SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
ความคืบหน้าเรื่อง “การดาเนินการแก้ปัญหาและเยียวยา
ภายหลังน้าลดในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ภายใต้ความ
ร่วมมือของภาคประชาชน ภาครัฐ ภาคเอกชน,องค์กร
อิสระ และภาคสื่อมวลชน แบบบูรณาการเพื่อความยั่งยืน
(Korat Model)”
ผู้ประสานงานโครงการ : กลุ่มเครือข่ายเพื่อสังคมโคราช(CSR Korat)
เกณฑ์การเลือกพื้นที่ดังนี้
• เป็นพื้นที่ประสบอุทกภัย ทั้งทรัพย์สิน และพืชผลการเกษตร และเป็นพื้นที่แรก ๆ
ที่ประสบอุทกภัย
• ชุมชนมีความเข้มแข็ง มีความพร้อมที่จะสามารถรวมกลุ่มและจัดการแก้ไขปัญหา
ร่วมกัน โดยใช้หลักการพึ่งพาตนเอง
• มีพื้นที่การเกษตรที่จาเป็นต้องมีการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน เมื่อดาเนินการแก้ไข
ปัญหาเบื้องต้นแล้ว สามารถนามาใช้เป็นกรอบแนวคิดให้กับพื้นที่อื่น ๆ ได้
• ระดับอาเภอมีแผนเบื้องต้น ในการแก้ไขปัญหา และมีการเก็บข้อมูลเบื้องต้นไว้แล้ว
• มีทีมผู้ประสานงานในพื้นที่ ที่สามารถเชื่อมต่อและเก็บข้อมูลพื้นที่เพิ่มเติมได้
ตลอดเวลา
ประกอบไปด้วย 4 หมู่บ้านได้แก่
บ้านดอนมะนาว,
บ้านปรางเก่า
บ้านหัวสระ,
บ้านถนนนาดี
ตาบลกุดน้อย อาเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา
ความเป็นมา
• พื้นที่ที่เลือกทาเป็นกรณีตัวอย่าง เป็นพื้นที่เกษตร ที่อยู่ในเขต
ชลประทาน มีคลองชลประทานปูนเพื่อทดน้าเข้าพื้นที่นา เพื่อทานาปรัง
แต่เนื่องจาก 3 ปีที่ผ่านมาประสบปัญหาเรื่องน้าในเขื่อนลาตะคองไม่
เพียงพอ จึงไม่สามารถทานาปรังได้ชาวบ้านในพื้นที่จึงได้ทานาปี และ
สภาพคลองชลประทานเดิมไม่สามารถใช้การได้เนื่องจากมีวัชพืชขึ้นปก
คลุมและไม่มีน้า ภายหลังจากอุทกภัย นาข้าวบริเวณนี้เสียหายเกือบ
ทั้งหมด ทางอาเภอและชาวบ้านจึงได้มีการเตรียมการลอกคลอง
ชลประทานเดิม และขอน้าจากชลประทาน เพื่อจะทานาปรังทดแทน
โดยจะต้องปลูกข้าวครั้งใหม่ให้ทันภายในเดือนธันวาคม และจะสามารถ
เก็บเกี่ยวได้ในช่วงเดือนเมษายน
จานวนครัวเรือนและพื้นที่ ที่ประสบอุทกภัย
- จานวนผู้ประสบอุทกภัยและอยู่ในพื้นที่ชลประทาน
จานวน 139 ครัวเรือน
-พื้นที่ ที่สามารถทานาปรังได้ตามแนวคิด Korat Model
จานวน 2,116 ไร่
ข้อเท็จจริงจากการลงพื้นที่ศึกษา
• จากการเก็บข้อมูลพบว่า สิ่งที่ชาวบ้านกังวลมากที่สุด คือเรื่องพื้นที่
การเกษตรที่เสียหาย เนื่องจากเป็นวิถีชีวิตหลักของชาวนา หากไม่มี
ข้าว นั่นหมายความว่า ครัวเรือนนั้น ๆ จะไม่มีรายได้ตลอดปี และไม่มี
ข้าวสาหรับบริโภคตลอดปีเช่นกัน อีกทั้งยังไม่สามารถชาระหนี้ที่กู้ยืม
มาทาการเกษตรได้ อาจจะนามาซึ่งการกู้หนี้นอกระบบ
• ภาคแรงงานเกษตรที่ทานาในปัจจุบัน เป็นคนชรา ที่ส่วนมากบุตร
หลานจะเดินทางไปทางานที่อื่น ข้อเท็จจริงข้อนี้อาจจะส่งผลในแง่
ของวิธีการทานา ซึ่งชาวนาส่วนมากยืนยันว่า ไม่มีแรงงานเพียง
พอที่จะทานาดาได้ต้องทานาหว่านเท่านั้น
ข้อเท็จจริงจากการลงพื้นที่ศึกษา
• ชาวบ้านในพื้นที่ศึกษา มีความเข้าใจเกี่ยวกับการรับความช่วยเหลือใน
รูปแบบของการพึ่งหาตนเอง เนื่องจากมีการรวมกลุ่มสร้างความเข้าใจ
ร่วมกัน โดยทางอาเภอเป็นผู้ประสานและสร้างความเข้าใจผ่านผู้นา
ชุมชน
• มีการรวมกลุ่มเบื้องต้น ในรูปของกรรมการหมู่บ้าน ทั้งนี้ หากมีการ
ให้ความช่วยเหลือ น่าจะมีการรวมกลุ่มเพื่อบริหารจัดการได้เอง โดย
อาศัยคาแนะนาจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ข้อเท็จจริงจากการลงพื้นที่ศึกษา
ความคืบหน้าของการดาเนินงานในปัจจุบัน
• ภาครัฐ
‟ ผู้ประสานงาน : เจ้าพนักงานฝ่ ายปกครอง อาเภอสีคิ้ว
„ - มีการเก็บข้อมูลผู้ประสบภัยไว้แล้วทั้งหมด มีการจัดทาเป็นฐานข้อมูล แบ่งเป็น
พื้นที่เขตชลประทาน และนอกเขตชลประทาน สาหรับในพื้นที่ตัวอย่างซึ่งเป็น
เขตชลประทานนั้น มีผู้เสียหาย 139 ครัวเรือน พื้นที่เสียหายที่จะใช้เป็นพื้นที่
ศึกษาเพื่อทานาปรังตามแนวคิดของ Korat Model ทั้งหมด 2,126 ไร่โดยเตรียม
ดาเนินการเป็นโครงการนาร่องชื่อโครงการ “กู้นา ฝ่าวิกฤติ”
„ - มีการลงพื้นที่ทาความเข้าใจกับชาวบ้านในเรื่องของการรับความช่วยเหลือ
แบบพึ่งพาตนเอง
„ - มีการจัดเตรียมหาแหล่งซื้อพันธุ์ข้าวและสถานที่จัดเก็บ ในกรณีที่ได้รับ
บริจาคเป็นเงินหรือ เมล็ดพันธุ์ โดยทางอาเภอสามารถมีความพร้อมในการเป็นผู้
ประสานในการจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ได้
ภาครัฐ
- จัดเตรียมการให้คาแนะนา ในการบริหารจัดการพันุ์ข้าวที่ได้
รับมาในรูปแบบของการยืม-คืน
• - ประสานขอความร่วมมือกับกรมชลประทาน เพื่อปล่อยน้าใน
การทาการเกษตร
• - จัดเตรียมการให้ความช่วยเหลือในพื้นที่อื่น ๆ ที่ไม่สามารถทานา
ปรังได้หรืออยู่นอกเขตชลประทาน
ความคืบหน้าของการดาเนินงานในปัจจุบัน
• ภาคเอกชนและองค์กรอิสระ
– ผู้ประสานงาน : CSR Korat
– มีการลงพื้นที่คุยกับชาวบ้าน และประชุมร่วมกับฝ่ายปกครอง เพื่อหารือแนวทางแก้ไข
ปัญหาร่วมกัน
– สรุปความต้องการ ส่งต่อข้อมูล โดยสรุปความต้องการของพื้นที่มีดังต่อไปนี้
• พันธุ์ข้าวนาปรัง ไวแสง ระยะเก็บเกี่ยวประมาณ 3 เดือน (ใช้จริงประมาณ 46 ตัน
มีผู้บริจาคแล้วประมาณ 12 ตัน),(คลังพลาซ่ามูลนิธิชุมชนไทย,etc.)
• นักวิชาการ ที่สามารถลงมาให้ความรู้กับชาวบ้านได้ในการทานาปรังเพื่อเพิ่ม
ผลผลิต(มทส,etc.)
• บริษัทเอกชนที่มีความรู้และเครื่องจักร เพื่อลงมาให้ความรู้กับเกษตรกร ในการทา
นาปรัง(Kubota, etc.)
• ประสานงานกับอาเภอ และเอกชนในเรื่องอาชีพเสริมสาหรับพื้นที่นอกเขต
ชลประทาน (อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูลและเลือกพื้นที่)
ความคืบหน้าของการดาเนินงานในปัจจุบัน
ภาคประชาชน
ผู้ประสานงาน : ผู้นาชุมชนและชาวบ้าน
มีการรวมกลุ่มกันขุดลอกคลองเพื่อเตรียมรับน้า
มีการรวมกลุ่มกันเพื่อคิดวิธีการบริหารจัดการกองทุนพันธุ์ข้าว หรือ
อาชีพเสริมอื่น ๆ
มีการจัดเตรียมขอซื้อพันธุ์ข้าว จากพื้นที่ข้างเคียงที่ไม่เสียหาย ใน
กรณีที่ความช่วยเหลือด้านเมล็ดพันธุ์ล่าช้า
ความคืบหน้าของการดาเนินงานในปัจจุบัน
• ภาคสื่อมวลชน
– อยู่ระหว่างการติดต่อและส่งข้อมูลเบื้องต้นให้กับสื่อมวลชน
– มีการประชาสัมพันธุ์และขอความรร่วมมือโดยการส่งข่าวสารทาง
• Face book, Email
ความคืบหน้าของการดาเนินงานในปัจจุบัน
พันธุ์ข้าวที่ต้องการ
• ข้าวนาปรังอายุสั้น ไวแสง อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 90-120 วัน เช่น
• พันธุ์สุพรรณบุรี60
• สุพรรณบุรี 1
• ชัยนาท 1
• ประมาณ 40 ตัน
• ระดมได้แล้ว ประมาณ 20 ตัน จาก 3 ลักษณะ
-รับเป็นพันธุ์ข้าวจากมูลนิธิชุมชนไทย 3 เกวียน
-ได้รับบริจาคเงินมาซื้อพันธุ์ข้าว
-ซื้อพันธุ์ข้าวจากในพื้นที่ ที่ไม่ได้รับความเสียหาย
จานวนพันธุ์ข้าวที่ต้องการ
• กาหนดการการดาเนินการ โครงการ “กู้นาฝ่ าวิกฤติ” ภายใต้กรอบแนวคิด
• Korat model
• 18 พย. 53 ลงพื้นที่พูดคุยกับชาวบ้าน
• ประชุมหารือกับอาเภอ ในเรื่องแนวทางการดาเนินงาน
• 19-23 พย.53 ระดมพันธุ์ข้าวและเงินบริจาคพันธุ์ข้าว
• 24 พย. 53 สั่งซื้อพันธุ์ข้าวปลูก ,เตรียมการบริหารจัดการพันธุ์
ข้าว ปลูกที่ได้รับ
• 30 พย. 53 รับพันธุ์ข้าวปลูก ประสานงาน จัดเก็บ
• 7-8 ธค.53 ลงแขก หว่านข้าว
• เมษายน 54 เก็บเกี่ยวผลผลิต บริหารจัดการผลผลิต
• พฤษภาคม พูดคุย สรุป และหาวิธีดาเนินการเพื่อความยั่งยืน
Korat model
Korat model

More Related Content

More from Poramate Minsiri

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open PlatformPoramate Minsiri
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.Poramate Minsiri
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริPoramate Minsiri
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Poramate Minsiri
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้FloodPoramate Minsiri
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่Poramate Minsiri
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่Poramate Minsiri
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นPoramate Minsiri
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวPoramate Minsiri
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนPoramate Minsiri
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดPoramate Minsiri
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวPoramate Minsiri
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Poramate Minsiri
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งPoramate Minsiri
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ ThaifloodPoramate Minsiri
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก ThaifloodPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคPoramate Minsiri
 

More from Poramate Minsiri (20)

แนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platformแนวคิด RNN Open Platform
แนวคิด RNN Open Platform
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
สมุดปกเขียว แนวทางเคลื่อนไหวคัดค้านแผนจัดการน้ำ กบอ.
 
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิรินิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
นิตยสาร Secret บทสัมภาษณ์ ปรเมศวร์ มินศิริ
 
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
Natural disaster monitoring by sensor web technology in thailand v2
 
อาสาสู้Flood
อาสาสู้Floodอาสาสู้Flood
อาสาสู้Flood
 
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วมโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
 
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaiflood
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
 

Korat model