SlideShare a Scribd company logo
1 of 89
หลักสูตร รู้เท่าทันการ
บริหารจัดการ
ด้านการพัสดุและการ
จัดซื้อจัดจ้าง
3
กฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดหาพัสดุ
4
๓. วิธีการจัดหา
วิธีตกลงราคา วงเงินงบประมาณไม่
เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
วิธีสอบราคา วงเงินงบประมาณไม่
เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
วิธีประกวดราคา วงเงินงบประมาณ
เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
วิธีพิเศษ วงเงินงบประมาณเกิน
๑๐๐,๐๐๐ บาท
แต่มีเงื่อนไข
วิธีกรณีพิเศษ ไม่กำาหนวงเงิน แต่มี
เงื่อนไข
วิธี e-Auction วงเงินงบประมาณ
ตั้งแต่ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ขึ้น
• ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ
พัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ
“๑๓ กำาหนดว่า หลังจากได้ทราบยอดเงิน
ที่จะนำาไปใช้ในการจัดหาแล้ว ให้ส่วน
ราชการรีบดำาเนินการตามขั้นตอนของ
ระเบียบนี้ เพื่อให้พร้อมที่จะทำาสัญญาได้
ทันทีเมื่อได้รับอนุมัติทางการเงินแล้ว
• พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ มาตรา
๒๓ กำาหนดสรุปว่า ห้ามมิให้จ่ายเงินหรือ
ก่อหนี้ผูกพันตามพระราชบัญญัติงบ 6
พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๐๒
นอกจากความรับผิด
ทางอาญา จะต้องชดใช้
จำานวนเงินที่ส่วนราชการ
จ่ายไป/ต้องผูกพันจะต้อง
จ่าย
บุคคลภายนอกผู้ได้รับ
ข้าราชการ หรือ ลูกจ้างผู้ใดของส่วน
ราชการ กระทำาการก่อหนี้ผูกพัน หรือ จ่าย
เงิน หรือโดยรู้อยู่แล้วยินยอมอนุญาตให้
กระทำาการดังกล่าวนั้นโดย ฝ่าฝืน พ.ร.บ. นี้
หรือระเบียบ หรือข้อบังคับที่ออก โดย
พ.ร.บ.นี้
มาตรา
26
ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมการจัดหา
พัสดุก่อนพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ประกาศใช้
เมื่อสภาผู้แทน
ราษฎร
ได้พิจารณาอนุมัติ
ร่างพระราช
บัญญัติงบ
ประมาณรายจ่าย
ประจำา
ปีงบประมาณ พ.ศ.
2556 แล้ว
เพื่อให้หน่วยงานสามารถก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่าย
เงินได้ทัน และเป็นไปตามนโยบายเร่งรัดการเบิก
จ่ายเงินของรัฐบาล
ให้ถือว่าทราบ
ยอดเงินแล้วโดย
อนุโลม
ให้เริ่มดำาเนินกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
ตามระเบียบไว้ก่อนได้ แต่จะก่อหนี้ผูกพัน
(ลงนามในสัญญา) ได้เมื่อพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจำาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2556 มีผล
ใช้บังคับ และสำานักงบประมาณได้จัดสรร
งบประมาณให้แล้วเงื่อนไข : การจัดซื้อหรือจัดจ้างครั้งนี้จะมีการลงนามใน
สัญญาได้ต่อเมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำา
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 มีผลใช้บังคับ และได้รับจัดสรรงบ
ประมาณรายจ่ายประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 จาก
สำานักงบประมาณแล้ว และในกรณีที่ไม่ได้รับการจัดสรรงบ
ประมาณรายจ่ายประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 จาก
สำานักงบประมาณเพื่อการจัดหาในครั้งดังกล่าว ส่วน
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ
ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ) 0421.3/ว 320 ลว
27 ส.ค. 55
ดำาเนินการ
จัดหา
ตามระเบียบฯ
(6 วิธี)
จนได้ตัวผู้
ชนะราคา
จัดทำารายงานขอ
ซื้อขอจ้าง
ตามระเบียบฯ 35
ข้อ 27 เสนอหัวหน้า
ส่วนราชการ
ขออนุมัติสั่งซื้อ/
สั่งจ้าง จากผู้มี
อำานาจ ตา
มระเบียบฯ ข้อ 6
5 - 67แจ้งผู้
ชนะ
ราคา
ให้มา
ทำา
ตรวจ
รับ
พัสดุ/
งาน
จ้าง
ควบคุ
มพัสดุ
เจ้าหน้าที่พัสดุ ผ่าน
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
หัวหน้าส่วน
ราชการ
กรณีนอกเหนือ
จากวิธีพิเศษและ
กรณีพิเศษ
•หัวหน้าส่วน
ราชการ
-ไม่เกิน 50 ลบ.
•ปลัดกระทรวง
-เกิน 50 แต่ไม่เกิน
100 ลบ.
•รมต.เจ้าสังกัด
- เกิน 100 ลบ.
กรณีวิธีพิเศษ
•หัวหน้าส่วน
ราชการ
-ไม่เกิน 25 ลบ.
•ปลัดกระทรวง
-เกิน 25 แต่ไม่เกิน
50 ลบ.
•รมต.เจ้าสังกัดวิธีกรณีพิเศษ หัวหน้าส่วนราชการสั่งซื้อหรือ
10
รายงานขอซื้อหรือขอจ้าง
(ข้อ 27)หลัก
การ
** –ก่อนการซื้อ จ้างทุกวิธีต้องทำา
รายงานขอซื้อหรือขอจ้าง**รายละเอียด
ของรายงาน
รายละเอียดของพัสดุ
- เหตุผลความ
จำาเป็น
ตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน
วงเงินที่จะซื้อ/จ้าง
กำาหนดเวลาที่ต้องใช้
- วิธีจะซื้อ/จ้าง
- ข้อเสนออื่นๆ
ารแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ
ารออกประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา
คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ห้ามเป็น คกก.
ตรวจรับฯ)
คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา (ห้าม
เป็น คกก.พิจารณาผลฯ)
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา (ห้าม
เป็น คกก. ตรวจรับฯ)
คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ
คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
คณะกรรมการตรวจการจ้าง
ผู้ที่เกี่ยวข้องในการ
จัดหาพัสดุ
• เจ้าหน้าที่พัสดุ - โดยตำาแหน่ง
- โดยแต่งตั้ง
(ข้าราชการ,ลูกจ้างชั่วคราว,
พนักงาน
ราชการ, พนักงานของรัฐ)
• หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ - โดยตำาแหน่ง
- โดยแต่งตั้ง
(ข้าราชการ)
• หัวหน้าส่วนราชการ - อธิบดี (ส่วน
กลาง)
- ผู้ว่าราชการจังหวัด
(ภูมิภาค)
 ประธาน 1 คน
 กรรมการอื่นอย่างน้อย 2 คน
 แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงาน
ราชการ
พนักงานมหาวิทยาลัย หรือ
พนักงานของรัฐ
** ทั้งนี้ โดยคำานึงถึงลักษณะหน้าที่และ
ความรับผิดชอบของ
ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำาคัญ
** ในกรณีจำาเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของ
ทางราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่
เกิน 2 คน ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้
(ปรับปรุงตามระเบียบฯ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 13
 กวพ. อนุมัติให้ส่วนราชการสามารถแต่ง
ตั้งลูกจ้างประจำาของส่วนราชการเป็น
กรรมการ ตามระเบียบฯ โดยการแต่งตั้ง
ลูกจ้างประจำา จะต้องคำานึงถึงความรู้ ความ
สามารถ ลักษณะงาน
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่ง
ตั้งเป็นสำาคัญ
(ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค
(กวพ) 0421.3/ว 417
ลว. 22 ตค. 53)
14
กรณี การซื้อกรณี การซื้อ // จ้างจ้าง
ไม่เกินไม่เกิน 10,00010,000 บาทบาท
((ระเบียบฯ ข้อระเบียบฯ ข้อ 3535 วรรคท้ายวรรคท้าย))
• ให้แต่งตั้งข้าราชการ / ลูกจ้างประจำาคน
หนึ่ง ซึ่งมิใช่
ผู้จัดซื้อหรือจัดจ้าง เป็นผู้ตรวจรับพัสดุ
หรืองานจ้างนั้น
• กวพ. อนุมัติผ่อนผันการแต่งตั้ง พนักงาน
ราชการ พนักงาน มหาวิทยาลัย หรือ
พนักงานของรัฐ เป็นผู้ตรวจรับพัสดุ
หรืองานจ้าง
(ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค (กวพ)
16
การประชุมของคณะกรรมการ
องค์ประชุม - ประธาน + กรรมการไม่
น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
และประธานจะต้องอยู่ด้วย
ทุกครั้ง
มติกรรมการ- ถือเสียงข้างมาก
- ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออ
เสียง
เพิ่มอีก 1 เสียง
ยกเว้น - คณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุ
- คณะกรรมการตรวจการ
จ้าง
- ต้องใช้มติเอกฉันท์
การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การ
ลดวงเงินที่จะซื้อ
หรือจ้างในครั้งเดียวกัน ออกเป็นหลายครั้ง
โดยไม่มีเหตุผลความจำาเป็น และมีเจตนาที่
จะหลีกเลี่ยง
1) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยน
วิธีจัดหาพัสดุ
วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่
พัสดุที่จะจัดหาเป็นประเภท
เดียวกันหรือไม่
พิจารณาจากความ
ต้องการของผู้ใช้
พัสดุว่าต้องการใช้พร้อมกัน
หรือไม่
การจัดซื้อพัสดุประเภทชนิดเดียวกัน แม้
ต่างขนาดและราคา เมื่อมีการประมาณการ
ความต้องการในการใช้งานของทั้งปีแล้ว จะ
ต้องจัดซื้อรวมในครั้งเดียวกัน เว้นแต่มีเหตุผล
ที่ชัดเจนที่จำาเป็นต้องแยกซื้อที่ไม่ใช่เป็นการ
แบ่งซื้อแบ่งจ้าง เพื่อประโยชน์ในการบริหาร
การพัสดุ จะต้องกำาหนดเงื่อนไขในการดำาเนิน
การจัดซื้อโดยใช้สัญญาจะซื้อจะขายแบบ
ราคาคงที่ไม่จำากัดปริมาณ เพื่อออกใบสั่งซื้อ
เป็นคราว ๆ ให้สอดคล้องกับการใช้งานจริง
2
เจ้าหน้าที่
พัสดุ
หัวหน้าเจ้า
หน้าที่พัสดุ
หัวหน้าส่วน
ราชการ
รายงาน
(๒๗)
1
5
4
3
ติดต่อ
6 ส่ง
ของ/งาน
เสนอราคา
ใบสั่ง
เห็น
ชอบ
(๒๙) คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ
ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับการจ้าง
ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง
การดำาเนินการโดยวิธี
ตกลงราคา
ข้อยกเว้น
** การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา วงเงิน
ไม่เกิน 10,000 บาท และ
วิธีพิเศษกรณีเร่งด่วนตาม 23 (2) หรือ
24 (3) ซึ่งไม่อาจทำารายงานตามปกติ
ได้ จะทำารายงานขอซื้อหรือขอจ้าง
เฉพาะรายการที่เห็นว่าจำาเป็นก็ได้
** การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคาใน
กรณีจำาเป็นและเร่งด่วน เกิดขึ้นโดยไม่
ได้คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดำาเนิน
สัญญาลดรูป -
สัญญาเต็มรูป
เชื่อมกับธนาคาร -
ระบบเงินคำ้าประกัน
อิเล็กทรอนิกส์
ตามตัวอย่างที่ กวพ.
กำาหนด
บริหารให้เป็นไปตาม
เงื่อนไขที่ระบุไว้ใน
สัญญา ซึ่งส่วนนี้จะ
เชื่อมกับระบบ GF
ขั้นตอนวิธีการตกลงราคา (e-GP)
(ในอนาคต)
23
เผยแพร่เอกสาร
เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการข้อ 27
ข้อ 29
ทำาประกาศ (ข้อ 40)
- ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า
10 วัน / นานาชาติ
ไม่น้อยกว่า 45 วัน
- ส่งประกาศ + เอกสารสอบราคา ให้ผู้
มีอาชีพขายหรือรับจ้างโดยตรง หรือ
ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้มากที่สุด
- ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทำาการโดย
เปิดเผย
วันประกาศห่างจากวันปิดรับซอง ไม่น้อยกว
วันปิดรับซอง จะต้องห่างจากวันเริ่มต้นรับซองไม่น้อย
เริ่มต้นรับซองนับตั้งแต่วันประกา
วันประกาศ
วันรับซองรับซองอย่างน้อย ๑๐ วัน
เปิดซอง
... ?... วัน คำานึงถึงตรวจฮั้ว
ปิดรับซอง
ประกาศ / รับซอง
ตรวจฮั้ว
อย่างน้อย 10 วัน
เปิดซอง
25
การยื่นซอง
- ผู้เสนอราคาจะต้องผนึกซองจ่าหน้าถึง
ประธานกรรมการ
- ยื่นซองด้วยตนเอง / ทางไปรษณีย์
(กรณีที่กำาหนดไว้)
การรับซอง- เจ้าหน้าที่รับโดยไม่เปิดซอง
- ระบุวันและเวลารับซอง
- ส่งมอบซองให้แก่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุท
- หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุส่งให้
คกก.เปิดซองสอบราคาในวัน
เปิดซอง
การเก็บรักษาซอง
- หนังสือเวียน ด่วนมาก ที่ นร
(กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42
26
ะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ
ขั้นที่ 1 ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผล
ประโยชน์ร่วมกัน + ประกาศชื่อผู้มีสิทธิ
ได้รับการคัดเลือก
ขั้นที่ 2
เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้
ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
+ อ่านแจ้งราคา บัญชีรายการ
เอกสารหลักฐาน + ลงชื่อกำากับ
ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา
ใบเสนอราคา แคตตาล็อกหรือแบบรูป
รายการละเอียด แล้วคัดเลือกผู้เสนอ
27
ขั้นที่ 3 คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างที่ผ่าน
ขั้นตอนที่ 2 ที่มีคุณภาพและคุณสมบัติ
เป็นประโยชน์ต่อทางราชการ
** หนังสือ ที่ นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 14 ก.ค.
29 การคัดเลือกคุณภาพและคุณสมบัติดังกล่าว มุ่ง
หมายถึง การพิจารณาจากเกณฑ์ในส่วนที่ ไม่
สามารถกำาหนดไว้เป็นเงื่อนไขในประกาศ **ขั้นที่ 4 เสนอให้ซื้อหรือจ้างจากรายที่คัด
เลือกไว้แล้วซึ่งเสนอราคาตำ่าสุด
รายที่เลือกไม่ยอมเข้าทำาสัญญา ให้
พิจารณารายตำ่าถัดไปราคาเท่ากันหลายราย ให้ผู้ที่เสนอราคา
ดังกล่าวยื่นซองใหม่
ข้อ
สังเ
กต
ถูกต้องตามเอกสารสอบราคารายเดียว ให้
ดำาเนินการตามขั้นที่ 3 โดยอนุโลมขั้นที่ 5 รายงานผลและความเห็น ต่อ
28
กรณีเกินวงเงิน (ข้อ 43)
• ถ้าไม่ได้ผลอีก ให้เสนอความเห็น
ต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อ
** ขอลดรายการ ลดจำานวน หรือลดเนื้อ
งาน
• เรียกรายตำ่าสุดมาต่อรองให้อยู่ใน
วงเงินหรือสูงกว่าไม่เกิน 10 %• ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกทุกราย
มายื่นซองใหม่
จัดทำา
เอกสาร
ประกวด
ราคา
(ข้อ ๔๔)
จัดทำารายงาน
ขอซื้อ/จ้าง
และแต่งตั้ง
คณะกรรมการ
(ข้อ ๒๗)
การรับและ
เปิดซอง
(ข้อ ๔๙)
การประกาศ
เผยแพร่การ
ประกวดราคา
(ข้อ ๔๔, ๔๖)
การขอ
อนุมัติสั่ง
ซื้อ/จ้าง
(ข้อ ๖๕)
การ
พิจารณาผล
การประกวด
ราคา
(ข้อ ๕๐)การทำาสัญญา
(ข้อ ๑๓๒-
ตรวจรับ
30
เจ้า
หน้าที่
พัสดุ
หัวหน้าส่วน
ราชการข้อ 29
ข้อ 27
- ทำาตามตัวอย่างที่ กวพ. กำาหน
ที่ผ่านการตรวจจาก สนง.อัยกา
- แตกต่างหรือไม่รัดกุมส่ง
สนง.อัยการสูงสุดตรวจ
จัดทำาเอกสาร
(ข้อ 44)
การดำาเนินการโดยวิธีประกวดราคา (1
ประกาศ ไม่น้อยกว่า 7 วัน
ทำาการ
ให้ขาย
• ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำาการ
• ห้ามมีเงื่อนไขในการ
ให้/ขาย
คำานวณราคา ไม่น้อยกว่า 7 วัน
ทำาการ
วันรับซองประกวดราคา
ห้ามร่นหรือเลื่อนวันรับ
ซอง และเปิดซอง
ประกวดราคา
การดำาเนินการโดยวิธี
ประกวดราคา
32
การดำาเนินการโดยวิธีประกวดราคา (2
ผยแพร่ข่าวการประกวดราคาส่งไปรษณีย์ EM
ห้จัดทำาเป็นประกาศ
งวิทยุและหนังสือพิมพ์
งกรมประชาสัมพันธ์
งองค์การสื่อสารมวลชน
งศูนย์รวมข่าวประกวดราคา
ง สตง.
• ปิดประกาศ ณ ที่ ทำาการ
• ในตู้ปิดประกาศมีกุญแจปิด
• มีผู้ปิดและผู้ปลดประกาศ ซึ่งมิใ
คนเดียวกัน และมีพยานรับรอง
มควรจะส่งประกาศไปยังผู้มีอาชีพขาย/รับจ้างก็ได้
คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวด
ราคา
- รับซองประกวดราคา ลงทะเบียนรับซอง ลงชื่อ
กำากับ
- ตรวจหลักประกันซองร่วมกับเจ้าหน้าที่การเงิน
กรณีหลักประกันซองเป็นหนังสือคำ้าประกัน ส่ง
สำาเนาให้ธนาคารผู้ออก
- รับเอกสารตามบัญชีรายการ พร้อมพัสดุตัวอย่าง
แคตตาล๊อก หรือแบบรูป
และรายการละเอียด (ถ้ามี) หากไม่ถูกต้องให้
คณะกรรมการรับและเปิด
ซองประกวดราคา
- ส่งเอกสารส่วนที่ 1 ให้ คกก.พิจารณาผลการ
ประกวดราคาเพื่อตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วม
กัน
- เปิดซองใบเสนอราคาและอ่านแจ้งราคา พร้อม
บัญชีรายการเอกสาร โดยเปิดเผย เฉพาะผู้
ที่ผ่านการตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน
และลงลายมือชื่อกำากับเอกสารทุกฉบับ
- ส่งมอบใบเสนอราคาทั้งหมด และเอกสารหลัก
ฐาน พร้อมรายงาน
ใช้วิธี
- ประกวดราคา
ใหม่
ไม่ได้ผลดี
อนุโลมข้อ
๔๓
- สูงกว่าวงเงิน
คัดเลือกสิ่งของ/งานจ้าง
รายตำ่าสุด
พิจารณาราคา เกณฑ์ปกติ
ยื่นซอง
ใหม่
- เท่ากันหลายราย
ยกเลิก/ดำาเนินการต่อ
ไป
- ถูกต้องรายเดียว (๔๑
ยกเลิก - ไม่มีผู้เสนอ
ราคา
หรือไม่ถูกต้อง
ตาม
spec (๕๒)
ณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
ตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะ
หากท่านต้องรับ
บท
เป็นนักบินอวกาศ
ในเรื่องนี้
ท่านจะรู้สึก
อย่างไร ?
เมื่อต้องใช้ยาน
อวกาศ
ปฏิบัติเกี่ยวกับปฏิบัติเกี่ยวกับ
การดำาเนินการจัดซื้อจัดการดำาเนินการจัดซื้อจัด
จ้างโดยวิธีพิเศษจ้างโดยวิธีพิเศษ
ทำาไม
ใครๆ
ก็โทษ
ผม
ผมผิด
ตรง
ไหน
ขั้นตอนการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษขั้นตอนการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ
เจ้าหน้าที่
พัสดุ
หัวหน้าส่วน
ราชการ
๑. ทำารายงานขอซื้อเสนอหัวหน้าส่วน
ราชการเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ตามระเบียบฯ ข้อ ๒๗ พร้อมทั้งเสนอ
แต่งตั้ง “คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธี
”พิเศษ๒. หัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบตา
มระเบียบฯ ข้อ ๒๙ และอนุมัติคำาสั่งแต่งตั้งคณะ
กรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษตามที่เจ้าหน้าที่พัสดุ
เสนอ
๓. แจ้งคำาสั่ง
ให้แก่
คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธี
พิเศษเพื่อดำาเนินการ
จัดซื้อตามระเบียบข้อ ๒๓
และ ข้อ ๕๗๔. รายงานผลการพิจารณาและ
ความเห็น
พร้อมด้วยเอกสารที่ได้รับไว้
ทั้งหมดโดยเสนอ
ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ตาม
๕. เสนอหัวหน้าส่วน
ราชการเพื่อ
พิจารณาสั่งการ
ขั้นตอนการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษขั้นตอนการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ
เจ้าหน้าที่
พัสดุ
หัวหน้าส่วน
ราชการ
๑. ทำารายงานขอซื้อเสนอหัวหน้าส่วน
ราชการเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ตามระเบียบฯ ข้อ ๒๗ พร้อมทั้งเสนอ
แต่งตั้ง “คณะกรรมการจัดจ้างโดย
”วิธีพิเศษ๒. หัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบตา
มระเบียบฯ ข้อ ๒๙ และอนุมัติคำาสั่งแต่งตั้งคณะ
กรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษตามที่เจ้าหน้าที่พัสดุ
เสนอ
๓. แจ้งคำาสั่ง
ให้แก่
คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธี
พิเศษเพื่อดำาเนินการ
จัดจ้างตามระเบียบข้อ
๒๔ และ ข้อ ๕๘๔. รายงานผลการพิจารณาและ
ความเห็น
พร้อมด้วยเอกสารที่ได้รับไว้
ทั้งหมดโดยเสนอ
ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ตาม
๕. เสนอหัวหน้าส่วน
ราชการเพื่อ
พิจารณาสั่งการ
พิเศษ จำาเป็นต้องมี
เหตุผลประกอบทุก
ครั้งหรือไม่ ?
หนังสือสำานักนายกรัฐมนตรี
ที่ นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๑๑๗๐ ลงวัน
ที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
ในการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ ผู้ดำาเนิน
การจัดหาและเจ้าหน้าที่พัสดุจะต้อง
ระบุเหตุผลและความจำาเป็นที่ต้องซื้อ
รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อและ
เหตุผลความจำาเป็นที่จะต้องซื้อโดย
วิธีพิเศษ เสนอต่อหัวหน้าส่วน
ราชการ เพื่อให้ความเห็นชอบ
ให้การจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ ตา
มระเบียบฯ ข้อ ๒๗ ให้ชัดเจน
เงื่อนไข (ข้อ ๒๓) วิธีการ (ข้อ ๕๗)
(๑) จะขายทอดตลาด (๑) เจรจาตกลงราคา
๔) ซื้อเพิ่ม (Repeat Order)(๔) เจรจาผู้ขายรายเดิม เงื่อนไขเดิม ราคาเด
หรือดีกว่า
(๒) เร่งด่วนช้าเสียหาย(๒) เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อร
(๓) ราชการลับ (๓) เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อร
การดำาเนินการจัดซื้อโดย
วิธีพิเศษ
เงื่อนไข (ข้อ ๒๓) วิธีการ (ข้อ ๕๗)
(๕) สั่งตรงโดยให้หน่วยงานอื่นใ
ประเทศ
สืบราคาให้
(๕) ซื้อจากต่างประเทศ
(๖) เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำาหน่าย
มาเสนอราคา
และต่อรอง
(๖) จำาเป็นต้องระบุยี่ห้อ
(๗) เชิญเจ้าของมา
ตกลงราคา
๗) ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้างเฉพาะ
(๘) ดำาเนินงานโดยวิธี
อื่นแล้ว
ไม่ได้ผลดี
(๘) สืบราคาจากผู้มีอาชีพขาย
และผู้เสนอ
การดำาเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ
ระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ ข้อ ๒๓(๖)
กำาหนดให้การซื้อโดยวิธีพิเศษ
กรณีเป็นพัสดุที่โดยลักษณะของ
การ
ใช้งาน หรือมีข้อจำากัดทางเทคนิค
ที่จำาเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการ
เฉพาะ ให้หมายความรวมถึงกรณี
ที่
ส่วนราชการมีความจำาเป็นจะต้อง
หนังสือสำานักนายกรัฐมนตรี ที่
นร (กวพ) ๑๒๐๔/๖๙๓๒ ลงวันที่
๑๔ กรกฎาคม ๒๕๓๗
ในขั้นตอนการดำาเนินการจัดซื้อโดยวิธี
พิเศษ ตามระเบียบฯ ข้อ ๕๗ (๖) กรณีมี
ความจำาเป็นต้องระบุยี่ห้อ หากมีผู้ผลิต
หรือผู้แทนจำาหน่ายพัสดุดังกล่าว
จำานวนหลายรายให้คณะกรรมการจัด
ซื้อโดยวิธีพิเศษเชิญผู้ผลิตหรือผู้แทน
จำาหน่ายเข้าร่วมการแข่งขันราคาให้
มากที่สุดเท่าที่จะทำาได้
หนังสือสำานักนายก
รัฐมนตรี ที่ นร
(กวพ)1305/ว 1170
ลว 17 ก.พ. 2543
(๑) กรณีเป็นงานที่ต้องใช้ช่างฝีมือ
โดย
เฉพาะหรือชำานาญโดยพิเศษ
(๑) เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมา
เสนอราคา
งื่อนไข (ข้อ ๒๔) วงเงินเกิน 1 แสนบาท วิธีการ (ข้อ ๕๘)
เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ
ให้ความเห็นชอบ ๒๙
รายงาน ข้อ ๒๗
(๓) เป็นงานที่ต้องกระทำาโดยเร่งด่วน(๓) เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอรา
๒) กรณีเป็นงานจ้างซ่อมที่จำาเป็นต้อง
อดตรวจให้ทราบความชำารุดเสียหายก่อน
งจะประมาณค่าซ่อมได้
(๒) เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอรา
การดำาเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ
(๔) ราชการลับ (๔) เชิญผู้มีอาชีพ
โดยตรงมาเสนอราคา
(๕) จ้างเพิ่ม(RepeatOrder)
(๕) เจรจากับผู้รับจ้างราย
เดิม
ราคาตำ่ากว่าหรือราคาเดิม
(๖) สืบราคาจากผู้มีอาชีพ
รับจ้างและ
ผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป
(ถ้ามี)
ต่อรองราคา
(๖) ดำาเนินการ
โดยวิธีอื่น
ไม่ได้ผลดี
การดำาเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ
กวพ. ได้มีหนังสือสำานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ)
๑๓๐๕/ว ๘๑๘๖
ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๓
ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการเช่าและการจ้างเหมา
บริการที่มีความจำาเป็นต่อเนื่องว่ากรณีที่มีเหตุผลความจำาเป็น ที่จะต้องเช่าพัสดุจาก
ผู้ให้เช่ารายเดิม
หรือจ้างผู้ให้บริการรายเดิมต่อเนื่อง
เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ
ให้ถือว่าอยู่ในหลักเกณฑ์ที่หัวหน้าส่วนราชการจะ
ใช้ดุลยพินิจพิจารณา
จัดจ้างหรือจัดเช่าโดยวิธีพิเศษ
ตามระเบียบฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ
มาตรการให้ความช่วยเหลือ ฟื้นฟูและพัฒนาเศรษฐกิจในเขต
พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
แจ้งตามหนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ
ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) ๐๔๒๑.๓/ว ๑๖๘ ลงวันที่ ๑๙ พ.ค.
๒๕๕๔
ครม. มีมติเมื่อวันที่ ๒๖ พ.ค. ๒๕๕๒ เห็นชอบขยายระยะเวลา
ให้ความช่วยเหลือฯ
โดยขยายเวลาตามมติคณะรัฐมนตรีออกไปอีก ๒ ปี (ขยายถึง
วันที่ ๒๒ พ.ค. ๒๕๕๖)การจัดซื้อวงเงินเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน
๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท
การจัดจ้างวงเงินเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน
๓๐,๐๐๐,๐๐๐ บาทให้สามารถจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธี
พิเศษ ได้โดยอนุโลม
ยะละ ปัตตานี
นราธิวาส สตูล
การดำาเนินการซื้อและการจ้างโดย
วิธีกรณีพิเศษ
วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ
น่วยงานตามกฎหมาย
องถิ่น หรือหน่ายงานอื่น
- วงเงินเกิน 100,000 บาท
หส.ราชการเป็นผู้สั่งซื้อหรือจ้าง
- วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท
เป็นอำานาจ หัวหน้า จนท.พัสดุ
(ข้อ27)
(ข้อ29
)
จนท.พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ
ติดต่อตกลงราคา
กับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง
1. เป็นผู้ทำา/ผลิตเองและนายก
รัฐมนตรีอนุมัติ
ให้ซื้อหรือจ้าง2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี กำาหนดให้ซื้อ/จ
เงื่อนไข :
สรุปขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง
โดยวิธีกรณีพิเศษ
๑. ขออนุมัติดำาเนินการจัดซื้อ/
จัดจ้าง โดยวิธีกรณีพิเศษ
และแต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ/ตรวจงานจ้าง
๒. ติดต่อตกลง
ราคากับผู้ขาย
หรือผู้รับจ้าง
๔. ส่งมอบ
พัสดุ/ส่ง
มอบงาน
๕. ตรวจรับ
พัสดุ/ตรวจ
การจ้าง
๓. จัดทำาใบสั่งซื้อ
หรือสัญญาซื้อ
ขาย/ใบสั่งจ้าง
หรือสัญญาจ้าง
www.gprocurement.go.th
53
การกำาหนด
คุณสมบัติของผู้รับ
จ้างยกตัวอย่างยกตัวอย่าง กรณีโครงการก่อสร้างซึ่งมี
วงเงินงบประมาณ 100 ล้านบาท ตาม
แนวทางปฏิบัติของหน่วยงานราชการจะ
กำาหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้าเสนอราคา
ครั้งนั้นได้ ดังนี้
1.ต้องเป็นผู้มีอาชีพรับจ้างงานที่ประกวด
ราคาจ้าง
2.ต้องไม่เป็นผู้ที่ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อ
ผู้ทิ้งงานของทางราชการและได้แจ้งเวียน53
54
3. ต้องไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้
เสนอราคารายอื่น ณ วันประกาศประกวด
ราคา หรือไม่เป็นผู้มีการกระทำาอันเป็นการ
ขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
4. ต้องไม่เป็นผู้ได้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้ม
กัน ซึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้นศาลไทย เว้น
แต่รัฐบาลของผู้เสนอราคาได้มีคำาสั่งให้
สละสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นว่านั้น
5. ต้องเป็นผู้ผ่านการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติ
เบื้องต้นในการจ้างของกรม
6. ต้องเป็นนิติบุคคลและมีผลงานก่อสร้าง
ประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคา54
ติพิเศษซึ่งต้องเลือกใช้ตามความจำาเป็นของงานก่อสร้างแต
ประกาศคณะกรรมการ
ป้องกัน
และปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติ
เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำาและ
แสดงบัญชีรายการรับจ่ายของ
โครงการที่บุคคลหรือนิติบุคคลเป็นคู่
สัญญากับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.
๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน
ระหว่างวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ –
๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖
ใช้บังคับกับสัญญาซึ่งมีมูลค่าตั้งแต่
๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ขึ้นไป
ร่างข้อกำาหนดเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐจะต้องนำาไป
กำาหนด
ไว้ในขอบเขตของงาน (Terms of Reference : TOR)
ร่างข้อกำาหนดเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐจะต้องนำาไป
กำาหนด
ไว้ในขอบเขตของงาน (Terms of Reference : TOR)
ผู้เสนอราคา ต้องไม่เป็นผู้ที่ถูกระบุชื่อว่าเป็น
คู่สัญญาที่ไม่ได้แสดงบัญชี
รายรับรายจ่าย หรือแสดงบัญชีรายรับราย
จ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วน
ในสาระสำาคัญตามประกาศคณะกรรมการ
การป้องกันและปราบปราม
1
สัญญาที่มีมูลค่าตั้งแต่ 1 ล้าน
บาทขึ้นไป
ต้องส่งสำาเนาไปให้ สตง.
หรือ สตง.ภูมิภาค และกรม
สรรพากร ภายใน 30 วันสัญญาที่มีวงเงินตั้งแต่ 100,000 บาท ขึ้นไป ให้
แจ้งรายละเอียดในทะเบียนข้อมูลสัญญา และใน
กรณีที่มิได้ทำาสัญญา ให้แจ้งรายละเอียดการสั่งซื้อ
หรือสั่งจ้าง หรือข้อตกลง จัดส่งให้กรมสรรพากร
(ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน ถัดจากเดือนที่มีการ
ทำาสัญญาหรือมีการจ่ายเงิน)
• หน่วยงานในกรุงเทพฯ ส่งกรมสรรพากร
• หน่วยงานต่างจังหวัด
ส่งสรรพากรจังหวัดในพื้นที่ที่หน่วยงานตั้งอยู่
2
ผู้เสนอราคาต้องเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ได้ผู้เสนอราคาต้องเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ได้
ลงทะเบียนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรมบัญชีกลางลงทะเบียนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรมบัญชีกลาง
ที่เว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐที่เว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
*** เฉพาะกรณีหน่วยงานของรัฐที่ดำาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ได้
ดำาเนินการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP)
ทั้งนี้ ผู้เสนอราคาที่ได้รับการคัดเลือก และหากมีการทำา
สัญญากับหน่วยงาน ต้องรับจ่ายเงินผ่านบัญชีเงินฝาก
กระแสรายวัน เว้นแต่การรับจ่ายเงินแต่ละครั้งซึ่งมีมูลค่า
ไม่เกินสามหมื่นบาทสามารถรับจ่ายเป็นเงินสดได้ และต้อง
จัดทำาบัญชีแสดงรายรับรายจ่ายยื่นต่อกรมสรรพากร และ
ต้องปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราม
ปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำา
และแสดงบัญชีรายการรับจ่าย
59
หนังสือสำานักงานปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๑๔๐๕/ว
๖๒๐๕ ลงวันที่ ๒๒ ส.ค. ๔๕
• ประกาศประกวดราคาและประกาศสอบ
ราคาของหน่วยงานของรัฐที่หัวหน้าส่วน
ราชการได้ลงนามแล้ว ต้องจัดไว้ให้
ประชาชนเข้าตรวจดูได้เป็นระยะเวลาไม่
น้อยกว่า ๑ ปี นับแต่วันประกาศ
• จัดทำาสรุปผลการพิจารณาการจัดซื้อจัด
จ้างของหน่วยงาน เป็นรายเดือนทุกๆ เดือน
โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับงานที่จัดซื้อจัด
จ้าง วงเงินงบประมาณ วิธีซื้อหรือจ้าง ราย
ิในการกำากับดูแลเผยแพร่ข่าวสารการประกาศประ
รการป้องกันหรือลดโอกาสในการสมยอมกันในกา
ณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๕/ว ๑๙๓ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาค
ในการกำากับดูแลเผยแพร่ข่าวสารการประกาศประ
รการป้องกันหรือลดโอกาสในการสมยอมกันในกา
ะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๕/ว ๑๙๓ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาค
ำาหรับหน่วยงานที่ออกประกาศประกวดราคาาหรับหน่วยงานที่ออกประกาศประกวดราคาาหรับหน่วยงานที่ออกประกาศประกวดราคาาหรับหน่วยงานที่ออกประกาศประกวดราคา
๑.๑.การจัดทำาและควบคุมประกาศประกวดราคาการจัดทำาและควบคุมประกาศประกวดราคาการจัดทำาและควบคุมประกาศประกวดราคาการจัดทำาและควบคุมประกาศประกวดราคา
๑.๑ ให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ (ทั้งโดยตำาแหน่งหรือ
โดยแต่งตั้ง) มีหน้าที่รับผิดชอบควบคุมดูแลและจัด
ทำาประกาศประกวดราคาให้มากพอสำาหรับการปิด
ประกาศประกวดราคา และการจัดส่งตามระเบียบ
พัสดุ แล้วส่งมอบคู่ฉบับหรือสำาเนาให้ผู้บันทึก
ทะเบียนประกาศประกวดราคาที่ได้รับการแต่งตั้ง
61
๑.๒ ให้ผู้บันทึกทะเบียนประกาศประกวดราคา
บันทึกรายการลงในทะเบียนประกาศประกวดราคา
(ตามแบบที่กำาหนด) ทันทีในวันที่ได้รับคู่ฉบับหรือ
สำาเนาประกาศประกวดราคานั้น ทุกประกาศ
ประกวดราคา แล้วบันทึกเลขลำาดับที่ตามทะเบียน
ประกาศประกวดราคาไว้ด้านบนประกาศประกวด
ราคาฉบับที่จะปิดประกาศ
ลำา
ดับ
ที่
วันที่
บันทึก
เลขที่
ประกว
ด
ราคา
วันที่
ประ
กาศ
ฯ
รายการ
ที่ประ
กาศฯ
วัน
ที่
ขา
ย
แบ
บ
วันที่/
เวลา
ยื่น
ซอง
การรับมอบเพื่อปิด
ประกาศ
การปลดประกาศ การส่ง/การรับมอบ
หมา
ยเห
ตุ
วัน
ที่
ลงชื่อ วัน
ที่
ลงชื่อ ส่ง
ถึง
หนังสื
อที่
ลงวัน
ที่
ผู้นำา
ส่ง/ผู้รับ
ผู้
ปิด
พยา
น
ผู้
ปล
ด
พยา
น
ลง
ชื่
อ
วัน
ที่
รับ
การดำาเนินการตามข้อ ๑.๑ และ ๑.๒ ให้กระทำาให้
แล้วเสร็จภายในวันเดียวกับวันที่ออกประกาศ
ประกวดราคาหรืออย่างช้าภายในวันทำาการถัดไป
๒.๒.รปิดและปลดประกาศประกวดราคารปิดและปลดประกาศประกวดราคารปิดและปลดประกาศประกวดราคารปิดและปลดประกาศประกวดราคา
๒.๑.๑ ผู้บันทึกทะเบียนประกาศประกวดราคา ตามข้อ ๑ ส่ง
มอบประกาศประกวดราคาฉบับที่บันทึกเลขลำาดับที่กำากับให้
ผู้ปิดประกาศประกวดราคาและพยานบุคคลตามที่ได้รับการ
แต่งตั้ง ทันทีในวันที่บันทึกทะเบียนประกาศประกวดราคา
โดยให้ผู้ปิดประกาศประกวดราคาพร้อมพยานบุคคลดัง
กล่าว ดำาเนินการดังนี้
• ลงชื่อและวันเดือนปีรับมอบในทะเบียนประกาศ
ประกวดราคา
• ลงชื่อและวันเดือนปีที่ปิดประกาศกำากับไว้ด้านบน
ประกาศประกวดราคา
• นำาประกาศประกวดราคาไปปิดประกาศในตู้ปิด
ประกาศประกวดราคา
การปิดประกาศประกวดราคาการปิดประกาศประกวดราคาการปิดประกาศประกวดราคาการปิดประกาศประกวดราคา
การ
บริหาร
สัญญา
1. เต็มรูป (ข้อ 132)
1.1 ทำาสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กำาหนด
1.2 มีข้อความแตกต่าง เสียเปรียบ/ไม่รัดกุม
(ส่งอัยการสูงสุดพิจารณา)
1.3 ร่างใหม่
2. ลดรูป (ข้อ 133) ข้อตกลงเป็นหนังสือ
(ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง)
2.1 ตกลงราคา 2.2 ส่งของภายใน 5 วัน
ทำาการ
2.3 กรณีพิเศษ 2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ
(บางกรณี)
รูปแบบของสัญญา
มีผลตั้งแต่วันลง
นามในสัญญาเป็นต้นไป
มีข้อยกเว้นตามหนังสือคณะ
กรรมการว่าด้วยการพัสดุ
ที่ กค (กวพ) 0408.4/ว 351 ลว. 9
ก.ย. 48 กรณี
1.เป็นการเช่าหรือจ้างต่อเนื่องกับผู้ให้
เช่า/ผู้รับจ้าง รายเดิม/รายใหม่
หลั
ก
ขั้นตอนการบริหาร
สัญญา (เกินกำาหนด)
การบริหารสัญญา
การบริหารสัญญา
ระบบ e-GP อำานวยความสะดวกให้
ส่วนราชการสามารถบริหารสัญญา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วณค่าปรับต่างๆ จะกระทำาผ่านทาง
ได้โดยอัตโนมัติ เมื่อครบกำาหนด
การ ผู้บริหาร และผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถ
วามคืบหน้าของสัญญา ที่แสดงให้เห็นทั้ง
และงวดเงิน ล่าช้า หรือไม่ รวมถึง สะดวก
าสัญญาไปเปิดเผยให้สาธารณะตรวจสอบ
บ e-GP ช่วยอำานวยความสะดวกในการ
ญญา โดยการจัดทำาสัญญาตามรูปแบบ
าตรฐานที่กำาหนดไว้ให้ในระบบ
ประโยชน์
การยื่นหนังสือคำ้าประกัน (Bank
Guarantee)
ประโย
ชน์ ผู้ค้า
• สามารถจัดทำาคำาขอหนังสือคำ้าประกันของธนาคารผ่าน
ทางระบบ
• สามารถค้นหาและตรวจสอบการอนุมัติหนังสือคำ้า
ประกันของธนาคาร
• เมื่อหน่วยจัดซื้อแจ้งคืน / ยึดหลักประกัน ผู้ค้าจะได้รับ
แจ้งข้อมูลดังกล่าว
หน่วยจัดซื้อ
• สามารถค้นหาและตรวจสอบการอนุมัติหนังสือคำ้า
ประกันของธนาคาร
• สามารถแจ้งคืน / ยึดหลักประกัน ให้ผู้ค้าและธนาคารผู้
คำ้าประกันทราบ
70
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
(136)(136)
หลัก
• ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง
กเว้น
กรณีจำาเป็น ไม่ทำาให้ราชการเสียประโยช
กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
71
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงการแก้ไขเปลี่ยนแปลง
สัญญาสัญญา(2)(2)
อำานาจอนุมัติแก้ไข
เปลี่ยนแปลงสัญญา
• หัวหน้าส่วนราชการ
** หลักการแก้ไขฯ **
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
สามารถที่จะพิจารณาดำาเนินการแก้ไข
เปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้
แม้จะล่วงเลยกำาหนดระยะเวลาแล้ว
เสร็จตามสัญญาก็ตาม แต่อย่างช้าจะ
72
สาเหตุ
(1) เหตุเกิดจากความผิด ความ
บกพร่องของราชการ
(2) เหตุสุดวิสัย
(3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญา
ไม่ต้องรับผิด
อำานาจอนุมัติ
• หัวหน้าส่วนราชการ
73
วิธีการ
- คู่สัญญาต้องแจ้งเหตุให้ส่วนราชการ
ทราบภายใน 15 วัน
นับแต่เหตุนั้นได้สิ้นสุดลง หากไม่แจ้ง
ตามที่กำาหนด จะยก
มากล่าวอ้างเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับ
หรือขยายเวลามิได้
เว้นแต่กรณีความผิดความบกพร่องของ
ส่วนราชการ ซึ่งมี
หลักฐานชัดแจ้งหรือส่วนราชการทราบ
ดีอยู่แล้วตั้งแต่ต้น
- พิจารณาได้ตามจำานวนวันที่มีเหตุเกิด
ขึ้นจริง
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
การยืม
การควบคุม
การจำาหน่าย
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 2
ส่วนที่ 3
แบ่งเนื้อหาออกเป็น
3 หมวด
การควบคุมและการ
จำาหน่ายพัสดุ
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
การยืมพัสดุ
ง การที่บุคคล / นิติบุคคล ซึ่งเรียกว่าผ
ห้บุคคล / หรือนิติบุคคล ซึ่งเรียกว่าผู้ย
ช้ทรัพย์สิน โดยตกลงว่าจะคืนทรัพย์ส
เมื่อได้ใช้เสร็จแล้ว
การให้ยืม หรือ นำาพัสดุไปใช้ใน
กิจการ ซึ่งมิใช่เพื่อประโยชน์ของ
ส่วนที่ 1
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
ผู้ยืมต้องนำาพัสดุที่
ยืมนั้นมาส่งคืนใน
สภาพที่ใช้การได้
เรียบร้อยหากเกิดการชำารุด
เสียหาย
หรือใช้การไม่ได้
หรือสูญหายไป
 ให้ผู้ยืมจัดการแก้ไข
ซ่อมแซมให้คงสภาพ
เดิม โดยเสียค่าใช้จ่าย
ของตนเอง
 ชดใช้เป็นพัสดุ
ประเภท ชนิด ขนาด
ลักษณะและคุณภาพ
อย่างเดียวกัน
ข้อ 148
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
เมื่อครบกำาหนดยืม
ห้ผู้ให้ยืมหรือผู้รับหน้าที่แทน
มีหน้าที่ติดตามทวงพัสดุ
ที่ให้ยืมไปคืน ภายใน 7 วัน
นับแต่วันครบกำาหนด
ข้อ 150
ผู้
ยืม
ผู้
ให้
ยืม
ติดตา
ม
ทวงถ
าม
ส่งคืน
เมื่อ
ครบ
กำาหน
ด
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
การควบคุม
มพัสดุของส่วนราชการแบ่งออกได้เป็น 3
รเก็บรักษา
รเบิกจ่าย
รตรวจสอบพัสดุ
พัสดุของส่วนราชการไม่ว่าจะได้มา
ด้วยประการใด ให้อยู่ในความ
ควบคุมตามระเบียบนี้ เว้นแต่มี
ส่วนที่ 2
แล้วให้ใช้ทะเบียนคุมทรัพย์สิน
สำาหรับบันทึกควบคุมครุภัณฑ์
และวัสดุที่มีลักษณะคงทนถาวรซึ่ง
มีราคาต่อหน่วยไม่เกิน 5,000 บาท
ยกเลิก ทะเบียนครุภัณฑ
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
การลงทะเบียนควบคุม
พัสดุของทางราชการ
ให้ปฏิบัติตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ) 0408.4/ว 129
ลงวันที่ 20 ต.ค. 49
เรื่อง การลงทะเบียนควบคุมพัสดุของทางราชการ โดย
ยกเลิกทะเบียนครุภัณฑ์
และให้ใช้ทะเบียนคุมทรัพย์สินแทน
วัสดุตำ่ากว่า 5,000 บาท
ห้บันทึกในบัญชีวัสดุ
ตามแบบเดิมที่
กวพ. กำาหนด
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
วิธีการตรวจสอบพัสดุ
ประจำาปี
ข้อ 155
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
หน้าที่ผู้ได้รับแต่งตั้ง
ให้ตรวจสอบพัสดุประจำาปี
• เริ่มตรวจตั้งแต่วันทำาการวัน
แรกของเดือนตุลาคม
• รายงานผลการตรวจสอบต่อผู้
แต่งตั้งภายใน 30 วัน ทำาการ
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
เมื่อหัวหน้าส่วนราชการได้รับรายงานดังกล่าวตาม
ข้อ 155
และปรากฏว่ามีพัสดุชำารุด เสื่อมสภาพ หรือสูญไป
หรือไม่จำาเป็นต้องใช้ในราชการต่อไป
ก็ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริงขึ้น
คณะหนึ่ง
โดยให้นำาความในข้อ 35 และ ข้อ 36 มาใช้บังคับ
โดยอนุโลม
เว้นแต่ กรณีที่เห็นได้อย่างชัดเจนว่าเป็นการเสื่อม
สภาพ
เนื่องมาจากการใช้งานตามปกติ หรือสูญไปตาม
ธรรมชาติ
ให้หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาสั่งการ
ข้อ 156
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
การจำาหน่าย
พัสดุของส่วนราชการเมื่อหมดความจำาเป็น
กใช้ในราชการต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ
หน้าที่พัสดุเสนอรายงานต่อหัวหน้าส่วนร
เพื่อพิจารณาสั่งการ
* โดยปกติให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับแต่วันท
หัวหน้าส่วนราชการสั่งการ และสำาหรับราชการ
บริหารส่วนภูมิภาคจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก
หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณก่อนด้วย
ส่วนที่ 3
ข้อ 157
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
หน่ายสามารถดำาเนินการได
1.การขาย
2.การแลกเปลี่ยน
3.การโอน
4.การแปรสภาพหรือ ทำาลาย
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
หน่ายสามารถดำาเนินการได
1.การขาย
2.การแลกเปลี่ยน
3.การโอน
4.การแปรสภาพหรือ ทำาลาย
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
การขาย การขายพัสดุของส่วน
ราชการสามารถกระทำาได้ ดังนี้
ให้ดำาเนินการขาย
ยวิธีขายทอดตลาดก่อน
ถ้าขายทอดตลาดไม่ได้ผล ให้
นำาวิธีที่กำาหนดเกี่ยวกับการซื้อ
มาใช้โดยอนุโลม
การขาย
โดยวิธีตกลงราคา
• การขายพัสดุครั้งหนึ่งซึ่งมี
ราคาซื้อหรือได้มารวมกันไม่
เกิน 100,000 บาท
• กรณีขายให้แก่ส่วน
ราชการ/หน่วยงานท้อง
ถิ่น/รัฐวิสาหกิจ/องค์การสถาน
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
นพัสดุของส่วนราชการ จะทำาได้ก
1. เป็นการโอนให้กับ ส่วน
ราชการ/หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบบริหารราชการส่วนท้อง
ถิ่น/หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติ
ให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้อง
ถิ่น/รัฐวิสาหกิจ/องค์การสถานสาธารณ
กุศลตามมาตรา 47(7) แห่งประมวล
รัษฎากร
กำากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT
การแปรสภาพหรือทำาลาย
ในกรณีพัสดุของส่วนราชการ
เกิดการชำารุด หรือ
เสื่อมสภาพอย่างมากจนไม่
สามารถใช้การได้ และไม่
อาจจำาหน่ายโดยวิธีอื่นใดได้
สามารถจะดำาเนิน
สำานักมาตรฐานการจัดซื้อ
จัดจ้างภาครัฐ
02 1277000 ต่อ 4551

More Related Content

Viewers also liked

Flow processฝ่ายพัสดุและบำรุงรักษา
Flow processฝ่ายพัสดุและบำรุงรักษาFlow processฝ่ายพัสดุและบำรุงรักษา
Flow processฝ่ายพัสดุและบำรุงรักษาPlusadu Lpch
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55Nona Khet
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ Utai Sukviwatsirikul
 
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555Duangkamol Nutrawong
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 

Viewers also liked (6)

Flow processฝ่ายพัสดุและบำรุงรักษา
Flow processฝ่ายพัสดุและบำรุงรักษาFlow processฝ่ายพัสดุและบำรุงรักษา
Flow processฝ่ายพัสดุและบำรุงรักษา
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2555
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 

รู้เท่าทันการบริหารพัสดุ อ.สามารถ