SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ละทิ้งหน้าที่ราชการ โดย (ไม่) มีเหตุผลอันสมควร !
คดีพิพาทที่จะคุยกันในวันนี้ผู้ฟ้ องคดีเป็นข้าราชการตํารวจได้ถูกผู้บังคับบัญชาลงโทษไล่ออกจากราชการด้วยเหตุ
ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกันเกินกว่า 15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ผู้ฟ้ องคดีจึงนําเรื่องมาฟ้ องต่อศาลปกครอง
โดยคดีนี้ศาลปกครองสูงสุดได้วินิจฉัยเป็นบรรทัดฐานแก่หน่วยงานทางปกครองและข้าราชการว่า การละทิ้งหน้าที่
ราชการลักษณะใดถือว่ามีเหตุผลอันสมควร และการละทิ้งหน้าที่ราชการลักษณะใดถือว่าไม่มีเหตุผลอันสมควร
โดยที่มาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยตํารวจ พุทธศักราช 2477 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้กําหนดให้
การกระทําผิดวินัยตํารวจ หมายความรวมถึง การประพฤติผิดวินัยข้าราชการพลเรือนดังที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการพลเรือนที่ใช้อยู่ด้วย และมาตรา 92 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ที่ใช้บังคับในขณะ
เกิดเหตุได้มีบทบัญญัติในเรื่อง “การละทิ้งหน้าที่ราชการ” ไว้ว่า
“ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการมิได้ (วรรคหนึ่ง)
การละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง หรือละทิ้ง
หน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็ นเวลาเกินกว่า 15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์
อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (วรรคสอง)”
กรณีความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงมีโทษ 3 สถาน ได้แก่ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ส่วนกรณีความผิด
วินัยอย่างร้ายแรง มีโทษ 2 สถาน คือ ปลดออกและไล่ออก
ข้อเท็จจริงในคดีนี้ฟังได้ว่า ผู้ฟ้ องคดีไม่ได้มาทํางานติดต่อกันเกินกว่า 15 วัน (ตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่
24 กุมภาพันธ์ 2544 รวม 23 วัน) โดยหลังจากที่กลับมาทํางานผู้ฟ้ องคดีอ้างว่าได้ยื่นใบลาป่วยต่อผู้บังคับบัญชาแล้ว
แต่ผู้บังคับบัญชาไม่อนุญาตให้ลา ส่วนผู้บังคับบัญชาก็อ้างว่าผู้ฟ้ องคดีไม่ได้ยื่นใบลาป่วยต่อตนแต่อย่างใด
แต่เมื่อพิจารณาจากหลักฐานคือใบรับรองแพทย์ 2 ฉบับ ฉบับแรกแพทย์ผู้ตรวจรักษามีความเห็นว่าผู้ฟ้ องคดีเป็นโรค
กล้ามเนื้อสันหลังอักเสบให้ผู้ฟ้ องคดีหยุดพักผ่อนตั้งแต่วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2544 (รวม 5 วัน) และ
ฉบับที่ 2 เห็นควรให้ผู้ฟ้ องคดีหยุดพักผ่อนตั้งแต่วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2544 (รวม 5 วัน) จึงเท่ากับ
ว่าใบรับรองแพทย์ทั้งสองฉบับระบุให้ผู้ฟ้ องคดีหยุดพักผ่อนได้รวมกันทั้งสิ้น 10 วัน (ตั้งแต่วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่
14 กุมภาพันธ์ 2544)
ข้อเท็จจริงดังกล่าวศาลปกครองวินิจฉัยว่า ถึงแม้ว่าผู้ฟ้ องคดีได้ยื่นใบลาป่ วยแล้วแต่ผู้บังคับบัญชามีอํานาจ
ไม่อนุญาตให้ลา หรือผู้ฟ้ องคดีไม่ได้ยื่นใบลาป่วย แต่ตามพฤติการณ์ย่อมถือว่าผู้ฟ้ องคดีได้ละทิ้งหน้าที่ราชการแล้ว แต่เป็นการ
ละทิ้งหน้าที่ราชการเพราะเหตุเจ็บป่วยโดยมีหลักฐานคือใบรับรองแพทย์ จึงรับฟังได้ว่ามีเหตุผลอันสมควร
แต่สําหรับการขาดราชการตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2544 (รวม 10 วัน) เมื่อรวมกับ
วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2544 อีก 3 วัน เป็น 13 วัน นั้น เป็นการละทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มี
เหตุผลอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ
กรณีของผู้ฟ้ องคดีจึงเป็นการละทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเวลาไม่เกิน 15 วัน พฤติการณ์
แห่งการกระทําของผู้ฟ้ องคดีจึงเป็นเพียงไม่ถือและปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ โดยไม่ยื่นใบลาป่วยในวันแรกที่มา
ปฏิบัติราชการ ตามมาตรา 91 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 และไม่อุทิศเวลาของตนให้แก่
ราชการโดยทิ้งราชการไป ตามมาตรา 92 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน อันเป็นเพียงความผิดวินัยอย่าง
ไม่ร้ายแรง ซึ่งโทษที่จะลงได้ก็คือ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน และลดขั้นเงินเดือน
ฉะนั้น การที่ผู้บัญชาการตํารวจนครบาล (ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 1) มีคําสั่งลงโทษไล่ผู้ฟ้ องคดีออกจากราชการ จึงเป็นคําสั่ง
ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ส่งผลให้คําสั่งของนายกรัฐมนตรี (ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 2) ที่สั่งให้ยกอุทธรณ์ของผู้ฟ้ องคดีไม่ชอบด้วย
กฎหมายด้วย
พิพากษาให้เพิกถอนคําสั่งของผู้ถูกฟ้ องคดีและให้ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 1 สั่งให้ผู้ฟ้ องคดีกลับเข้ารับราชการ
ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่คําพิพากษาถึงที่สุด (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.159/2552)
ปัจจุบัน...พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ได้ถูกยกเลิกไปเนื่องจากมีการตราพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ขึ้นใช้บังคับแทน แต่สาระของมาตรา 92 ตามกฎหมายเดิม ยังคงถูกบัญญัติไว้ใน
กฎหมายใหม่ เพียงแต่แยกมาตราเพื่อให้เกิดความชัดเจนยิ่งขึ้น กล่าวคือ มาตรา 92 วรรคหนึ่งเดิม ได้ถูกบัญญัติไว้ในมาตรา
82 (5) ของกฎหมายใหม่ ส่วนมาตรา 92 วรรคสองเดิม ได้ถูกบัญญัติไว้ในมาตรา 85 (2) (3) ของกฎหมายใหม่
คดีนี้...จึงถือเป็นอุทาหรณ์ที่ดีในการพิจารณาโทษทางวินัยของผู้มีอํานาจที่ควรต้องพิจารณาข้อกฎหมาย
อย่างรอบคอบและรอบด้านก่อนที่จะมีคําสั่งใดๆ ตามอํานาจหน้าที่ และยังเป็นข้อเตือนใจที่ดีสําหรับข้าราชการว่า
นอกจากจะปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้วยการอุทิศเวลาแก่ราชการแล้ว ยังจะต้องเคารพ
และปฏิบัติตามกฎระเบียบที่ราชการกําหนดอย่างเคร่งครัดด้วยนะครับ !
นายปกครอง

More Related Content

More from นายจักราวุธ คำทวี

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)นายจักราวุธ คำทวี
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙นายจักราวุธ คำทวี
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.นายจักราวุธ คำทวี
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบนายจักราวุธ คำทวี
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕นายจักราวุธ คำทวี
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายนายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีนายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษานายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑นายจักราวุธ คำทวี
 

More from นายจักราวุธ คำทวี (20)

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 

ละทิ้งหน้าที่ราชการ

  • 1. ละทิ้งหน้าที่ราชการ โดย (ไม่) มีเหตุผลอันสมควร ! คดีพิพาทที่จะคุยกันในวันนี้ผู้ฟ้ องคดีเป็นข้าราชการตํารวจได้ถูกผู้บังคับบัญชาลงโทษไล่ออกจากราชการด้วยเหตุ ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกันเกินกว่า 15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ผู้ฟ้ องคดีจึงนําเรื่องมาฟ้ องต่อศาลปกครอง โดยคดีนี้ศาลปกครองสูงสุดได้วินิจฉัยเป็นบรรทัดฐานแก่หน่วยงานทางปกครองและข้าราชการว่า การละทิ้งหน้าที่ ราชการลักษณะใดถือว่ามีเหตุผลอันสมควร และการละทิ้งหน้าที่ราชการลักษณะใดถือว่าไม่มีเหตุผลอันสมควร โดยที่มาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยตํารวจ พุทธศักราช 2477 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้กําหนดให้ การกระทําผิดวินัยตํารวจ หมายความรวมถึง การประพฤติผิดวินัยข้าราชการพลเรือนดังที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือนที่ใช้อยู่ด้วย และมาตรา 92 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ที่ใช้บังคับในขณะ เกิดเหตุได้มีบทบัญญัติในเรื่อง “การละทิ้งหน้าที่ราชการ” ไว้ว่า “ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการมิได้ (วรรคหนึ่ง) การละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง หรือละทิ้ง หน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็ นเวลาเกินกว่า 15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์ อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (วรรคสอง)” กรณีความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงมีโทษ 3 สถาน ได้แก่ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ส่วนกรณีความผิด วินัยอย่างร้ายแรง มีโทษ 2 สถาน คือ ปลดออกและไล่ออก ข้อเท็จจริงในคดีนี้ฟังได้ว่า ผู้ฟ้ องคดีไม่ได้มาทํางานติดต่อกันเกินกว่า 15 วัน (ตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2544 รวม 23 วัน) โดยหลังจากที่กลับมาทํางานผู้ฟ้ องคดีอ้างว่าได้ยื่นใบลาป่วยต่อผู้บังคับบัญชาแล้ว แต่ผู้บังคับบัญชาไม่อนุญาตให้ลา ส่วนผู้บังคับบัญชาก็อ้างว่าผู้ฟ้ องคดีไม่ได้ยื่นใบลาป่วยต่อตนแต่อย่างใด แต่เมื่อพิจารณาจากหลักฐานคือใบรับรองแพทย์ 2 ฉบับ ฉบับแรกแพทย์ผู้ตรวจรักษามีความเห็นว่าผู้ฟ้ องคดีเป็นโรค กล้ามเนื้อสันหลังอักเสบให้ผู้ฟ้ องคดีหยุดพักผ่อนตั้งแต่วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2544 (รวม 5 วัน) และ ฉบับที่ 2 เห็นควรให้ผู้ฟ้ องคดีหยุดพักผ่อนตั้งแต่วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2544 (รวม 5 วัน) จึงเท่ากับ ว่าใบรับรองแพทย์ทั้งสองฉบับระบุให้ผู้ฟ้ องคดีหยุดพักผ่อนได้รวมกันทั้งสิ้น 10 วัน (ตั้งแต่วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2544) ข้อเท็จจริงดังกล่าวศาลปกครองวินิจฉัยว่า ถึงแม้ว่าผู้ฟ้ องคดีได้ยื่นใบลาป่ วยแล้วแต่ผู้บังคับบัญชามีอํานาจ ไม่อนุญาตให้ลา หรือผู้ฟ้ องคดีไม่ได้ยื่นใบลาป่วย แต่ตามพฤติการณ์ย่อมถือว่าผู้ฟ้ องคดีได้ละทิ้งหน้าที่ราชการแล้ว แต่เป็นการ ละทิ้งหน้าที่ราชการเพราะเหตุเจ็บป่วยโดยมีหลักฐานคือใบรับรองแพทย์ จึงรับฟังได้ว่ามีเหตุผลอันสมควร แต่สําหรับการขาดราชการตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2544 (รวม 10 วัน) เมื่อรวมกับ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2544 ถึงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2544 อีก 3 วัน เป็น 13 วัน นั้น เป็นการละทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มี เหตุผลอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ กรณีของผู้ฟ้ องคดีจึงเป็นการละทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเวลาไม่เกิน 15 วัน พฤติการณ์ แห่งการกระทําของผู้ฟ้ องคดีจึงเป็นเพียงไม่ถือและปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ โดยไม่ยื่นใบลาป่วยในวันแรกที่มา ปฏิบัติราชการ ตามมาตรา 91 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 และไม่อุทิศเวลาของตนให้แก่ ราชการโดยทิ้งราชการไป ตามมาตรา 92 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน อันเป็นเพียงความผิดวินัยอย่าง ไม่ร้ายแรง ซึ่งโทษที่จะลงได้ก็คือ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน และลดขั้นเงินเดือน
  • 2. ฉะนั้น การที่ผู้บัญชาการตํารวจนครบาล (ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 1) มีคําสั่งลงโทษไล่ผู้ฟ้ องคดีออกจากราชการ จึงเป็นคําสั่ง ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ส่งผลให้คําสั่งของนายกรัฐมนตรี (ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 2) ที่สั่งให้ยกอุทธรณ์ของผู้ฟ้ องคดีไม่ชอบด้วย กฎหมายด้วย พิพากษาให้เพิกถอนคําสั่งของผู้ถูกฟ้ องคดีและให้ผู้ถูกฟ้ องคดีที่ 1 สั่งให้ผู้ฟ้ องคดีกลับเข้ารับราชการ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่คําพิพากษาถึงที่สุด (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.159/2552) ปัจจุบัน...พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ได้ถูกยกเลิกไปเนื่องจากมีการตราพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ขึ้นใช้บังคับแทน แต่สาระของมาตรา 92 ตามกฎหมายเดิม ยังคงถูกบัญญัติไว้ใน กฎหมายใหม่ เพียงแต่แยกมาตราเพื่อให้เกิดความชัดเจนยิ่งขึ้น กล่าวคือ มาตรา 92 วรรคหนึ่งเดิม ได้ถูกบัญญัติไว้ในมาตรา 82 (5) ของกฎหมายใหม่ ส่วนมาตรา 92 วรรคสองเดิม ได้ถูกบัญญัติไว้ในมาตรา 85 (2) (3) ของกฎหมายใหม่ คดีนี้...จึงถือเป็นอุทาหรณ์ที่ดีในการพิจารณาโทษทางวินัยของผู้มีอํานาจที่ควรต้องพิจารณาข้อกฎหมาย อย่างรอบคอบและรอบด้านก่อนที่จะมีคําสั่งใดๆ ตามอํานาจหน้าที่ และยังเป็นข้อเตือนใจที่ดีสําหรับข้าราชการว่า นอกจากจะปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้วยการอุทิศเวลาแก่ราชการแล้ว ยังจะต้องเคารพ และปฏิบัติตามกฎระเบียบที่ราชการกําหนดอย่างเคร่งครัดด้วยนะครับ ! นายปกครอง