้นยืน) ที่ย้อมสีแล้วไปต่อกับ "กกหูก"
คือส่วนที่ติดอยู่กับ "ฟืม"
1.1.7 การพันหูก
การพันหูก คือ การนาเอาฟืมที่ผ่านการสืบหูก
เรียบร้อยแล้วมาพันไหมเครือ (ไหมเส้นยืน) ใหม่
ให้เป็นระเบียบเพื่อนาไปทอเป็นผ้าไหมต่อไป
อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับฟันหูก คือไม้กระดานยาว
เท่ากับขนาดของฟืมหรือยาวกว่าเล็กน้อย
และจะต้องใส่ไม้ให้เรียบที่สุดเพื่อสะดวกในการ
พัน ในการพันหูกนี้จะต้องใช้ความละเอียดถี่ถ้วน
และใจเย็นพอสมควร ถ้าเส้นไหมเครือขาด
จะต้องทาการต่อเส้นไหมให้เรียบร้อยทุก ๆ เส้น
1.2 ขั้นตอนการเตรียมเส้นไหมพุ่ง
ขั้นตอนการเตรียมเส้นไหมพุ่งที่ 1.2.1 - 1.2.5 ใช้ขั้นตอนเดียวกันกับขั้นตอน
การเตรียมเส้นไหมยืนที่ 1.1.1 - 1.1.5
1.2.6 การแก้หมี่
การแก้หมี่ คือกรรมวิธีแก้เชือกฟางที่ใช้มัดลาหมี่แต่
ละลาออกให้หมดโดยใช้มีดบางเล็ก ๆ หรือใบมีดโกน
ชนิดมีด้าม การแก้หมี่จะต้องทาอย่างระมัดระวังอย่าให้
มีดถูกเส้นไหมขาด หมี่ที่แก้เชือกฟางออกหมดแล้ว จะ
เห็นลายหมี่ที่ย้อมได้สวยงามและชัดเจนมาก
1.2.7 ปั่นหลอดใส่กระสวย
โดยนาปอยหมี่ที่แก้เสร็จ ขึงใส่กง แล้วดึงเงื่อนไหมมาผูก
ติดกับหลอดที่อยู่เข็มไน ใช้มือปั่นหลาโดยการหมุนเวียน
ซ้ายไปตลอด เมื่อครบขีนของลายแล้วปลดออกจากหลา
หรือไนเก็บไว้เพื่อทอต่อไป
มัดหมี่ หมายถึง ลวดลายที่ปรากฏบนผืนผ้า
โดยมีวิธีการดังนี้
2.1. นาเส้นไหมที่จะทาเป็นเส้นพุ่งไปมัดลาย
ตามที่ต้องการแล้วนาไปย้อมสี เรียกว่า มัดหมี่
2.2. ด้ายเส้นยืนที่ย้อมสีหรือไม่ย้อมก็ได้
ประมาณ ๔๐ - ๕๐ เส้น จัดทาไว้ที่กี่ให้ยาวตาม
ต้องการ
2.3. เมื่อทาการทอ จะใช้เส้นพุ่งทาเป็นลวดลาย
ตามต้องการ
2.4 การนาเส้นไหมที่มัดหมี่แล้วไปแช่น้าเพื่อให้
น้าซึมเข้าเส้นหมี่โดยใช้เวลาแช่น้าตั้งแต่ 3 ชม.
ขึ้นไปแล้วจึงทาการย้อมสีพื้นเส้นไหมมัดหมี่
เหตุที่นาเส้นไหมไปแช่น้าเพราะว่าจะทาให้ได้
สีเสมอกัน
2 . ขั้นตอนการมัดหมี่
การมัดตีโครงหมี่ลายสร้อยดอกหมาก
การมัดตีโครงหมี่ลายสร้อยดอกหมาก เป็นการมัดหมี่ขั้นตอนแรกของลายสร้อยดอกหมาก ก่อนที่จะนาไปย้อมสีและโอบเป็นลายสร้อย
ดอกหมากที่สมบูรณ์
การมัดโอบหมี่ คือการใช้เชือกฟางเล็ก ๆ พันลาหมี่ตรงส่วนที่ยังไม่ถูกมัดหมี่ ตามแบบลายมัดหมี่ การโอบ(พัน) ต้องโอบ (พัน) ให้
เชือกฟางแน่นที่สุดและหลาย ๆ รอบ
โครงลวดลาย
ในการมัดโอบหมี่
มัดโอบหมี่
1
2
3
4
3. ขั้นตอนการย้อมสี
3.1.1 ฟอกไหม้
คือ การแยกไขมันออกจากเส้นไหมเพื่อป้องกัน การ
ย้อมสีไม่ติดฟอกไหมในอดีตจะใช้ขี้เถ้าถ่านจากต้นไม้
โดยการนาขี้เถ้ามาแช่น้าจนตกตะกอน แล้วจึงกรองน้าใส
ๆ มาแช่เส้นไหมที่ยังมีไขมันติดอยู่1 คืน หลังจากนั้นต้ม
น้าจนเดือดนาสบู่ซันไลด์1 ก้อน โดยต้องสบู่ให้เป็นชิ้น
บาง ๆในน้าเดือด นาเส้นไหมที่แช่น้าขี้เถ้าไว้แล้วใส่น้า
เดือดโดยใช้เวลาในการต้ม 15-30 นาที หรือให้สังเกตจาก
เส้นไหมจะนิ่ม
3.1 ฟอกไหม
3.123.2 กรอเส้นไหมเข้าหลอดเพื่อทาเส้นยืน คือ
เส้นไหมที่ขึงอยู่ในกี่จะควบ6,12 และการ
เข้ากวักทาเส้นพุ่งคือ เส้นไหมที่อยู่ใน
กระสวยใช้เวลาในการกรอเส้นไหม ซึ่งทา
ด้วยมือไม่ใช้เครื่องเป็นเวลา 2 วัน
3.3 ค้นเส้นยืนในเฝือ โดยกาหนดว่าจะเอาเส้นไหม
ยาวเท่าใดตามความต้องการ ส่วนใหญ่นิยมใช้ความ
ยาว 9-27 เมตรการค้นเส้นพุ่งนาเส้นไหมมาค้นใส่
แม่สะดึงยาวตามความกว้างของหน้าฟืม ต้องเรียง
เส้นไหมให้ได้ 4,500 เส้น ตามลายหมี่จานวนปอย
ขนาด 17-19-21-25-29-35-39 ใช้เวลาในการค้น 5-6
ชั่วโมง
3.4 เส้นยืนมัดต่อประมาณ 1,600-2,400เส้น เส้นยืนเก่าที่มีอยู่แล้วหรือเส้นยืนใหม่ต้องเก็บตระกรอ
ใช้เวลาในการมัดต่อสาหรับเส้นยืนผู้มีความชานาญจะใช้เวลา 2 วัน
3.5 การนาเส้นไหมที่มัดหมี่แล้วไปแช่น้าเพื่อให้น้าซึมเข้าเส้นหมี่โดยใช้เวลาแช่น้าตั้งแต่ 3 ชม. ขึ้น
ไปแล้วจึงทาการย้อมสีพื้นเส้นไหมมัดหมี่ เหตุที่นาเส้นไหมไปแช่น้าเพราะว่าจะทาให้สีเสมอกัน
สีเส้นไหมที่ได้จากการย้อมสีธรรมชาติ
4.ขั้นตอนแก้หมี่
การแก้หมี่ คือการแก้เชือกฟางที่มัดหมี่แต่ละลาออกให้หมดหลังจากการย้อมในแต่ละครั้ง
5.ขั้นตอนการทอผ้า
การทอผ้าไหม
ประกอบไปด้วยเส้นไหม 2 ชุด
1. เส้นไหมยืน 2. เส้นไหมพุ่ง
จะขึงไปตามความยาวผ้าอยู่ติดกับกี่ทอ(เครื่อง
ทอ) หรือแกนม้วนด้านยืน
จะถูกกรอเข้ากระสวยเพื่อให้กระสวย
เป็นตัวนาเส้นด้ายพุ่งสอดขัดเส้นด้ายยืน
เป็นมุมฉาก
ทอสลับกันไปตลอดความยาวของผืนผ้า
การสอดด้ายพุ่งแต่ละเส้นต้องสอดให้สุดถึงแต่ละด้าน แล้วจึงวกกลับมาจะทาให้เกิดริม
ผ้าเป็นเส้นตรงทั้งสองด้าน ส่วนลวดลายของผ้านั้นขึ้นอยู่กับการวางลายผ้าแบบของผู้ทอที่
ได้ทาการมัดหมี่ไว้
ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก
ผ้าไหม
ลายสร้อยดอกหมาก
เสื้อสูท
ผ้าคลุมไหล่
ผ้าขาวม้า
บรรยายโดย
นางสาวก้อย ชาเรืองฤทธิ์
รหัสนักศึกษา 563560150102
สาขารัฐประศาสนศาสตร์
คณะวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

More Related Content

What's hot

เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนApinya Phuadsing
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 
สื่อการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย เรื่อง คำที่มักเขียนผิด
สื่อการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย เรื่อง คำที่มักเขียนผิดสื่อการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย เรื่อง คำที่มักเขียนผิด
สื่อการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย เรื่อง คำที่มักเขียนผิดRujiratSrimai
 
โครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมโครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมprrimhuffy
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าApinya Phuadsing
 
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานืnattakamon thongprung
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่นกิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่นPimnatthacha
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดีโครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดีrawinchu
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่pink2543
 
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...ssuser920267
 

What's hot (20)

เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
โครงงานคอมพ วเตอร W (1)
โครงงานคอมพ วเตอร W (1)โครงงานคอมพ วเตอร W (1)
โครงงานคอมพ วเตอร W (1)
 
Gene
GeneGene
Gene
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
 
สื่อการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย เรื่อง คำที่มักเขียนผิด
สื่อการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย เรื่อง คำที่มักเขียนผิดสื่อการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย เรื่อง คำที่มักเขียนผิด
สื่อการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย เรื่อง คำที่มักเขียนผิด
 
โครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมโครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรม
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
โครงการบริจาคโลหิต
โครงการบริจาคโลหิตโครงการบริจาคโลหิต
โครงการบริจาคโลหิต
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่นกิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดีโครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี
โครงงานคอมพิวเตอร์ นางในวรรณคดี
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
 

ข้อมูลท้องถิ่นบ้านกุดรัง 2