SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
Jirupi@kku.ac.th
เรื่อง กาลัง (POWER)
ในหัวข้อเรื่องของกาลังเรามาเรียนรู้เรื่องกาลังกับ น้องไข่ตุ๋น กับพี่ไข่ต้มกันนะคะ ซึ่งใน
หัวข้อที่ผ่านมา นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับงานในเชิงฟิสิกส์ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับแรงและ
การกระจัดที่เกิดงานในเชิงฟิสิกส์นั้นเป็นเป็นผลมาจากแรงที่กระทาต่อวัถตุ ใน
ชีวิตประจาวันนักเรียนจะพบการเกิดงานในเชิงกลศาสตร์ เช่น ในการลากวัตถุ การขน
ย้ายสิ่งของไปไว้บนที่สูง การเดิน การวิ่ง เป็นต้น
กาลังคือ อะไรนะ ใครจะอธิบายเราได้
บ้าง?
ไข่ต้ม: พี่ไข่ตุ้มพอจะรู้ไหมว่ากาลังคืออะไร ?
ไข่ต้ม : รู้สิ !!! กาลังก็คือ เวลาที่ใช้ในการทางาน ถ้าเราทางานได้เร็วก็แสดง
ว่าใช้กาลังมากและในทางกลับกัน ถ้าเราทางานได้ช้าแสดงว่าใช้กาลังน้อยไง
ครับน้องไข่ตุ๋น
พี่อยากให้น้องไข่ตุ๋นลองจินตนาการถึงรถสองคันนี้
ดูนะครับ (และสมมติว่ารถทั้งสองคันมีมวลเท่ากัน)
ใช่ครับหากให้รถทั้งสองคันขับแข่งกันขึ้นสู่ภูเขาสูงๆ อย่างดอยสุเทพ โดยเริ่มออกสตาร์ทพร้อมกัน
แล้วล่ะก็ รับรองได้ว่าเฟอร์รารีสีแดงคงจะขึ้นไปคอยอยู่บนยอดดอยโดยใช้เวลาน้อยกว่ารถคันสี
เขียวเป็นไหนๆ ถึงแม้ว่าสุดท้ายแล้วรถทั้งสองคันจะทางานเพื่อต้านแรงโน้มถ่วงของโลกได้ใน
ปริมาณที่เท่ากันก็ตาม (งานจะขึ้นอยู่กับความสูงของภูเขา) นั่นแปลว่านอกจากที่เราจะพูดถึงงาน
แล้ว ยังมีปริมาณที่น่าสนใจอีกนั่นก็คือ งานที่ทาได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ ซึ่งอัตราการทางานที่กล่าว
มานี้ก็คือปริมาณทางฟิสิกส์ที่เรียกว่า"กาลัง" นั่นเองครับไข่ตุ๋น
อืม รถสองคันมวลเท่ากัน
ไข่ตุ๋นพอจะเข้าใจแล้วคะว่ากาลังคืออะไร ขอบคุณ
พี่ไข่ต้มมากนะคะ
ครับ…เดี๋ยวพี่ยกตัวอย่างให้น้องไข่ตุ๋น เข้าใจเรื่อง
กาลังดียิ่งขึ้นอีกสักรื่องนะครับ ได้สิคะ ขอบคุณคะพี่ไข่ต้ม
Jirupi@kku.ac.th
เรามาทบทวนเรื่องกาลังกันอีกทีนะครับ
กาลัง คือ อัตราการทางาน มีหน่วยเป็น จูล/วินาที หรือ วัตต์
ถ้าให้ P = กาลัง มีหน่วยเป็น วัตต์
W = งาน มีหน่วยเป็น จูล
t = เวลา มีหน่วยเป็น วินาที
จากนิยาม จะได้ P = dt
dW
= dt
s.dF
= dt
ds.F
= F.v
 กาลังเฉลี่ย จะได้ Pav = t
W
= F.vav
กาลังขณะใดๆ P = dt
dW
= F.v
ยกตัวอย่าง เช่น กาลังม้า (horsepower, hp) คือ กาลังของม้า 1 ตัวหรืออัตราการทางานของม้า 1 ตัว เช่น เครื่องยนต์ 10 hp สามารถ
ทางานเท่ากับม้า 10 ตัว หนึ่งกาลังม้า คือ งาน 33,000 ฟุต-ปอนด์ต่อหนึ่งนาที (ft-lb/min)
ม้าเดิน 165 ft ในเวลา 1 นาที และยกน้าหนัก 200 lb ปริมาณงานที่ทาภายในเวลา 1 นาที คือ 33,000 ft-lb (165 ft * 200 lb)
ถ้าม้าทางานดังกล่าวภายในเวลา 2 นาที ดังนั้นงานที่ทาต่อเวลา 1 นาที จะเป็นครื่งหนึ่งของงานครั้งแรก หรือกาลังม้าเท่ากับ 1/2 hp
สูตรการคานวณหากาลังม้าคือ
เมื่อ L หมายถึง ความยาวเป็นฟุต (เป็นระยะที่ W กระทา)
W หมายถึง แรงเป็นปอนด์ (กระทาตลอดระยะความยาว L)
t หมายถึง เวลาเป็นนาที
หมายเหตุ กาลัง 1 กาลังม้า (HP) มีค่า 746 วัตต
Credit : http://www.rmutphysics.com/charud/exercise/energy/energy1/9-5.gif
Jirupi@kku.ac.th
เครื่องกลหรือเครื่องมือที่ใช้มีเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าประกอบอยู่ มีตัวเลขแสดงกาลังของ
เครื่องกลหรือเครื่องใช้เหล่านี้เป็นวัตต์ หรือกิโลวัตต์ kW ส่วนเครื่องกลที่ไม่มีเครื่องยนต์หรือ
มอเตอร์ประกอบเช่น คาน รอก จะไม่มีการบอกกาลังของเครื่องกล
ผู้ผลิตจะบอกค่าของกาลังไว้ที่ตัวเครื่อง ส่วนเครื่องกลหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีกาลังมากๆ
นอกจากจะบอกค่าของกาลังในหน่วยของกิโลวัตต์ ในบางครั้งอาจจะบอกเป็นกาลังม้า (Horse Power)
หรือ 1 กาลังม้า(HP) มีค่า 746 วัตต์ (watt) เช่น รถยนต์คันหนึ่งมีกาลังของเครื่องยนต์เท่ากับ 110
กาลังม้า
ตัวอย่างการคานวณเรื่อง กาลัง
เด็กคนหนึ่งดึงถังน้า 15 กิโลกรัม ขึ้นจากบ่อลึก 3 เมตร ภายในเวลา 6 วินาที ในการดึงถัง
น้านี้เด็กคนนั้นใช้กาลังเท่าใด ถ้าเด็กตักน้าได้ 6 ถัง ในเวลา 60 วินาที เขาใช้กาลังเฉลี่ยเท่าใด
(กาหนดให้ g = 10 m/s2
)
วิธีทา ในการดึงถังน้าแต่ละถังเด็กจะทางาน = mgh
= (15 kg)  (10 m/s2
)  (3 m)
= 450 J
กาลังที่เด็กใช้ = 450 J / 6 s = 75 W
ตอบ นั่นคือเด็กใช้กาลังเท่ากับ 75 วัตต์
เขาจะใช้กาลังเฉลี่ย = 6  (15 kg)  (10 m/s2
)  (3 m)  60 s
= 45 W
ตอบ ดังนั้นเขาจะใช้กาลังเฉลี่ยเท่ากับ 45 วัตต์

More Related Content

More from jirupi

งานและพลังงาน
งานและพลังงาน งานและพลังงาน
งานและพลังงาน jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะjirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะjirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนjirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 

More from jirupi (20)

1
11
1
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงาน งานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์
 

Content-2-Power

  • 1. Jirupi@kku.ac.th เรื่อง กาลัง (POWER) ในหัวข้อเรื่องของกาลังเรามาเรียนรู้เรื่องกาลังกับ น้องไข่ตุ๋น กับพี่ไข่ต้มกันนะคะ ซึ่งใน หัวข้อที่ผ่านมา นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับงานในเชิงฟิสิกส์ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับแรงและ การกระจัดที่เกิดงานในเชิงฟิสิกส์นั้นเป็นเป็นผลมาจากแรงที่กระทาต่อวัถตุ ใน ชีวิตประจาวันนักเรียนจะพบการเกิดงานในเชิงกลศาสตร์ เช่น ในการลากวัตถุ การขน ย้ายสิ่งของไปไว้บนที่สูง การเดิน การวิ่ง เป็นต้น กาลังคือ อะไรนะ ใครจะอธิบายเราได้ บ้าง? ไข่ต้ม: พี่ไข่ตุ้มพอจะรู้ไหมว่ากาลังคืออะไร ? ไข่ต้ม : รู้สิ !!! กาลังก็คือ เวลาที่ใช้ในการทางาน ถ้าเราทางานได้เร็วก็แสดง ว่าใช้กาลังมากและในทางกลับกัน ถ้าเราทางานได้ช้าแสดงว่าใช้กาลังน้อยไง ครับน้องไข่ตุ๋น พี่อยากให้น้องไข่ตุ๋นลองจินตนาการถึงรถสองคันนี้ ดูนะครับ (และสมมติว่ารถทั้งสองคันมีมวลเท่ากัน) ใช่ครับหากให้รถทั้งสองคันขับแข่งกันขึ้นสู่ภูเขาสูงๆ อย่างดอยสุเทพ โดยเริ่มออกสตาร์ทพร้อมกัน แล้วล่ะก็ รับรองได้ว่าเฟอร์รารีสีแดงคงจะขึ้นไปคอยอยู่บนยอดดอยโดยใช้เวลาน้อยกว่ารถคันสี เขียวเป็นไหนๆ ถึงแม้ว่าสุดท้ายแล้วรถทั้งสองคันจะทางานเพื่อต้านแรงโน้มถ่วงของโลกได้ใน ปริมาณที่เท่ากันก็ตาม (งานจะขึ้นอยู่กับความสูงของภูเขา) นั่นแปลว่านอกจากที่เราจะพูดถึงงาน แล้ว ยังมีปริมาณที่น่าสนใจอีกนั่นก็คือ งานที่ทาได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ ซึ่งอัตราการทางานที่กล่าว มานี้ก็คือปริมาณทางฟิสิกส์ที่เรียกว่า"กาลัง" นั่นเองครับไข่ตุ๋น อืม รถสองคันมวลเท่ากัน ไข่ตุ๋นพอจะเข้าใจแล้วคะว่ากาลังคืออะไร ขอบคุณ พี่ไข่ต้มมากนะคะ ครับ…เดี๋ยวพี่ยกตัวอย่างให้น้องไข่ตุ๋น เข้าใจเรื่อง กาลังดียิ่งขึ้นอีกสักรื่องนะครับ ได้สิคะ ขอบคุณคะพี่ไข่ต้ม
  • 2. Jirupi@kku.ac.th เรามาทบทวนเรื่องกาลังกันอีกทีนะครับ กาลัง คือ อัตราการทางาน มีหน่วยเป็น จูล/วินาที หรือ วัตต์ ถ้าให้ P = กาลัง มีหน่วยเป็น วัตต์ W = งาน มีหน่วยเป็น จูล t = เวลา มีหน่วยเป็น วินาที จากนิยาม จะได้ P = dt dW = dt s.dF = dt ds.F = F.v  กาลังเฉลี่ย จะได้ Pav = t W = F.vav กาลังขณะใดๆ P = dt dW = F.v ยกตัวอย่าง เช่น กาลังม้า (horsepower, hp) คือ กาลังของม้า 1 ตัวหรืออัตราการทางานของม้า 1 ตัว เช่น เครื่องยนต์ 10 hp สามารถ ทางานเท่ากับม้า 10 ตัว หนึ่งกาลังม้า คือ งาน 33,000 ฟุต-ปอนด์ต่อหนึ่งนาที (ft-lb/min) ม้าเดิน 165 ft ในเวลา 1 นาที และยกน้าหนัก 200 lb ปริมาณงานที่ทาภายในเวลา 1 นาที คือ 33,000 ft-lb (165 ft * 200 lb) ถ้าม้าทางานดังกล่าวภายในเวลา 2 นาที ดังนั้นงานที่ทาต่อเวลา 1 นาที จะเป็นครื่งหนึ่งของงานครั้งแรก หรือกาลังม้าเท่ากับ 1/2 hp สูตรการคานวณหากาลังม้าคือ เมื่อ L หมายถึง ความยาวเป็นฟุต (เป็นระยะที่ W กระทา) W หมายถึง แรงเป็นปอนด์ (กระทาตลอดระยะความยาว L) t หมายถึง เวลาเป็นนาที หมายเหตุ กาลัง 1 กาลังม้า (HP) มีค่า 746 วัตต Credit : http://www.rmutphysics.com/charud/exercise/energy/energy1/9-5.gif
  • 3. Jirupi@kku.ac.th เครื่องกลหรือเครื่องมือที่ใช้มีเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้าประกอบอยู่ มีตัวเลขแสดงกาลังของ เครื่องกลหรือเครื่องใช้เหล่านี้เป็นวัตต์ หรือกิโลวัตต์ kW ส่วนเครื่องกลที่ไม่มีเครื่องยนต์หรือ มอเตอร์ประกอบเช่น คาน รอก จะไม่มีการบอกกาลังของเครื่องกล ผู้ผลิตจะบอกค่าของกาลังไว้ที่ตัวเครื่อง ส่วนเครื่องกลหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีกาลังมากๆ นอกจากจะบอกค่าของกาลังในหน่วยของกิโลวัตต์ ในบางครั้งอาจจะบอกเป็นกาลังม้า (Horse Power) หรือ 1 กาลังม้า(HP) มีค่า 746 วัตต์ (watt) เช่น รถยนต์คันหนึ่งมีกาลังของเครื่องยนต์เท่ากับ 110 กาลังม้า ตัวอย่างการคานวณเรื่อง กาลัง เด็กคนหนึ่งดึงถังน้า 15 กิโลกรัม ขึ้นจากบ่อลึก 3 เมตร ภายในเวลา 6 วินาที ในการดึงถัง น้านี้เด็กคนนั้นใช้กาลังเท่าใด ถ้าเด็กตักน้าได้ 6 ถัง ในเวลา 60 วินาที เขาใช้กาลังเฉลี่ยเท่าใด (กาหนดให้ g = 10 m/s2 ) วิธีทา ในการดึงถังน้าแต่ละถังเด็กจะทางาน = mgh = (15 kg)  (10 m/s2 )  (3 m) = 450 J กาลังที่เด็กใช้ = 450 J / 6 s = 75 W ตอบ นั่นคือเด็กใช้กาลังเท่ากับ 75 วัตต์ เขาจะใช้กาลังเฉลี่ย = 6  (15 kg)  (10 m/s2 )  (3 m)  60 s = 45 W ตอบ ดังนั้นเขาจะใช้กาลังเฉลี่ยเท่ากับ 45 วัตต์