SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
บทที่ 3
การพิมพ์และการรับข้อมูล
ในภาษา C  จะมีฟังก์ชันสำาหรับการพิมพ์และการรับข้อมูลไว้ให้ใช้
   มากมาย การพิมพ์ก็คือ การนำาข้อมูลไปแสดงที่หน้าจอ และการรับข้อมูลก็
   คือ การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดเข้ามา ซึ่งในภาษา C นั้นจะมองอุปกรณ์ใน
   เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไฟล์ทั้งหมด ยกตัวอย่างเช่น จอภาพจะเป็น Standa
rd Output File  และคีย์บอร์ดจะเป็น Standard Input File ดังรูปที่ 3-1
รูปที่ 3-1  แสดงการพิมพ์และรับข้อมูล
   Standard Input File   โดยทั่วไปก็คือ Buffered   นั่นเอง ซึ่งจะทำาหน้าที่ในการ
 เก็บข้อมูลที่ได้รับจากคีย์บอร์ดไปเก็บไว้ โดยเรียงลำาดับกันเข้าไป
Standard Output File         คือ จอภาพ ซึ่งก็เหมือนกับคีย์บอร์ด ซึ่งจะเป็นเท็กซ์ไฟล์ เมื่อ
 ต้องการจะแสดงข้อมูลนั้น จะทำาการแปลงข้อมูลเป็นข้อความก่อนแล้วค่อยพิมพ์แสดงออกมา
การพิมพ์ข้อมูล
ฟังก์ชันมาตรฐานที่ใช้ในการพิมพ์ข้อมูลของภาษา C  คือ printf  ซึ่งมีรูปแบบดังนี้
รูปแบบ
Printf  (“[รูปแบบข้อความ]”,[ตัวแปร])
รูปที่ 3 – 2 แสดงคำาสั่งในการ Output  ข้อมูล
ออกทางหน้าจอ
     ในส่วนรูปแบบข้อความนั้น อาจจะเป็นตัวอักษร ข้อความ หรือ
   เป็นตัวกำาหนดชนิดของข้อมูล ซึ่งใช้กำาหนดชนิดข้อมูลที่จะพิมพ์ ซึ่งจะ
ต้องอยู่หลังเครื่องหมาย %     เสมอ และสามารถใช้ได้ทั้งการ Input   และ
Output  ดังแสดงในตารางที่ 3 -1
ตารางที่ 3-1 แสดงตัวกำาหนดชนิดข้อมูล
ตารางที่ 3-2  การแสดงข้อมูลแบบกำาหนดและไม่
กำาหนดความยาว
และผู้ใช้สามารถกำาหนดความยาวของข้อมูลที่จะแสดงออก
 มาได้ โดยมีรูปแบบคำาสั่งดังนี้
%[ความยาว][ตัวกำาหนดข้อมูล] สามารถดูตัวอย่างได้
ในตารางที่ 3- 2
   ถ้าข้อมูลเป็นตัวเลขชนิด float  ก็สามารถทำาได้เช่นกัน แต่จะต้อง
กำาหนดตัวเป็นดังนี้
% [ความยาว].[จำานวนเลขหลังจุดทศนิยม][ตัวกำาหนดข้อมูล] เช่น
printf(“%7.2f”,23.35000);
 ซึ่งมีความหมายว่า ข้อมูลที่จะแสดงยาวทั้งหมด 5  ตัว โดยแบ่งเป็นจำานวน
 ตัวเลขหน้าจุด ทศนิยม 4  ตัว ทศนิยม 1  ตัว และตัวเลขหลังจุดทศนิยม
อีก 2 ตัว ผลลัพธ์ของคำาสั่งด้านบนจะเป็นดังนี้
                                23.35
ตัวอย่างการพิมพ์ข้อมูล
1. printf(“%d%c%f”,23, ‘z’,4.1);
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นดังนี้
                                23z4.100000
 ผลลัพธ์ที่ออกมาติดกัน เพราะในรูปข้อความระหว่างตัวกำาหนดชนิดข้อมูล
 แต่ละตัวนั้นไม่ได้เว้นวรรคไว้ จึงแสดงผลออกมาติดกัน
2. printf(“%d %c %f”, 23. ‘z’, 4.1);
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นดังนี้
                23 z 4.100000
เป็นการพิมพ์ตามตัวอย่างที่ 1 แต่แก้ไขให้มีการเว้น
วรรคระหว่างค่าด้วย
3.            int num1 = 23;
char zee = ‘z’;
float num2 = 4.1;
printf(“%d %c %f”, num1, zee, num2);
4.            printf(“%dt%ct%5.1f”, 23, ‘z’, 14.2);
printf(“%dt%ct%5.1f”, 107, ‘A’, 53.6);
printf(“%dt%ct%5.1f”, 1754, ‘F’, 122.0);
printf(“%dt%ct%5.1f”, 3, ‘P’, 0.1);
                ผลลัพธ์ที่ได้เป็นดังนี้
                                23                           z      
        14.2
                                107                         A      
       53.6
                                1754                       F       
      122.0
                                3                              P   
          0.1
5. printf(“The number is %6d”, 23);
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นดังนี้
                                The number is     23
ในภาษา C  นั้นจะมีค่าคงที่ที่เป็นตัวอักษรอยู่ชุดหนึ่ง ที่จะใช้ในการ
ควบคุมการพิมพ์และแสดงเครื่องหมายบางอย่างที่ไม่สามารถพิพม์เครื่องหมายนั้น
   ตรงๆ ลงไปในรูปแบบของข้อความได้ ซึ่งชุดค่าคงที่ของตัวอักษรเหล่านี้ เรียก
ว่า Back-slash character ดังแสดงในตารางที่ 3-3
ตารางที่ 3-3  แสดง Back-slash character
รูปแบบการรับข้อมูล
ฟังก์ชันมาตรฐานที่ใช้ในการรับข้อมูลของภาษา C คือ scanf
ซึ่งมีรูปแบบดังนี้
รูปแบบ
                Scanf(“[รูปแบบข้อความ]”,[ที่อยู่
ของตัวแปร])
รูปที่ 3-3 แสดงฟังก์ชันในการรับ
ข้อมูลจากคีย์บอร์ด
                 เมื่อโปรแกรมทำางานมาถึงฟังก์ชันนี้ โปรแกรมจะหยุดรอให้ผู้
   ใช้ป้อนข้อมูล โดยข้อมูลที่ป้อนลงไปจะไปแสดงบนจอภาพด้วย เมื่อป้อน
เสร็จให้กดปุ่ม Enter  ข้อมูลก็จะถูกเก็บในตัวแปรตามรูปแบบข้อความ
 โดยในรูปแบบข้อความนั้นจะต้องมีตัวกำาหนดชนิดข้อมูลด้วย ซึ่งตัว
 กำาหนดชนิดข้อมูลจะต้องมีจำานวนเท่ากับตัวแปร มิฉะนั้นจะเกิด Error ขึ้น
มาทันที
ตัวอย่างการรับข้อมูล
1. 214  156  14z
scanf(“%d%d%d%c”, &a, &b, &c, %d);
สาเหตุที่ไม่ต้องเว้นวรรคระหว่าง 14 กับ z นั้น เพราะ %c จะไม่ตัดช่องว่าง
 เพราะช่องว่างก็ถือว่าเป็นตัวอักษรเหมือนกัน เพราะฉะนั้นจะต้องแก้เป็น
ดังนี้
       scanf(“%d%d%d %c”, &a, &b, &c, %d);
2. 2314  15  2.14
scanf(“%d %d %f”, &a, &b, &c);
 การรับค่าที่เป็นตัวเลขนั้น เว้นวรรคจะไม่มีผลค่าการรับค่า
3. 14/26 25/66
scanf(“%2d/%2d %2d/%2d”, &num1, &num2,
&num3, &num4);
ถ้ามี /  ในรูปแบบข้อความ ผู้ใช้ต้องพิมพ์เข้าไปด้วยใน
ระหว่างการรับข้อมูล
4. 11-25-56
scanf(“%d-%d-%d”,&a, &b, &c);
ฟังก์ชันการรับข้อมูลตัวอักษร
 การที่จะใช้ฟังก์ชันต่อไปนี้ได้ จะต้องนำาเข้าเข้าไลบรารีไฟล์ที่ชื่อ c
onio.h ด้วย
getch  เมื่อทำางานมาถึงฟังก์ชันนี้ โปรแกรมจะหยุดให้ผู้ใช้พิมพ์
ข้อมูล 1 ตัวอักษร และเมื่อป้อนเสร็จแล้วไม่ต้องกดปุ่ม Enter และ
 เคอร์เซอร์จะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่ และตัวอักษรที่พิมพ์ลงไปจะไม่
 แสดงออกทางจอภาพด้วย ซึ่งตัวอย่างแสดงได้ดังนี้
                ch = getch();
getche ฟังก์ชันนี้จะทำางานเหมือนกับฟังก์ชัน getch แต่จะแสดงตัว
อักษรที่พิมพ์เข้าไปออกทางจอภาพด้วย ซึ่งตัวอย่างแสดงดังนี้
ch = getch();
getchar  เมื่อทำางานมาถึงฟังก์ชันนี้ โปรแกรมจะหยุดให้ผู้ใช้พิมพ์
ข้อมูล 1    ตัวอักษร และเมื่อป้อนเสร็จแล้ว จะต้องกดปุ่ม Enter ด้วย
 และเคอร์เซอร์ก็จะขึ้นบรรทัดใหม่ ส่วนตัวอักษรที่พิมพ์ลงไปก็จะ
 แสดงออกทางจอภาพด้วย ซึ่งตัวอย่างแสดงดังนี้
ch = getchar(0;
ตัวอย่างโปรแกรม
ในโปรแกรม 3-1 เป็นโปรแกรมง่ายๆ จะแสดง
“Nothing”
                โปรแกรมที่ 3-1
“โปรแกรมที่แสดงคำาว่า Nothing”
   ผลลัพธ์ที่ได้

More Related Content

What's hot

บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน0882324871
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 

What's hot (6)

บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 

Similar to การพิมพ์และการรับข้อมูล

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSaranporn Rungrueang
 
คอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิกคอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิกSumalee Sonamthiang
 
การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34pachchary
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานRatchanok Nutyimyong
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานWasin Kunnaphan
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft accesskomolpalin
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น-
 

Similar to การพิมพ์และการรับข้อมูล (20)

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
คอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิกคอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิก
 
การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

การพิมพ์และการรับข้อมูล

  • 2. ในภาษา C  จะมีฟังก์ชันสำาหรับการพิมพ์และการรับข้อมูลไว้ให้ใช้    มากมาย การพิมพ์ก็คือ การนำาข้อมูลไปแสดงที่หน้าจอ และการรับข้อมูลก็    คือ การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดเข้ามา ซึ่งในภาษา C นั้นจะมองอุปกรณ์ใน    เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไฟล์ทั้งหมด ยกตัวอย่างเช่น จอภาพจะเป็น Standa rd Output File  และคีย์บอร์ดจะเป็น Standard Input File ดังรูปที่ 3-1 รูปที่ 3-1  แสดงการพิมพ์และรับข้อมูล
  • 3.    Standard Input File   โดยทั่วไปก็คือ Buffered   นั่นเอง ซึ่งจะทำาหน้าที่ในการ  เก็บข้อมูลที่ได้รับจากคีย์บอร์ดไปเก็บไว้ โดยเรียงลำาดับกันเข้าไป Standard Output File         คือ จอภาพ ซึ่งก็เหมือนกับคีย์บอร์ด ซึ่งจะเป็นเท็กซ์ไฟล์ เมื่อ  ต้องการจะแสดงข้อมูลนั้น จะทำาการแปลงข้อมูลเป็นข้อความก่อนแล้วค่อยพิมพ์แสดงออกมา การพิมพ์ข้อมูล ฟังก์ชันมาตรฐานที่ใช้ในการพิมพ์ข้อมูลของภาษา C  คือ printf  ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ Printf  (“[รูปแบบข้อความ]”,[ตัวแปร]) รูปที่ 3 – 2 แสดงคำาสั่งในการ Output  ข้อมูล ออกทางหน้าจอ
  • 4.      ในส่วนรูปแบบข้อความนั้น อาจจะเป็นตัวอักษร ข้อความ หรือ    เป็นตัวกำาหนดชนิดของข้อมูล ซึ่งใช้กำาหนดชนิดข้อมูลที่จะพิมพ์ ซึ่งจะ ต้องอยู่หลังเครื่องหมาย %     เสมอ และสามารถใช้ได้ทั้งการ Input   และ Output  ดังแสดงในตารางที่ 3 -1 ตารางที่ 3-1 แสดงตัวกำาหนดชนิดข้อมูล ตารางที่ 3-2  การแสดงข้อมูลแบบกำาหนดและไม่ กำาหนดความยาว และผู้ใช้สามารถกำาหนดความยาวของข้อมูลที่จะแสดงออก  มาได้ โดยมีรูปแบบคำาสั่งดังนี้ %[ความยาว][ตัวกำาหนดข้อมูล] สามารถดูตัวอย่างได้ ในตารางที่ 3- 2
  • 5.    ถ้าข้อมูลเป็นตัวเลขชนิด float  ก็สามารถทำาได้เช่นกัน แต่จะต้อง กำาหนดตัวเป็นดังนี้ % [ความยาว].[จำานวนเลขหลังจุดทศนิยม][ตัวกำาหนดข้อมูล] เช่น printf(“%7.2f”,23.35000);  ซึ่งมีความหมายว่า ข้อมูลที่จะแสดงยาวทั้งหมด 5  ตัว โดยแบ่งเป็นจำานวน  ตัวเลขหน้าจุด ทศนิยม 4  ตัว ทศนิยม 1  ตัว และตัวเลขหลังจุดทศนิยม อีก 2 ตัว ผลลัพธ์ของคำาสั่งด้านบนจะเป็นดังนี้                                 23.35 ตัวอย่างการพิมพ์ข้อมูล 1. printf(“%d%c%f”,23, ‘z’,4.1); ผลลัพธ์ที่ได้เป็นดังนี้                                 23z4.100000  ผลลัพธ์ที่ออกมาติดกัน เพราะในรูปข้อความระหว่างตัวกำาหนดชนิดข้อมูล  แต่ละตัวนั้นไม่ได้เว้นวรรคไว้ จึงแสดงผลออกมาติดกัน
  • 6. 2. printf(“%d %c %f”, 23. ‘z’, 4.1); ผลลัพธ์ที่ได้เป็นดังนี้                 23 z 4.100000 เป็นการพิมพ์ตามตัวอย่างที่ 1 แต่แก้ไขให้มีการเว้น วรรคระหว่างค่าด้วย 3.            int num1 = 23; char zee = ‘z’; float num2 = 4.1; printf(“%d %c %f”, num1, zee, num2);
  • 7. 4.            printf(“%dt%ct%5.1f”, 23, ‘z’, 14.2); printf(“%dt%ct%5.1f”, 107, ‘A’, 53.6); printf(“%dt%ct%5.1f”, 1754, ‘F’, 122.0); printf(“%dt%ct%5.1f”, 3, ‘P’, 0.1);                 ผลลัพธ์ที่ได้เป็นดังนี้                                 23                           z               14.2                                 107                         A              53.6                                 1754                       F              122.0                                 3                              P              0.1 5. printf(“The number is %6d”, 23); ผลลัพธ์ที่ได้เป็นดังนี้                                 The number is     23
  • 8. ในภาษา C  นั้นจะมีค่าคงที่ที่เป็นตัวอักษรอยู่ชุดหนึ่ง ที่จะใช้ในการ ควบคุมการพิมพ์และแสดงเครื่องหมายบางอย่างที่ไม่สามารถพิพม์เครื่องหมายนั้น    ตรงๆ ลงไปในรูปแบบของข้อความได้ ซึ่งชุดค่าคงที่ของตัวอักษรเหล่านี้ เรียก ว่า Back-slash character ดังแสดงในตารางที่ 3-3 ตารางที่ 3-3  แสดง Back-slash character
  • 9. รูปแบบการรับข้อมูล ฟังก์ชันมาตรฐานที่ใช้ในการรับข้อมูลของภาษา C คือ scanf ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ                 Scanf(“[รูปแบบข้อความ]”,[ที่อยู่ ของตัวแปร]) รูปที่ 3-3 แสดงฟังก์ชันในการรับ ข้อมูลจากคีย์บอร์ด
  • 10.                  เมื่อโปรแกรมทำางานมาถึงฟังก์ชันนี้ โปรแกรมจะหยุดรอให้ผู้    ใช้ป้อนข้อมูล โดยข้อมูลที่ป้อนลงไปจะไปแสดงบนจอภาพด้วย เมื่อป้อน เสร็จให้กดปุ่ม Enter  ข้อมูลก็จะถูกเก็บในตัวแปรตามรูปแบบข้อความ  โดยในรูปแบบข้อความนั้นจะต้องมีตัวกำาหนดชนิดข้อมูลด้วย ซึ่งตัว  กำาหนดชนิดข้อมูลจะต้องมีจำานวนเท่ากับตัวแปร มิฉะนั้นจะเกิด Error ขึ้น มาทันที ตัวอย่างการรับข้อมูล 1. 214  156  14z scanf(“%d%d%d%c”, &a, &b, &c, %d); สาเหตุที่ไม่ต้องเว้นวรรคระหว่าง 14 กับ z นั้น เพราะ %c จะไม่ตัดช่องว่าง  เพราะช่องว่างก็ถือว่าเป็นตัวอักษรเหมือนกัน เพราะฉะนั้นจะต้องแก้เป็น ดังนี้
  • 11.        scanf(“%d%d%d %c”, &a, &b, &c, %d); 2. 2314  15  2.14 scanf(“%d %d %f”, &a, &b, &c);  การรับค่าที่เป็นตัวเลขนั้น เว้นวรรคจะไม่มีผลค่าการรับค่า 3. 14/26 25/66 scanf(“%2d/%2d %2d/%2d”, &num1, &num2, &num3, &num4); ถ้ามี /  ในรูปแบบข้อความ ผู้ใช้ต้องพิมพ์เข้าไปด้วยใน ระหว่างการรับข้อมูล 4. 11-25-56 scanf(“%d-%d-%d”,&a, &b, &c);
  • 12. ฟังก์ชันการรับข้อมูลตัวอักษร  การที่จะใช้ฟังก์ชันต่อไปนี้ได้ จะต้องนำาเข้าเข้าไลบรารีไฟล์ที่ชื่อ c onio.h ด้วย getch  เมื่อทำางานมาถึงฟังก์ชันนี้ โปรแกรมจะหยุดให้ผู้ใช้พิมพ์ ข้อมูล 1 ตัวอักษร และเมื่อป้อนเสร็จแล้วไม่ต้องกดปุ่ม Enter และ  เคอร์เซอร์จะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่ และตัวอักษรที่พิมพ์ลงไปจะไม่  แสดงออกทางจอภาพด้วย ซึ่งตัวอย่างแสดงได้ดังนี้                 ch = getch(); getche ฟังก์ชันนี้จะทำางานเหมือนกับฟังก์ชัน getch แต่จะแสดงตัว อักษรที่พิมพ์เข้าไปออกทางจอภาพด้วย ซึ่งตัวอย่างแสดงดังนี้ ch = getch(); getchar  เมื่อทำางานมาถึงฟังก์ชันนี้ โปรแกรมจะหยุดให้ผู้ใช้พิมพ์ ข้อมูล 1    ตัวอักษร และเมื่อป้อนเสร็จแล้ว จะต้องกดปุ่ม Enter ด้วย  และเคอร์เซอร์ก็จะขึ้นบรรทัดใหม่ ส่วนตัวอักษรที่พิมพ์ลงไปก็จะ  แสดงออกทางจอภาพด้วย ซึ่งตัวอย่างแสดงดังนี้
  • 13. ch = getchar(0; ตัวอย่างโปรแกรม ในโปรแกรม 3-1 เป็นโปรแกรมง่ายๆ จะแสดง “Nothing”                 โปรแกรมที่ 3-1 “โปรแกรมที่แสดงคำาว่า Nothing”