SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
ประวัติและประสบการณ์
นายสุวิทย์ แจ้งเพชร
การศึกษา - นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม)
- เนติบัณฑิตไทย
การทางาน - นิติกร กรมการศึกษานอกโรงเรียน
- หัวหน้าฝ่ายพัสดุ กรมการศึกษานอกโรงเรียน
- หัวหน้าส่วนอานวยการ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
- ผู้อานวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ กศน.
ที่อยู่ปัจจุบัน - หมู่บ้านลัลลี่วิลล์ อ.เมือง ฯ จ.สมุทรปราการ
โทร. 0860194054
กฎหมายเกี่ยวกับการพัสดุ
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการพัสดุ
1. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
2. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์
พ.ศ. 2549
3. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502
4. ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548
5. ระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ พ.ศ. 2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการ
คลัง พ.ศ. 2544
7. ประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินเรื่อง การจัดทาแผนปฏิบัติการจัดซื้อ
จัดจ้าง พ.ศ. 2546
8. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และกฎกระทรวง
9. พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.
2542
การใช้จ่ายงบประมาณ
ตาม พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502
• การใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพัน ต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ เฉพาะ
ตามที่กาหนดไว้ใน พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี
• ห้ามจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันก่อนได้รับอนุมัติเงินประจางวด
หลักการสาคัญของการพัสดุ
• หลักการเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ
- ต้องไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
• หลักการเกี่ยวกับการแข่งขัน
- เป็นธรรม
- เปิดเผย
- โปร่งใส
หลักการจาแนกประเภทรายจ่าย
ตามงบประมาณ
พัสดุ : วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
วัสดุ : 1. สิ่งของซึ่งโดยสภาพเมื่อใช้แล้วสิ้นเปลืองหมดไป
หรือไม่คงสภาพเดิม
2. สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วย
หรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท
3. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต่อหน่วย / ชุด ไม่เกิน 20,000 บาท
4. การประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม ปรับปรุง ครุภัณฑ์ และครุภัณฑ์
คอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5,000 บาท หรือที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
ไม่เกิน 50,000 บาท
5. การซ่อมแซมบารุงรักษาทรัพย์สินเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ
ครุภัณฑ์
1. สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วย / ชุด
เกินกว่า 5,000 บาท
2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วย / ชุด
เกินกว่า 20,000 บาท
3. การประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม ปรับปรุงครุภัณฑ์ และครุภัณฑ์
คอมพิวเตอร์ เกิน 5,000 บาท
4. การซ่อมแซมบารุงรักษาโครงสร้างครุภัณฑ์ขนาดใหญ่
(ไม่รวมค่าซ่อมปกติ หรือค่าซ่อมกลาง)
5. การจ้างที่ปรึกษา เพื่อจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์
ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง : รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและ
สิ่งก่อสร้างรวมทั้งสิ่งต่าง ๆ ที่ติดตรึงกับที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
รวมถึง
• ค่าติดตั้งประปา ไฟฟ้า ครั้งแรกในอาคาร
• การประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม ปรับปรุง ที่ดินสิ่งก่อสร้าง เกิน
50,000 บาท
• การจ้างออกแบบ ควบคุมงาน ที่จ่ายให้แก่เอกชน
• การจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดหาหรือปรับปรุงที่ดิน สิ่งก่อสร้าง
• รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (ค่าเวนคืน ค่าชดเชย
ฯลฯ)
ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ(ข้อ๕)
• เจ้าหน้าที่พัสดุ
• หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ
หัวหน้าหน่วยพัสดุ
โดยตาแหน่ง
โดยแต่งตั้ง- ข้าราชการ/ลูกจ้าง
พนักงานราชการ
โดยตาแหน่ง
โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ
โดยตาแหน่ง
โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ
การจัดหาพัสดุ
แบ่งเป็น 7 ประเภท คือ
๑) การจัดทาเอง (ไม่มีค่าจ้าง)
๒) การซื้อ (ซื้อพร้อมติดตั้ง)
๓) การจ้าง (จ้างทาของ จ้างเหมาบริการ จ้างรับขน)
๔) การจ้างที่ปรึกษา (จ้างบริการทางวิชาการ)
๕) การจ้างออกแบบและควบคุมงาน (ก่อสร้าง อาคาร)
๖) การเช่า (สังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์)
๗) การแลกเปลี่ยน (วัสดุ ครุภัณฑ์)
หลักการจัดหาพัสดุ
1. ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบต้องปฏิบัติตามขั้นตอนแต่ละขั้นตอน
- ดาเนินการโดยเปิดเผย
- โปร่งใส
- เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม
- คานึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคา /งาน
2. การดาเนินการแต่ละขั้นตอน ต้องมีการบันทึกหลักฐาน ระบุเหตุผล
ในการพิจารณาสั่งการในขั้นตอนที่สาคัญ
บทกาหนดโทษ
ผู้มีอานาจหน้าที่
ผู้หนึ่งผู้ใด
กระทา
โดยจงใจ
ประมาทเลินเล่อ
ไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้
มีเจตนาทุจริต
ปราศจากอานาจ
นอกเหนืออานาจ
เอื้ออานวยประโยชน์ต่อผู้เข้าเสนอราคา
ให้มีการขัดขวางการเสนอราคา
เป็นการกระทาผิดวินัย
เกณฑ์การลงโทษ
มีเจตนาทุจริต หรือ
เป็นเหตุให้ราชการเสียหายอย่างร้ายแรง
เป็นเหตุให้ราชการเสียหายไม่ร้ายแรง
ไม่เป็นเหตุให้เสียหาย
อย่างต่าปลดออก
อย่างต่าตัดเงินเดือน
ภาคทัณฑ์ หรือ
ว่ากล่าวตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร
ไม่เป็นเหตุให้หลุดพ้นความรับผิดทางแพ่ง หรือทางอาญา (ถ้ามี)
วิธีการซื้อ การจ้าง
1. วิธีตกลงราคา วงเงินไม่เกิน 1 แสนบาท
2. วิธีสอบราคา วงเงินเกิน 1 แสนบาท
แต่ไม่เกิน 2 ล้านบาท
3. วิธีประกวดราคา วงเงินเกิน 2 ล้านบาท
4. วิธีพิเศษ วงเงินเกิน 1 แสนบาท
แต่มีเงื่อนไข
5. วิธีกรณีพิเศษ ไม่กาหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข
6. วิธีประมูลทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
(ระเบียบฯ 49 วงเงินตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไป )
เงื่อนไขสาคัญในการซื้อหรือจ้าง
1) การแบ่งซื้อหรือแบ่งจ้างโดยลดวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างในครั้ง
เดียวกัน
- เพื่อให้วงเงินต่ากว่าที่กาหนดโดยวิธีหนึ่งวิธีใด
- เพื่อให้อานาจสั่งซื้อ สั่งจ้างเปลี่ยนไป
กระทามิได้
2) ถ้าผู้สั่งซื้อหรือสั่งจ้างเห็นสมควร จะสั่งให้กระทาโดยวิธีที่กาหนดไว้
สาหรับวงเงินที่สูงกว่าก็ได้
ข้อพิจารณาการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง
- พัสดุประเภทเดียวกัน
- มีความต้องการใช้ในระยะเวลาเดียวกัน
- ควรจัดหาในคราวเดียวกัน
- เจตนา
ขั้นตอน
การจัดหา
พัสดุ
9. ตรวจรับ
8. บริหารสัญญา
7. จัดทาสัญญา
6. อนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง
5. ขออนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง
4. ดาเนินการ
3. ให้ความเห็นชอบ
2. จัดทารายงาน
1. เตรียมการ
เบิกจ่าย เปลี่ยนแปลง
รายการ
งด/ลดค่าปรับ
ขยายเวลา
บอกเลิก
ข้อยกเว้นขั้นตอนการปฏิบัติตามข้อ 39 วรรคสอง
การซื้อหรือจ้างโดยวิธีตกลงราคา
- ในกรณีจาเป็นและเร่งด่วน
- เกิดขึ้นโดยมิได้คาดหมายไว้ก่อน
- ไม่อาจดาเนินการตามปกติได้ทัน
วิธีปฏิบัติ
- ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ / เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการนั้น
- ดาเนินการไปก่อนแล้วรีบรายงานขอความเห็นชอบหัวหน้าส่วน
ราชการ
- ถ้าเห็นชอบแล้วถือว่ารายงานนั้นเป็นหลักฐานการตรวจรับ
ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
บุคคล / นิติบุคคล เป็นผู้มีส่วนได้เสีย (ทางตรง / ทางอ้อม)
ได้แก่ 1. มีความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร
2. มีความสัมพันธ์ในเชิงทุน
3. มีความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน
บุคคล / นิติบุคคลอื่น ในการเสนอราคา หรือเสนองาน
ในคราวเดียวกัน
1. การดารงตาแหน่ง การเป็นหุ้นส่วน การถือหุ้น นับรวม
- คู่สมรส
- บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
2. มีข้อกาหนด ผู้ใช้อานาจบริหารที่แท้จริง หุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นที่แท้จริง
ความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร
ผู้จัดการ
หุ้นส่วนผู้จัดการ
กรรมการผู้จัดการ
ผู้บริหาร
ผู้มีอานาจในการดาเนินงาน
มีอานาจ หรือ
สามารถใช้
อานาจ
ในการบริหาร
จัดการกิจการ
บุคคลหรือ
นิติบุคคลอีกรายหนึ่ง
หรือหลายราย
ความสัมพันธ์ในเชิงทุน
หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ
หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด ใน หจก.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก. บ.มหาชน
(เกินกว่า 25 % ตามที่ กวพ. ประกาศ)
หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน
สามัญ / หจก.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน
บจก. บ.มหาชน
ความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน
ผู้จัดการ
หุ้นส่วนผู้จัดการ
กรรมการผู้จัดการ
ผู้บริหาร
ผู้มีอานาจในการ
ดาเนินงาน
หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน
สามัญ / หจก.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน
บจก. / บ.มหาชน
กรณีมีผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
1. ตัดรายชื่อผู้เสนอราคาดังกล่าวทุกรายออกจากรายการ
2. แจ้งให้ผู้เสนอราคาทราบโดยพลัน
3. ผู้เสนอราคามีสิทธิอุทธรณ์ต่อปลัดกระทรวงภายใน 3 วัน
4. ปลัดกระทรวงวินิจฉัยอุทธรณ์และแจ้งผู้อุทธรณ์ทราบโดยพลัน
และถือเป็นที่สุด แล้วส่ง กวพ. ทราบ
5. การอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ขยายเวลาเปิดซองเว้นแต่ปลัดกระทรวง
เห็นว่าเป็นประโยชน์แก่ทางราชการอย่างยิ่ง
6. ปลัดกระทรวงเห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ และเห็นว่าการยกเลิกการเปิดซอง
จะเป็นประโยชน์แก่ทางราชการอย่างยิ่ง ปลัดกระทรวง
มีอานาจยกเลิกการเปิดซอง
การขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
ผู้เสนอราคา / เสนองาน
รายหนึ่งหรือหลายราย
เป็น การขัดขวาง
เป็นอุปสรรค
ไม่เปิดโอกาสให้
มีการแข่งขันราคา
อย่างเป็นธรรม
ในการเสนอราคา
เสนองาน ต่อ
ส่วนราชการ
โดยการสมยอมกัน
ให้ เรียก รับ เงิน
ใช้กาลังประทุษร้าย
ข่มขู่ว่าจะประทุษร้าย
แสดงเอกสารเท็จ
กระทาการใดโดยทุจริต
เพื่อแสวงหาประโยชน์ระหว่างผู้เสนอราคา/ งาน
เพื่อให้ประโยชน์แก่ผู้เสนอราคา / งานรายหนึ่งรายใด
เพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
เพื่อให้เกิดความได้เปรียบส่วนราชการ
มิใช่เป็นการประกอบธุรกิจปกติ
กรณีมีการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
1. มีเหตุเกิดขึ้นก่อน หรือในขณะที่มีการเปิดซอง
2. ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบคุณสมบัติตรวจสอบข้อเท็จจริง
3. ถ้าเชื่อได้ว่ามีการกระทาจริง ให้ตัดรายชื่อผู้เสนอราคาที่กระทาการทุกราย
เว้นแต่ผู้เสนอราคานั้นให้ความร่วมมือเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาของราชการ
และมิได้เป็นผู้ริเริ่มการกระทาดังกล่าว
4. ผู้ถูกตัดรายชื่อมีสิทธิอุทธรณ์ เช่นเดียวกับกรณีผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน
กรณีปรากฏข้อเท็จจริงภายหลังการเปิดซอง
ภายหลังการเปิดซอง และมีการประกาศรายชื่อเป็นผู้ได้รับการคัดเลือกแล้ว ปรากฏว่า
1. เป็นผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
2. เป็นผู้เสนอราคาที่ขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
ให้หัวหน้าส่วนราชการมีอานาจดังนี้
1. ตัดรายชื่อออกจากผู้มีสิทธิได้รับการคัดเลือกทุกราย
2. เสนอปลัดกระทรวงให้พิจารณาเป็นผู้ทิ้งงาน
** ถ้าปลัดกระทรวงเห็นว่าการยกเลิกการเปิดซองจะเป็นประโยชน์แก่ทางราชการอย่างยิ่ง
ปลัดกระทรวงมีอานาจยกเลิกการเปิดซอง
แนวทางการพิจารณาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา
 ส่วนของคุณสมบัติผู้เสนอราคา
- ยื่นเอกสารไม่ครบ/ไม่ประกาศชื่อ /ไม่เปิดซองรายที่ยื่นไม่ครบ
- แจ้งรายนั้นให้ทราบ
ส่วนของใบเสนอราคา
- ไม่กรอกวันส่งมอบ / ไม่กาหนดวันยืนราคา
- ลดราคาในใบเสนอราคา /กรอกราคาผิดพลาด
- เสนอพัสดุหลายยี่ห้อ
ส่วนของแคตตาล็อก แบบรูป รายการละเอียด
-คัดเลือกคุณภาพ/คุณสมบัติสิ่งของ/งานที่เป็นประโยชน์ต่อราชการ
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็คทรอนิคส์ (e – GP)
(e – Government Procurement)
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์ พ.ศ.2549
• การจัดซื้อหรือการจ้าง ที่กิจกรรม โครงการ หรือการก่อสร้างที่มี
มูลค่า ตั้งแต่ สองล้านบาทขึ้นไป (เว้นแต่ได้รับอนุมัติจาก
กวพ.อ.)
ไม่รวมถึงการจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การซื้อหรือ
จ้างโดยวิธีพิเศษ และวิธีกรณีพิเศษ
• กาหนดให้ผู้เสนอราคาเสนอราคาแข่งขันกันเองด้วยระบบ
อิเล็คทรอนิคส์ ภายในระยะเวลา และ ณ สถานที่ที่กาหนด โดย
ไม่เปิดเผยตัวเลขที่มีการเสนอราคา
การกาหนดหลักประกันซอง ไว้ในเอกสารประกวดราคา
( หลักประกันสัญญา ใช้เหมือนกัน)
• ข้อ ๑๔๑ , ๑๔๒ ให้ผู้เสนอราคาใช้อย่างหนึ่งอย่างใดดังนี้
๑. เงินสด
๒. เช็คที่ธนาคารสั่งจ่ายลงวันที่ใช้เช็ค ชาระต่อเจ้าหน้าที่
หรือ ชาระก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทาการ
๓. หนังสือค้าประกันของธนาคารภายในประเทศ
๔. หนังสือค้าประกันของบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์
ตามรายชื่อที่ธปท. แจ้งเวียน
๕. พันธบัตรรัฐบาล
มูลค่าหลักประกัน
 อัตราจานวนเต็ม ๕% ของวงเงิน/ ราคาพัสดุ ที่
จัดหาในครั้งนั้น
เว้นแต่ การจัดหาที่สาคัญพิเศษ สูงกว่าไม่เกิน ๑๐%
กรณีส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ เป็นผู้เสนอราคา,
เป็นคู่สัญญา
- ไม่ต้องวางหลักประกัน
การจ้างโดยวิธีพิเศษ
(วงเงินเกิน 100,000 บาท)
• งานที่ต้องจ้างช่างมีฝีมือเฉพาะ หรือมีความชานาญเป็นพิเศษ
• งานจ้างซ่อมพัสดุที่จาเป็นต้องถอดตรวจก่อนจึงจะประมาณราคาซ่อมได้
• งานที่ต้องกระทาโดยเร่งด่วนหากล่าช้าจะเสียหายแก่ราชการ
• งานที่ต้องปกปิดเป็นความลับของทางราชการ
• งานที่จาเป็นต้องจ้างเพิ่มเพื่อประโยชน์ราชการ
• งานที่ดาเนินการจ้างโดยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผลดี
การซื้อหรือจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ
(ไม่จากัดวงเงิน)
การซื้อหรือจ้างจากส่วนราชการ หน่วยงานองค์กรท้องถิ่น
หน่วยงานที่เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ
• เป็นผู้ผลิตหรือทางานนั้นเอง และนายกรัฐมนตรีอนุมัติให้ซื้อ
หรือจ้าง
• มีกฎหมายหรือมติ ครม. ให้ซื้อหรือจ้าง
องค์ประกอบ และมติของคณะกรรมการ(ข้อ 35,36)
องค์ประกอบ - ประธาน และกรรมการอื่นอย่างน้อย 2 คน จากข้าราชการ พนักงาน
ราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ (คานึงถึงหน้าที่ความ
รับผิดชอบ)
ในกรณีจาเป็นจะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน 2 คน ร่วมด้วยก็ได้
- แต่งตั้งกก.เป็นครั้ง ๆ ไป / คาสั่งแต่งตั้งไม่มีรูปแบบ
ทุกคณะกรรมการ ยกเว้นคณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา ควรตั้งผู้ชานวญการร่วมด้วย
ข้อห้ามแต่งตั้งกรรมการซ้ากัน
๑. กก.เปิดซองสอบราคา /หรือกก.พิจารณาผลประกวดราคา
ห้ามเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ
๒. กก.รับ-เปิดซองประกวดราคาห้ามเป็นกก.พิจารณาผลประกวดราคา
มติกรรมการ -ประธาน/กรรมการต้องมาประชุมลงมติไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
- ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าเท่ากัน ให้ประธานชี้ขาด
- เว้นแต่ คกก.ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง ให้ถือมติเอกฉันท์
ข้อยกเว้น ไม่แต่งตั้งในรูปคณะกรรมการ
๑. การซื้อ/การจ้างวงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท (ข้อ 35วรรคท้าย)
- จะแต่งตั้งข้าราชการ /ลูกจ้างประจา/พ.ราชการ/พ.
มหาวิทยาลัย (กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว ๑๕๕ ลว. ๑ พ.ค. ๕๐)
เพียงคนเดียว ที่มิใช่ผู้จัดซื้อจัดจ้าง เป็นผู้ตรวจรับ พัสดุ/
งานจ้าง ก็ได้
๒. กรณีงานจัดทาเอง (ข้อ ๑๕)
-ให้แต่งตั้งผู้ควบคุมรับผิดชอบในการจัดทาเอง
-และแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการปฏิบัติงาน
( เว้นแต่ มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบอยู่แล้ว)
สัญญาและหลักประกัน
การทาสัญญา มี ๓ ลักษณะ
๑ทาสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กาหนด (ข้อ๑๓๒)
-เพิ่ม/ ร่างใหม่/ เสียเปรียบ/ไม่รัดกุม ส่งอัยการ
๒. ทาข้อตกลงเป็นหนังสือ (ข้อ ๑๓๓)
๓. ไม่ทาสัญญา/ข้อตกลง เป็นหนังสือ ก็ได้
(ข้อ ๑๓๓ วรรคท้าย)
หลัก ทาเป็นบันทึกข้อตกลงได้ กรณีดังนี้
 ซื้อ /จ้าง แลกเปลี่ยน โดยวิธีตกลงราคา หรือ การจ้างที่
ปรึกษา
 คู่สัญญา ส่งของได้ครบถ้วน ภายใน ๕ วันทาการ นับ
จากทาข้อตกลง
 การซื้อ / จ้าง โดยวิธีพิเศษตามข้อ ๒๓หรือ ๒๔ (๑)-(๕)
 การเช่าที่ไม่ต้องเสียเงินอื่นใดนอกจากการเช่า
ข้อยกเว้น ตามข้อ ๑๓๓วรรคท้าย จะไม่ทาข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกัน
ก็ได้ ได้แก่ (๑) การจัดหาวงเงินไม่เกิน๑หมื่นบาท หรือ
(๒) การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคากรณีเร่งด่วน
กรณีทาข้อตกลง/ไม่ทาตามแบบสัญญา (ข้อ๑๓๓)
การจ่ายเงินล่วงหน้า ที่กาหนดในสัญญา(ข้อ ๖๘)
 ซื้อ/จ้าง จากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ จ่ายได้ ๕๐%
 ซื้อจากต่างประเทศ จ่ายตามที่ผู้ขายกาหนด
 การบอกรับวารสาร,/สั่งจองหนังสือ/ จ่ายเท่าที่จ่ายจริง
ซื้อข้อมูล E /บอกรับสมาชิกInternet
 ซื้อ/จ้าง วิธีสอบราคา/ประกวดราคา จ่าย ๑๕%
(ต้องกาหนดเงื่อนไขไว้ในประกาศด้วย)
 ซื้อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษ จ่าย ๑๕%
การกาหนดค่าปรับ
• การซื้อ / จ้าง นอกจากการจ้างที่ปรึกษา และการจ้างที่ต้องการ
ผลสาเร็จของงานพร้อมกันทั้งหมด คิดค่าปรับเป็นรายวันตายตัว
ในอัตราร้อยละ 0.01 - 0.20 ของราคาพัสดุที่ไม่ได้รับมอบ
• การจ้างที่ต้องการผลสาเร็จของงานพร้อมกันทั้งหมด คิดค่าปรับ
เป็นรายวันตายตัวในอัตราร้อยละ 0.01 – 0.10 ของราคางาน
จ้าง แต่ต้องไม่ต่ากว่าวันละ 100 บาท
• งานก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร คิด
ค่าปรับรายวันร้อยละ 0.25 ของราคางานจ้าง
• งานจ้างที่ปรึกษา คิดค่าปรับเป็นรายวันตายตัวในอัตราร้อยละ
0.01 – 0.10 ของราคางานจ้าง
การแก้ไข/เปลี่ยนแปลงสัญญา (ข้อ ๑๓๖)
หลัก *สัญญาที่ลงนามแล้ว ห้ามแก้ไขเปลี่ยนแปลง
ข้อยกเว้น - แก้ไขได้ ถ้า
- จาเป็น/ไม่ทาให้เสียประโยชน์ /เพื่อประโยชน์ราชการ
- ถ้าต้องเพิ่ม /ลดวงเงิน /ขยายเวลาส่งมอบ /ให้ตกลง
ไปพร้อมกัน
- จะแก้ไขสัญญาเมื่อใดก็ได้ แต่ต้องกระทาก่อนส่งมอบงานงวด
สุดท้าย
- กรณีงานเกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรง /งานเทคนิคเฉพาะอย่าง
ต้องได้รับการรับรองจากสถาปนิก/วิศวกรฯที่รับผิดชอบที่จะแก้ไขก่อน
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา
ทาการตามสัญญา(ข้อ๑๓๙)
สาเหตุ
(๑)เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของราชการ
(๒)เหตุสุดวิสัย
(๓)เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด
เงื่อนไข
• ต้องแจ้งเหตุใน ข้อ ๑๓๙(๒)หรือ(๓) ภายใน 15 วัน
นับแต่เหตุสิ้นสุด
•ให้พิจารณาให้ตามจานวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง
อานาจอนุมัติ
• หัวหน้าส่วนราชการ
การบอกเลิก /ตกลงกันเลิก สัญญา หรือข้อตกลง
การบอกเลิกสัญญา (ข้อ ๑๓๗)
หลัก ๑) เมื่อผิดสัญญา/หรือมีเหตุเชื่อได้ว่า ผู้รับจ้างไม่สามารถ
ทางานได้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กาหนด
๒) มีค่าปรับเกิน ๑๐% ของวงเงินทั้งสัญญา (ข้อ ๑๓๘)
เว้นแต่ จะยินยอมเสียค่าปรับ ก็ให้ผ่อนปรนได้เท่าที่จาเป็น
การตกลงเลิกสัญญา/ข้อตกลง ต่อกัน
-ทาได้เฉพาะเป็นประโยชน์ หรือเพื่อแก้ไขข้อเสียเปรียบของ
ราชการเท่านั้นหากต้องปฏิบัติตามสัญญา/หรือข้อตกลงต่อไป
การคิดค่าปรับตามสัญญา
• เมื่อครบกาหนดสัญญา /ผิดสัญญาต้องแจ้งการปรับ
• คิดค่าปรับนับถัดจากวันครบกาหนดสัญญา/ข้อตกลง
-โดยหักจานวนวันที่ใช้ไปในการตรวจรับออกก่อน
• สงวนสิทธิปรับ เมื่อส่งมอบของ/งาน ไม่ตรงตาม
สัญญา
• เงื่อนไขสัญญาซื้อเป็นชุด ให้ปรับทั้งชุด
• สิ่งของรวมติดตั้ง/ทดลอง/ปรับตามราคาของทั้งหมด
การจัดหาพัสดุด้วยเงินรายได้สถานศึกษา
การพัสดุ การบัญชี
• การพัสดุ ให้เป็นไปตามระเบียบพัสดุ
• การบัญชีให้เป็นไปตามที่กระทรวงการคลัง
กาหนด
หลักเกณฑ์การจ่าย
• ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ (ไม่รวมค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป
ราชการต่างประเทศ)
• ค่าสาธารณูปโภค
• ค่าครุภัณฑ์ที่จาเป็นแก่การปฏิบัติราชการ ที่มีวงเงินต่อหน่วย
ต่ากว่า 500,000 บาท
• ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่มีวงเงินต่อหน่วย
ต่ากว่า 5,000,000 บาท
• รายจ่ายสมทบ ค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ไม่เกิน 10% ของ
วงเงินที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ
ค่าใช้จ่ายที่ต้องขอความเห็นชอบ
หัวหน้าส่วนราชการเจ้าสังกัด
• ค่าจ้างชั่วคราว
• ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ
• ค่าครุภัณฑ์ที่มีวงเงินต่อหน่วยตั้งแต่ 500,000 บาทขึ้นไป
• ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ที่มีวงเงินต่อหน่วยตั้งแต่ 5,000,000 บาท
ขึ้นไป
 หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ข้อ ๗๑)
-ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจรับของในวันที่ผู้ขาย/
ผู้รับจ้างนามาส่ง อย่างช้าไม่เกิน ๕ วันทาการ
ณ ที่ทาการของผู้ซื้อ หรือที่ระบุไว้ในสัญญา
-ผู้ขาย/ผู้รับจ้างต้องมีหลักฐานการส่งมอบ เป็นหนังสือทุกครั้ง
> ให้ถือว่าผู้ขาย /ผู้รับจ้าง ส่งมอบถูกต้อง ณ วันที่นาพัสดุมาส่ง
> ส่งมอบของให้เจ้าหน้าที่พัสดุ
> ทาใบตรวจรับอย่างน้อย ๒ ฉบับ
( ให้ผู้ขาย ๑ เจ้าหน้าที่พัสดุ ๑ เพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงิน )
การส่งมอบและการตรวจรับพัสดุ
กรณีตรวจรับพัสดุถูกต้องตามสัญญาหรือข้อตกลง
* ให้รีบรายงาน หส. ราชการทราบ เพื่อสั่งการทันที
* ให้ดูสัญญา /หากจาเป็น จะรับเฉพาะในส่วนที่ถูกต้องก็ได้
> รีบรายงาน หส.ราชการ เพื่อแจ้งผู้ขาย/ ผู้รับจ้าง ทราบภายใน
๓ วันทาการ นับแต่วันตรวจพบ
•สงวนสิทธิปรับ (ส่วนที่ส่งไม่ถูกต้อง) กรณีส่งเกินอายุสัญญา
หน้าที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ)
กรณีตรวจรับไม่ถูกต้อง
กรณีถูกต้องแต่ไม่ครบจานวน / หรือครบ แต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด
คณะกรรมการตรวจการจ้าง มีหน้าที่ดังนี้
ตรวจตามรายงานของผู้ควบคุมงาน
 ดูการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง
 ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดตามที่ระบุในสัญญา
ทุกสัปดาห์
 รับทราบการสั่งการของผู้ควบคุมงาน กรณีสั่งผู้รับจ้างหยุด/
พักงาน
 แต่ต้องรายงาน หส.ราชการสั่งการ
การตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง
การควบคุมและการจาหน่ายพัสดุ
การควบคุมพัสดุ (ข้อ ๑๕๑)
พัสดุไม่ว่าจะได้มาด้วยวิธีใด
-ให้เจ้าหน้าที่พัสดุลงบัญชี/ ลงทะเบียน ควบคุม ตาม
ตัวอย่าง ที่กวพ.กาหนด
วิธีปฏิบัติ (ด่วนที่สุดที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว๑๒๙ ลว.๒๐ต.ค๔๙
๑) วัสดุ - ลงทะเบียนตามแบบที่ กวพ. กาหนดไว้เดิม
๒) วัสดุ ที่มีอายุการใช้งานเกินกว่า ๑ ปี ซึ่งมีราคาต่อ
หน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท และครุภัณฑ์
-ให้ลงทะเบียนตามแบบที่กรมบัญชีกลางกาหนดไว้
ด่วนที่สุด ที่ กค๐๕๒๘.๒/ว ๓๓๕๔๕ ลว.๑๖ พ.ย. ๒๕๔๙
การตรวจสอบพัสดุประจาปี
- ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุก ปี ให้ หส.ราชการ หรือ หน.
งานตามข้อ ๑๕๓
- แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการ/หน่วยงานนั้นซึ่งมิไช่
เจ้าหน้าที่พัสดุ คนหนึ่ง/หรือหลายคน
- ให้ตรวจสอบพัสดุงวดตั้งแต่ ๑ ตุลาคมปีก่อน – ๓๐ กันยายน
ปีปัจจุบัน
- ให้เริ่มตรวจในวันเปิดทาการแรก ของเดือนตุลาคม ว่า:-
 มีพัสดุ ชารุด เสื่อมคุณภาพ สูญไป เพราะเหตุใด
หรือไม่จาเป็นต้องใช้งานต่อไป
ให้รายงานผลตรวจสอบ ต่อผู้แต่งตั้งภายใน 30 วันทาการนับแต่วันเริ่มตรวจสอบ
ผู้แต่งตั้งรายงานหัวหน้าส่วนราชการ ๑ ชุด /สตง. ๑ ชุด
การจาหน่ายพัสดุ (ข้อ ๑๕๗)
 พัสดุใดหมดความจาเป็นในการใช้งาน /ใช้งานจะสิ้นเปลือง
ค่าใช้จ่ายมาก
 ให้รายงานหส.ราชการ จาหน่ายโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังต่อไปนี้
 ขาย/ขายทอดตลาด
(เว้นแต่ ได้มารวมกันไม่เกิน ๑ แสน ใช้วิธีตกลงราคา)
 แลกเปลี่ยน
 โอนให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ท้องถิ่น องค์การสาธารณกุศล
 แปรสภาพ หรือทาลาย
( ข้อ๑๖๐ เมื่อดาเนินการตามระเบียบแล้ว ให้จ่ายออกจากทะเบียน)
การเช่าสังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์
(ข้อ๑๒๘-๑๓๐)
หลัก - การเช่าสังหาริมทรัพย์ ให้นาข้อกาหนดวิธีซื้อมาใช้โดยอนุโลม
- การเช่าอสังหาริมทรัพย์ เฉพาะกรณี
เช่าที่ดิน เพื่อใช้ประโยชน์ของส่วนราชการ
เช่าสถานที่ เพื่อใช้เป็นที่ทาการ
เช่าสถานที่ เพื่อใช้เป็นที่พัก สาหรับผู้มีสิทธิ
เช่าสถานที่ เพื่อใช้เป็นที่เก็บพัสดุ
การเช่าให้ดาเนินการโดยวิธีตกลงราคา
อัตราจ่ายค่าเช่าล่วงหน้า จ่ายเฉพาะสัญญาเช่าไม่เกิน ๓ ปี
- เช่าจากหน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ จ่ายไม่เกิน ๕๐%
- เช่าเอกชน จ่ายล่วงหน้าไม่เกิน ๒๐%
ท่านสุวิทย์ฯ กฎหมายพัสดุ

More Related Content

More from นายจักราวุธ คำทวี

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)นายจักราวุธ คำทวี
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙นายจักราวุธ คำทวี
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.นายจักราวุธ คำทวี
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบนายจักราวุธ คำทวี
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕นายจักราวุธ คำทวี
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายนายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีนายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษานายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑นายจักราวุธ คำทวี
 

More from นายจักราวุธ คำทวี (20)

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 

ท่านสุวิทย์ฯ กฎหมายพัสดุ