SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ฮาร์ดแวร์(Hardware) หมายถึง เครื่องมือในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับ
หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลลัพธ์ รวมทั้งอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ เช่น เมาส์ จอภาพ เครื่องพิมพ์ ซีพียู ฯลฯ
1.1 ไมโครโปรเซสเซอร์
1.2 หน่วยความจํา
1.3 อุปกรณ์เก็บข้อมูล
1.4 อุปกรณ์รับข้อมูล/แสดงผล
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมต่างๆ ที่เขียนขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์
เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทํางาน
ซอฟต์แวร์จะช่วยในการแก้ปัญหาจากต้นจนจบทํางานรายละเอียดทุกขั้นตอนโปรแกรมเหล่านี้จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจําภาย
ในซีพียู หลังจากนั้นเครื่องจะทํางานตามโปรแกรมภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุม
ซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
2.1.ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ
เป็นซอฟต์แวร์ที่ควบคุมการทํางานทั้งหมดของคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบป
ฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเสมอ ระบบปฏิบัติการยอดนิยมในปัจจุบันนี้ คือ Window 95 , Windows 98
และระบบปฏิบัติการ Linux , Dos และจะมีการพัฒนาโปรแกรมใหม่ ๆ ขึ้นมาเรื่อย ๆ
2.2ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง
โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทํางานเฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมระบบบัญชี
โปรแกรมออกแบบ นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมสําเร็จรูป ของบริษัทต่าง ๆ ออกมาใช้งาน เช่น Excel , Photoshop
และ Oracle เป็นต้น
โปรแกรมประยุกต์มีทั้งโปรแกรมที่เขียนขึ้นเอง และโปรแกรมสําเร็จรูป
บุคลากร
บุคลากร (People) บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์อีกอย่างหนึ่งที่สําคัญมาก
เพราะหากบุคลากรไม่มีความรู้ความเข้าใจในการใช้งานเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์
อาจจะทําให้การใช้งานไม่มีประสิทธิภาพหรือไม่ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมายได้ กลุ่มบุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งหมดแบ่งออกเป็น 3
กลุ่มด้วยกัน คือ ผู้ใช้งานทั่วไป ผู้เชี่ยวชาญ และผู้บริหาร
ผู้ใช้งานทั่วไป (User/End User)
เป็นผู้ใช้งานระดับต่ําสุดซึ่งไม่จําเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญมากนักก็สามารถใช้งานได้
โดยศึกษาจากคู่มือการปฏิบัติงานหรือคู่มือใช้งานโปรแกรมที่นํามาใช้ หรืออาจต้องเข้ารับการอบรมบ้างเพื่อให้สามารถใช้งานได้
บุคลากรกลุ่มนี้มีจํานวนมากที่สุดในหน่วยงานและลักษณะงานมักเกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไปเช่น
งานธุรการสํานักงานงานป้อนข้อมูล งานบริการลูกค้าสัมพันธ์ (Callcenter) เป็นต้นในการวางระบบงานคอมพิวเตอร์ขององค์กร
ผู้ใช้งานถือได้ว่ามีบทบาทที่สําคัญมาก เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการใช้งานโดยตรง ซึ่งผู้ทําหน้าที่ออกแบบและวางระบบ เช่น
นักวิเคราะห์ระบบหรือsystemanalystจำเป็นต้องมีการสอบถามความต้องการ(requirement)ในการใช้งานเบื้องต้นของกลุ่มผู้ใช้งา
นเหล่านี้ด้วยโดยอาจใช้วิธีการสัมภาษณ์ลักษณะงานที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบันรวมถึงออกแบบสํารวจความต้องการของระบบที่อยา
กได้ ซึ่งในบางครั้งอาจใช้วิธีการปรับปรุงระบบงานเดิมโดยสอบถามถึงปัญหาของระบบงานเก่าที่ใช้อยู่ว่ามีปัญหาอย่างไรบ้าง
และต้องการจะให้ระบบใหม่ที่จะใช้นี้มีหน้าตาออกมาอย่างไรการสอบถามข้อมูลดังกล่าวจะทําให้ได้โปรแกรมหรือระบบงานที่ต
รงตามวัตถุประสงค์มากที่สุด นอกจากนี้เมื่อได้ระบบดังกล่าวแล้ว อาจต้องนํามาทดสอบกับผู้ใช้เหล่านี้อีกครั้ง
เพื่อขอรับฟังข้อแนะนํารวมถึงการทดสอบปัญหาเบื้องต้น ซึ่งพอจะสรุปความสัมพันธ์ระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้งานได้
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ( Computer Operator/Computer Technician )
นักวิเคราะห์ระบบ ( System Analyst)
นักเขียนโปรแกรม ( Programmer)
วิศวกรซอฟต์แวร์ ( Software Engineer)
ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก ( Network Administrator )
กลุ่มผู้บริหาร
ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ( CIO-Chief Information Office )
หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ ( Computer Center Manager/Information Technology Manager)
ข้อมูล (Data)
หมายถึง ข่าวสาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของหรือเหตุการณ์ในรูปแบบของตัวเลข ภาพ ตัวอักษร
และสัญลักษณ์ต่างๆ เช่นคะแนนสอบวิชาภาษาไทย ราคาสินค้า จํานวนนักเรียนในโรงเรียน
&
สารสนเทศ (Information)
หมายถึง
ข้อมูลต่างๆที่ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมีการประมวลผลหรือวิเคราะห์สรุปผลด้วยวิธีการต่างๆแล้วเก็
บรวบรวมไว้เพื่อนํามาใช้ประโยชน์ตามต้องการการประมวล(DataProcessing)เป็นการนําข้อมูลจากแหล่
งต่างๆที่เก็บรวบรวมไว้มาผ่านกระบวนการต่างๆเพื่อแปรสภาพข้อมูลให้เป็นระบบและอยู่ในรูปแบบที่
ต้องการ
กระบวนการแปลงข้อมูล
1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล
2. การดําเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ
3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน
หน่วยวัดความจุข้อมูล
1. บิต(bit)เป็นหน่วยที่มีขนาดเล็กที่สุดโดยจะถูกด้วยเลขฐานสองคือ 0 กับ 1
2. ไบต์(byte)โดย 1 ไบต์เท่ากับ 8 บิต จะใช้เเทนตัวอักษรใดๆ เช่น พยัญชนะ ตัวเลข เป็นต้น
3. กิโลไบต์(kilobyte;KB)มีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์ เทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1,000 ตัวหรือประมาณ
1 หน้ากระดาษ
4. เมกะไบต์(Megabyte;MB)มีค่าเท่ากับ 1,000 กิโลไบต์ หรือเทียบเท่า 1 ล้านไบต์ หรือประมาณหนังสือ
1 เล่ม
5. กิกะไบต์(Gigabyte;GB)บอกความจุข้อมูลของฮาร์ดดิสก์ USB DVD เป็นต้น โดยมีค่าประมาณ 1,000
เมกกะไบต์หรือเทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 พันล้านตัวหรือหนังสือที่บรรจุอยู่ในตู้หนังสือ
1 ตู้
6. เทอราไบต์(Terabyte;TB)เป็นหน่วยวัดที่มีขนาดใหญ่มาก
ปัจจุบบันมีเพียงอุปกรณ์จําพวกฮาร์ดดิสก์บางรุ่นเท่านั้น โดยมีค่าประมาณ 1,000 กิกะไบต์
หรือเทียบเท่าตัวอักษร 1 ล้านล้านตัว หรือ หนังสือทั้งหมดที่ถูกบรรจุอยู่ในห้องสมุด 1 ห้อง
เพตาไบต์(Petabyte;PB)เป็นหน่วยความจุที่ใหญ่ที่สุด ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน
ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
– Keyboard (คีย์บอร์ด)
เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนําข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นปุ่มตัวอักษรเหมือนปุ่มเครื่องพิมพ์ดีด
เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะรับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทําการเปลี่ยน
เป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลจะมีจํานวนตั้งแต่ 50 แป้นขึ้นไป
แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มีแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก เพื่อทําให้การป้อนข้อมูลตัวเลขทําได้ง่ายและสะดวกขึ้น
– Mouse (เมาส์)&Mouse
เป็นอุปกรณ์ที่ทําหน้าที่ป้อนข้อมูลอย่างหนึ่งแต่ที่เห็นการทํางาน
โดยทั่วไปจะเป็นตัวที่ใช้ควบคุมลูกศรให้เคลื่อนที่ไปยังตําแหน่งต่างๆ บนจอภาพ เหมาะสําหรับใช้งานเมื่อต้องเลือก
หรือเลื่อนวัตถุต่างๆ บนจอ Mouse ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ได้ 2 แบบ ได้แก่ 9 Pin, Serial Port และ PS/2 (Personal
System Version2)
– Scanner (สแกนเนอร์)&
สแกนเนอร์ คือ อุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพ จากรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์
สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้ ภาพนั้นอาจจะเป็นรูปถ่าย, ข้อความ, ภาพวาด
หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ
– Webcam (เว็บแคม)
&เว็บแคมหรือชื่อเรียกเต็มๆว่า Web Camera (เว็บแคเมรา) แต่ในบางครั้งก็มีคนเรียกว่า Video Camera หรือ Video
Conference เว็บแคมเป็นอุปกรณ์อินพุตที่ สามารถจับภาพเคลื่อนไหวของเราไปปรากฏในหน้าจอมอนิเตอร์
และสามารถส่งภาพเคลื่อนไหวนี้ผ่านระบบเครือข่ายเพื่อให้คนอีกฟากหนึ่งสามารถ เห็นตัวเราเคลื่อนไหว
ได้เหมือนอยู่ต่อหน้า ถือว่าเป็นอุปกรณ์ที่มีประโยชน์อีกตัวหนึ่ง และมีความจําเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ
– Microphone (ไมโครโฟน)&
ไมโครโฟน คือ อุปกรณ์รับเสียงแล้วทําการแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า
เพื่อประมวลผลในเครื่องขยายเสียงหรืออุปกรณ์ผสมเสียงอื่นๆ
ไมโครโฟนจะประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็กเป็นหลัก
เมื่อเสียงกระทบตัวรับในไมโครโฟนจะทําให้ขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็ก จึงทําให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า
ซึ่งเป็นหลักการทํางานตรงข้ามกับลําโพง โดยทั่วไปไมโครโฟนใช้รับเสียงพูดหรือเสียงร้องเพลง
– Touch screen (ทัชสกรีน)
&ทัชสกรีน คือ จอภาพแบบสัมผัส ซึ่งเป็นจอภาพแบบพิเศษที่เป็นทั้งอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล และอุปกรณ์นําเข้าข้อมูล
มักนําไปใช้กับธุรกิจร้านค้า โรงแรม สายการบิน พิพิธภัณฑ์ สถานบันเทิงคาราโอเกะ รวมถึงธุรกิจธนาคาร เช่น
เครื่องเอทีเอ็ม ซึ่งผู้ใช้งานเพียงแต่นํานิ้วหรือใช้แท่งคล้ายดินสอหรือปากกา
แตะ/กดลงบนตําแหน่งที่ต้องการบนจอภาพ
กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ
ระบบคอมพิวเตอร์ในการทํางานจริงจะมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่างองค์ประกอบแต่ละส่วนอยู่เ
สมอ กิจกรรมความสัมพันธ์ต่างๆจะเริ่มตั้งแต่การนําข้อมูลเข้า(input)จนถึงขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์ที่ได้(output)
องค์ประกอบต่างๆไม่ว่าจะเป็น ข้อมูล บุคลากร ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์
จะมีความสัมพันธ์และทํางานเกี่ยวข้องกันทั้งหมด
พื้นฐานการทํางานของคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนที่ 1 : รับข้อมูลเข้า
(Input)เริ่มต้นด้วยการนําข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ
แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เช่น ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard)
เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง ถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครื่องอ่านพิกัดภาพกราฟิค (Graphics Tablet)
โดยมีปากกาชนิดพิเศษสําหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้านควบคุม (Joystick)
สําหรับเคลื่อนตําแหน่งของการเล่นบนจอภาพ เป็นต้น
ขั้นตอนที่ 2 : ประมวลผลข้อมูล (Process)
เมื่อนําข้อมูลเข้ามาแล้ว เครื่องจะดําเนินการกับข้อมูลตามคําสั่งที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่&ต้องการ
การประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่าง เช่น นําข้อมูลมาหาผลรวม นําข้อมูลมาจัดกลุ่ม นําข้อมูลมาหาค่ามากที่สุด
หรือน้อยที่สุด เป็นต้น
ขั้นตอนที่ 3 : แสดงผลลัพธ์
(Output)เป็นการนําผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ที่กําหนดไว้ โดยทั่วไปจะแสดงผ่านทางจ
อภาพ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้
หน่วยประมวลผลกลาง
1. หน่วยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) หน่วยคํานวณตรรกะ
ทําหน้าที่เหมือนกับเครื่องคํานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทํางานเกี่ยวข้องกับ การคํานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น
บวก ลบ คูณ หาร นอกจากนี้หน่วยคํานวณและตรรกะของคอมพิวเตอร์
ยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคํานวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง
ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คําตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น
จริง หรือ เท็จ เช่น เปรียบเทียบมากว่า น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน ของจํานวน 2 จํานวน เป็นต้น
ซึ่งการเปรียบเทียบนี้มักจะใช้ในการเลือกทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทําตามคําสั่งใดของโปรแกรมเป็น
คําสั่งต่อไป
2. หน่วยควบคุม (Control
Unit) & หน่วยควบคุมทําหน้าที่คงบคุมลําดับขั้นตอนการการประมวลผลและการทํางานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายใน
หน่วยประมวลผลกลาง และรวมไปถึงการประสานงานในการทํางานร่วมกันระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง
กับอุปกรณ์นําเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจําสํารองด้วย เมื่อผู้ใช้ต้องการประมวลผล ตามชุดคําสั่งใด
ผู้ใช้จะต้องส่งข้อมูลและชุดคําสั่งนั้น ๆ เข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์เสียก่อน โดยข้อมูล
และชุดคําสั่งดังกล่าวจะถูกนําไปเก็บไว้ในหน่วยความจําหลักก่อน จากนั้นหน่วยควบคุมจะดึงคําสั่งจาก
ชุดคําสั่งที่มีอยู่ในหน่วยความจําหลักออกมาทีละคําสั่งเพื่อทําการแปล ความหมายว่าคําสั่งดังกล่าวสั่งให้
ฮาร์ดแวร์ส่วนใด ทํางานอะไรกับข้อมูลตัวใด เมื่อทราบความหมายของ คําสั่งนั้นแล้ว หน่วยควบคุมก็จะส่ง
สัญญาณคําสั่งไปยังฮาร์แวร์ ส่วนที่ทําหน้าที่ ในการประมวลผลดังกล่าว ให้ทําตามคําสั่งนั้น ๆ เช่น ถ้าคําสั่ง
ที่เข้ามานั้นเป็นคําสั่งเกี่ยวกับการคํานวณ หน่วยควบคุมจะส่งสัญญาณ คําสั่งไปยังหน่วยคํานวณและตรรกะ ให้ทํางาน
หน่วยคํานวณและตรรกะก็จะไปทําการดึงข้อมูลจาก หน่วยความจําหลักเข้ามาประมวลผล
ตามคําสั่งแล้วนําผลลัพธ์ที่ได้ไปแสดงยังอุปกรณ์แสดงผล หน่วยคงบคุมจึงจะส่งสัญญาณคําสั่งไปยัง
อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ ที่กําหนดให้ดึงข้อมูลจากหน่วยความจําหลัก ออกไปแสดงให้เห็นผลลัพธ์ดังกล่าว อีกต่อหนึ่ง
3. หน่วยความจําหลัก (Main Memory) & คอมพิวเตอร์จะสามารถทํางานได้เมื่อมีข้อมูล
และชุดคําสั่งที่ใช้ในการประมวลผลอยู่ในหน่วยความ จําหลักเรียบร้อยแล้วเท่านั้น
และหลักจากทําการประมวลผลข้อมูลตามชุดคําสั่งเรียบร้อบแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ จะถูกนําไปเก็บไว้ที่หน่วยความจําหลัก
และก่อนจะถูกนําออกไปแสดงที่อุปกรณ์แสดงผล
หน่วยความจําหลัก
1. แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจําที่เก็บข้อมูลสําหรับใช้งานทั่วไป
การอ้างอิงตําแหน่งที่อยู่ของข้อมูลใดๆ เพื่อการเขียนและการอ่านจะกระทําแบบการเข้าถึงโดยสุ่มคือ
เรียกไปที่ตําแหน่งที่อยู่ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจํานี้เรียกว่า แรม หน่วยความจําประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่มี
กระแสไฟฟ้ายังจ่ายให้วงจร หากไฟฟ้าดับเมื่อใด ข้อมูลก็จะสูญหายทันที
2. รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจําอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิงตําแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึง
โดยสุ่มหน่วยความจําประเภทนี้มีไว้เพื่อบรรจุโปรแกรมสําคัญบางอย่าง เพื่อว่าเมื่อเปิดเครื่องมา ซีพียูจะเริ่มต้นทํางาน
ได้ทันทีข้อมูลหรือโปรแกรมที่เก็บไว้ในรอมจะถูกบันทึกมาก่อนแล้ว ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลได้ แต่ไม่สามารถเขียนข้อ
มูลใดๆลงไปได้ซึ่งข้อมูลหรือโปรแกรมที่อยู่ในรอมนี้จะอยู่อย่างถาวร แม้จะปิดเครื่องข้อมูลหรือโปรแกรมก็จะไม่ถูกล
บไป
หน่วยความจําสํารอง
1. แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette)
2. ฮาร์ดดิสก์ (harddisk)
3. เทปแม่เหล็ก (magnetic tape)
4. แผ่นซีดี (Compact Disk : CD )
หน่วยรับข้อมูล
หน่วยรับข้อมูล หรือ หน่วยนําเข้าข้อมูล เป็นหน่วยเริ่มต้นในการทํางานของคอมพิวเตอร์ เพราะ
มีหน้าที่ในการนําข้อมูลหรือคําสั่งต่างๆ เข้าไปในระบบการทํางานของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับข้อมูลของหน่วยรับข้อ
มูล มีหลายชนิด เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน จอยสติก จอสัมผัส แต่ทุกชนิดทําหน้าที่ รับข้อมูลหรือคําสั่ง
เข้าสู่ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร์ เหมือนกัน อุปกรณ์ของหน่วยรับข้อมูล แต่ละชนิดมีวิธีการนําเข้าข้อมูล
หรือรับคําสั่ง ตลอดจนลักษณะของรูปแบบข้อมูลที่นําเข้าต่างกัน
หน่วยแสดงผล
แสดงผลทางบนจอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ในรูปตัวอักษร ตัวเลข
ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวได้ในขณะที่เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น
แต่เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถเห็นผลลัพธ์ได้ จอภาพอาจเรียกว่าหน่วยแสดงผลชั่วคราว
จอภาพที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีหลายชนิด
1.
2. แสดงผลทางเครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ (printer) เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์ในรูปข้อมูล รายงาน รูปภาพ
ลงบนกระดาษ ซึ่งสามารถสัมผัสและเก็บรักษาไว้ได้นาน เครื่องพิมพ์อาจเรียกว่า หน่วยแสดงผลถาวร
ในปัจจุบันเครื่องพิมพ์มีหลายชนิด
ลำโพง ลําโพง (speaker) เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์รูปแบบเสียง ซึ่งส่วนใหญ่จะให้มาพร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ทางเดินระบบ(SystemBus)
&เส้นทางผ่านของสัญญาณเพื่อให้อุปกรณ์ระหว่างหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจําในระบบสามารถเชื่อมต่อกั
นได้เปรียบกับถนนที่ให้รถยนต์วิ่งไปยังสถานที่ใดที่หนึ่ง หากถนนกว้างหรือมีมากเท่าใด
การส่งข้อมูลต่อครั้งก็ยิ่งเร็วและมากขึ้นเท่านั้นจํานวนเส้นทางที่ใช้วิ่งบนทางเดินระบบ เรียกว่า บิต
(เปรียบเทียบได้กับเลนบนถนน)&
วงรอบการทํางานของซีพียู
เวลาคําสั่งงานและเวลาปฎิบัติการช่วง I-Time (Instruction Time) หรือเวลาคําสั่งงานอยู่ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 (Fetch
และ Decode) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดึงเอาคําสั่งและแปลความหมายเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทํางานตามต้องการช่วง E-Time
(Execution Time) หรือเวลาปฏิบัติการอยู่ขั้นตอนที่ 3 และ 4 (Execute และ Store)
ซึ่งเกี่ยวข้องกับการคํานวณและนําผลลัพธ์ไปเก็บเพื่อรอให้เรียกใช้
ฮาร์ดแวร์

More Related Content

What's hot

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Looknam Kamonchanok
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointChonlamas Supsomboon
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2Owat
 
งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกphatcharaphon srikaew
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ กิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2กิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointกิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ กิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Chaiwattana Tongpramoon
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์siwaporn_jo
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Natchanan Mankhong
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์siwaporn_jo
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPointBk Tham
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Bk Tham
 
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตการจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตThanaporn Singsuk
 
อุุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์poe15562
 

What's hot (20)

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Work3-12
Work3-12Work3-12
Work3-12
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2
 
งานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมกงานคอม ไม่บอก-หมก
งานคอม ไม่บอก-หมก
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตการจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
1
11
1
 
อุุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 

Similar to ฮาร์ดแวร์

เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างsrilakorn
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptxเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptxohmzariffer
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdfเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdfohmzariffer
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Rijin7
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Rijin7
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kasamesak Posing
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kasamesak Posing
 
องค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศองค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศduangnapa27
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Mac Kakes
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Rijin7
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 

Similar to ฮาร์ดแวร์ (20)

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่าง
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
5บท
5บท5บท
5บท
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptxเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdfเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
องค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศองค์ประกอบของสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศ
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

ฮาร์ดแวร์

  • 1. ฮาร์ดแวร์(Hardware) หมายถึง เครื่องมือในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลลัพธ์ รวมทั้งอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ เช่น เมาส์ จอภาพ เครื่องพิมพ์ ซีพียู ฯลฯ 1.1 ไมโครโปรเซสเซอร์ 1.2 หน่วยความจํา 1.3 อุปกรณ์เก็บข้อมูล 1.4 อุปกรณ์รับข้อมูล/แสดงผล ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมต่างๆ ที่เขียนขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์ เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทํางาน ซอฟต์แวร์จะช่วยในการแก้ปัญหาจากต้นจนจบทํางานรายละเอียดทุกขั้นตอนโปรแกรมเหล่านี้จะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจําภาย ในซีพียู หลังจากนั้นเครื่องจะทํางานตามโปรแกรมภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุม ซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 2.1.ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ เป็นซอฟต์แวร์ที่ควบคุมการทํางานทั้งหมดของคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบป ฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเสมอ ระบบปฏิบัติการยอดนิยมในปัจจุบันนี้ คือ Window 95 , Windows 98 และระบบปฏิบัติการ Linux , Dos และจะมีการพัฒนาโปรแกรมใหม่ ๆ ขึ้นมาเรื่อย ๆ 2.2ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทํางานเฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมออกแบบ นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมสําเร็จรูป ของบริษัทต่าง ๆ ออกมาใช้งาน เช่น Excel , Photoshop และ Oracle เป็นต้น โปรแกรมประยุกต์มีทั้งโปรแกรมที่เขียนขึ้นเอง และโปรแกรมสําเร็จรูป
  • 2. บุคลากร บุคลากร (People) บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์อีกอย่างหนึ่งที่สําคัญมาก เพราะหากบุคลากรไม่มีความรู้ความเข้าใจในการใช้งานเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ อาจจะทําให้การใช้งานไม่มีประสิทธิภาพหรือไม่ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมายได้ กลุ่มบุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งหมดแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ ผู้ใช้งานทั่วไป ผู้เชี่ยวชาญ และผู้บริหาร ผู้ใช้งานทั่วไป (User/End User) เป็นผู้ใช้งานระดับต่ําสุดซึ่งไม่จําเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญมากนักก็สามารถใช้งานได้ โดยศึกษาจากคู่มือการปฏิบัติงานหรือคู่มือใช้งานโปรแกรมที่นํามาใช้ หรืออาจต้องเข้ารับการอบรมบ้างเพื่อให้สามารถใช้งานได้ บุคลากรกลุ่มนี้มีจํานวนมากที่สุดในหน่วยงานและลักษณะงานมักเกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไปเช่น งานธุรการสํานักงานงานป้อนข้อมูล งานบริการลูกค้าสัมพันธ์ (Callcenter) เป็นต้นในการวางระบบงานคอมพิวเตอร์ขององค์กร ผู้ใช้งานถือได้ว่ามีบทบาทที่สําคัญมาก เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการใช้งานโดยตรง ซึ่งผู้ทําหน้าที่ออกแบบและวางระบบ เช่น นักวิเคราะห์ระบบหรือsystemanalystจำเป็นต้องมีการสอบถามความต้องการ(requirement)ในการใช้งานเบื้องต้นของกลุ่มผู้ใช้งา นเหล่านี้ด้วยโดยอาจใช้วิธีการสัมภาษณ์ลักษณะงานที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบันรวมถึงออกแบบสํารวจความต้องการของระบบที่อยา กได้ ซึ่งในบางครั้งอาจใช้วิธีการปรับปรุงระบบงานเดิมโดยสอบถามถึงปัญหาของระบบงานเก่าที่ใช้อยู่ว่ามีปัญหาอย่างไรบ้าง และต้องการจะให้ระบบใหม่ที่จะใช้นี้มีหน้าตาออกมาอย่างไรการสอบถามข้อมูลดังกล่าวจะทําให้ได้โปรแกรมหรือระบบงานที่ต รงตามวัตถุประสงค์มากที่สุด นอกจากนี้เมื่อได้ระบบดังกล่าวแล้ว อาจต้องนํามาทดสอบกับผู้ใช้เหล่านี้อีกครั้ง เพื่อขอรับฟังข้อแนะนํารวมถึงการทดสอบปัญหาเบื้องต้น ซึ่งพอจะสรุปความสัมพันธ์ระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้งานได้ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ( Computer Operator/Computer Technician ) นักวิเคราะห์ระบบ ( System Analyst) นักเขียนโปรแกรม ( Programmer) วิศวกรซอฟต์แวร์ ( Software Engineer) ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก ( Network Administrator ) กลุ่มผู้บริหาร ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ( CIO-Chief Information Office ) หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ ( Computer Center Manager/Information Technology Manager) ข้อมูล (Data) หมายถึง ข่าวสาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของหรือเหตุการณ์ในรูปแบบของตัวเลข ภาพ ตัวอักษร และสัญลักษณ์ต่างๆ เช่นคะแนนสอบวิชาภาษาไทย ราคาสินค้า จํานวนนักเรียนในโรงเรียน
  • 3. & สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลต่างๆที่ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมีการประมวลผลหรือวิเคราะห์สรุปผลด้วยวิธีการต่างๆแล้วเก็ บรวบรวมไว้เพื่อนํามาใช้ประโยชน์ตามต้องการการประมวล(DataProcessing)เป็นการนําข้อมูลจากแหล่ งต่างๆที่เก็บรวบรวมไว้มาผ่านกระบวนการต่างๆเพื่อแปรสภาพข้อมูลให้เป็นระบบและอยู่ในรูปแบบที่ ต้องการ กระบวนการแปลงข้อมูล 1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล 2. การดําเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ 3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน หน่วยวัดความจุข้อมูล 1. บิต(bit)เป็นหน่วยที่มีขนาดเล็กที่สุดโดยจะถูกด้วยเลขฐานสองคือ 0 กับ 1 2. ไบต์(byte)โดย 1 ไบต์เท่ากับ 8 บิต จะใช้เเทนตัวอักษรใดๆ เช่น พยัญชนะ ตัวเลข เป็นต้น 3. กิโลไบต์(kilobyte;KB)มีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์ เทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1,000 ตัวหรือประมาณ 1 หน้ากระดาษ 4. เมกะไบต์(Megabyte;MB)มีค่าเท่ากับ 1,000 กิโลไบต์ หรือเทียบเท่า 1 ล้านไบต์ หรือประมาณหนังสือ 1 เล่ม 5. กิกะไบต์(Gigabyte;GB)บอกความจุข้อมูลของฮาร์ดดิสก์ USB DVD เป็นต้น โดยมีค่าประมาณ 1,000 เมกกะไบต์หรือเทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 พันล้านตัวหรือหนังสือที่บรรจุอยู่ในตู้หนังสือ 1 ตู้ 6. เทอราไบต์(Terabyte;TB)เป็นหน่วยวัดที่มีขนาดใหญ่มาก ปัจจุบบันมีเพียงอุปกรณ์จําพวกฮาร์ดดิสก์บางรุ่นเท่านั้น โดยมีค่าประมาณ 1,000 กิกะไบต์ หรือเทียบเท่าตัวอักษร 1 ล้านล้านตัว หรือ หนังสือทั้งหมดที่ถูกบรรจุอยู่ในห้องสมุด 1 ห้อง เพตาไบต์(Petabyte;PB)เป็นหน่วยความจุที่ใหญ่ที่สุด ไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน
  • 4. ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) – Keyboard (คีย์บอร์ด) เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนําข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นปุ่มตัวอักษรเหมือนปุ่มเครื่องพิมพ์ดีด เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะรับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทําการเปลี่ยน เป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลจะมีจํานวนตั้งแต่ 50 แป้นขึ้นไป แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มีแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก เพื่อทําให้การป้อนข้อมูลตัวเลขทําได้ง่ายและสะดวกขึ้น – Mouse (เมาส์)&Mouse เป็นอุปกรณ์ที่ทําหน้าที่ป้อนข้อมูลอย่างหนึ่งแต่ที่เห็นการทํางาน โดยทั่วไปจะเป็นตัวที่ใช้ควบคุมลูกศรให้เคลื่อนที่ไปยังตําแหน่งต่างๆ บนจอภาพ เหมาะสําหรับใช้งานเมื่อต้องเลือก หรือเลื่อนวัตถุต่างๆ บนจอ Mouse ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ได้ 2 แบบ ได้แก่ 9 Pin, Serial Port และ PS/2 (Personal System Version2) – Scanner (สแกนเนอร์)& สแกนเนอร์ คือ อุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพ จากรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้ ภาพนั้นอาจจะเป็นรูปถ่าย, ข้อความ, ภาพวาด หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ – Webcam (เว็บแคม) &เว็บแคมหรือชื่อเรียกเต็มๆว่า Web Camera (เว็บแคเมรา) แต่ในบางครั้งก็มีคนเรียกว่า Video Camera หรือ Video Conference เว็บแคมเป็นอุปกรณ์อินพุตที่ สามารถจับภาพเคลื่อนไหวของเราไปปรากฏในหน้าจอมอนิเตอร์ และสามารถส่งภาพเคลื่อนไหวนี้ผ่านระบบเครือข่ายเพื่อให้คนอีกฟากหนึ่งสามารถ เห็นตัวเราเคลื่อนไหว ได้เหมือนอยู่ต่อหน้า ถือว่าเป็นอุปกรณ์ที่มีประโยชน์อีกตัวหนึ่ง และมีความจําเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ – Microphone (ไมโครโฟน)& ไมโครโฟน คือ อุปกรณ์รับเสียงแล้วทําการแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อประมวลผลในเครื่องขยายเสียงหรืออุปกรณ์ผสมเสียงอื่นๆ ไมโครโฟนจะประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็กเป็นหลัก เมื่อเสียงกระทบตัวรับในไมโครโฟนจะทําให้ขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็ก จึงทําให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็นหลักการทํางานตรงข้ามกับลําโพง โดยทั่วไปไมโครโฟนใช้รับเสียงพูดหรือเสียงร้องเพลง – Touch screen (ทัชสกรีน) &ทัชสกรีน คือ จอภาพแบบสัมผัส ซึ่งเป็นจอภาพแบบพิเศษที่เป็นทั้งอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล และอุปกรณ์นําเข้าข้อมูล มักนําไปใช้กับธุรกิจร้านค้า โรงแรม สายการบิน พิพิธภัณฑ์ สถานบันเทิงคาราโอเกะ รวมถึงธุรกิจธนาคาร เช่น เครื่องเอทีเอ็ม ซึ่งผู้ใช้งานเพียงแต่นํานิ้วหรือใช้แท่งคล้ายดินสอหรือปากกา แตะ/กดลงบนตําแหน่งที่ต้องการบนจอภาพ กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ ระบบคอมพิวเตอร์ในการทํางานจริงจะมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่างองค์ประกอบแต่ละส่วนอยู่เ สมอ กิจกรรมความสัมพันธ์ต่างๆจะเริ่มตั้งแต่การนําข้อมูลเข้า(input)จนถึงขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์ที่ได้(output) องค์ประกอบต่างๆไม่ว่าจะเป็น ข้อมูล บุคลากร ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ จะมีความสัมพันธ์และทํางานเกี่ยวข้องกันทั้งหมด
  • 5. พื้นฐานการทํางานของคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนที่ 1 : รับข้อมูลเข้า (Input)เริ่มต้นด้วยการนําข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เช่น ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง ถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครื่องอ่านพิกัดภาพกราฟิค (Graphics Tablet) โดยมีปากกาชนิดพิเศษสําหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้านควบคุม (Joystick) สําหรับเคลื่อนตําแหน่งของการเล่นบนจอภาพ เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 : ประมวลผลข้อมูล (Process) เมื่อนําข้อมูลเข้ามาแล้ว เครื่องจะดําเนินการกับข้อมูลตามคําสั่งที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่&ต้องการ การประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่าง เช่น นําข้อมูลมาหาผลรวม นําข้อมูลมาจัดกลุ่ม นําข้อมูลมาหาค่ามากที่สุด หรือน้อยที่สุด เป็นต้น ขั้นตอนที่ 3 : แสดงผลลัพธ์ (Output)เป็นการนําผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ที่กําหนดไว้ โดยทั่วไปจะแสดงผ่านทางจ อภาพ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้ หน่วยประมวลผลกลาง 1. หน่วยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) หน่วยคํานวณตรรกะ ทําหน้าที่เหมือนกับเครื่องคํานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทํางานเกี่ยวข้องกับ การคํานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร นอกจากนี้หน่วยคํานวณและตรรกะของคอมพิวเตอร์ ยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคํานวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คําตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ เช่น เปรียบเทียบมากว่า น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน ของจํานวน 2 จํานวน เป็นต้น ซึ่งการเปรียบเทียบนี้มักจะใช้ในการเลือกทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทําตามคําสั่งใดของโปรแกรมเป็น คําสั่งต่อไป 2. หน่วยควบคุม (Control Unit) & หน่วยควบคุมทําหน้าที่คงบคุมลําดับขั้นตอนการการประมวลผลและการทํางานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายใน หน่วยประมวลผลกลาง และรวมไปถึงการประสานงานในการทํางานร่วมกันระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์นําเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจําสํารองด้วย เมื่อผู้ใช้ต้องการประมวลผล ตามชุดคําสั่งใด ผู้ใช้จะต้องส่งข้อมูลและชุดคําสั่งนั้น ๆ เข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์เสียก่อน โดยข้อมูล และชุดคําสั่งดังกล่าวจะถูกนําไปเก็บไว้ในหน่วยความจําหลักก่อน จากนั้นหน่วยควบคุมจะดึงคําสั่งจาก ชุดคําสั่งที่มีอยู่ในหน่วยความจําหลักออกมาทีละคําสั่งเพื่อทําการแปล ความหมายว่าคําสั่งดังกล่าวสั่งให้ ฮาร์ดแวร์ส่วนใด ทํางานอะไรกับข้อมูลตัวใด เมื่อทราบความหมายของ คําสั่งนั้นแล้ว หน่วยควบคุมก็จะส่ง
  • 6. สัญญาณคําสั่งไปยังฮาร์แวร์ ส่วนที่ทําหน้าที่ ในการประมวลผลดังกล่าว ให้ทําตามคําสั่งนั้น ๆ เช่น ถ้าคําสั่ง ที่เข้ามานั้นเป็นคําสั่งเกี่ยวกับการคํานวณ หน่วยควบคุมจะส่งสัญญาณ คําสั่งไปยังหน่วยคํานวณและตรรกะ ให้ทํางาน หน่วยคํานวณและตรรกะก็จะไปทําการดึงข้อมูลจาก หน่วยความจําหลักเข้ามาประมวลผล ตามคําสั่งแล้วนําผลลัพธ์ที่ได้ไปแสดงยังอุปกรณ์แสดงผล หน่วยคงบคุมจึงจะส่งสัญญาณคําสั่งไปยัง อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ ที่กําหนดให้ดึงข้อมูลจากหน่วยความจําหลัก ออกไปแสดงให้เห็นผลลัพธ์ดังกล่าว อีกต่อหนึ่ง 3. หน่วยความจําหลัก (Main Memory) & คอมพิวเตอร์จะสามารถทํางานได้เมื่อมีข้อมูล และชุดคําสั่งที่ใช้ในการประมวลผลอยู่ในหน่วยความ จําหลักเรียบร้อยแล้วเท่านั้น และหลักจากทําการประมวลผลข้อมูลตามชุดคําสั่งเรียบร้อบแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ จะถูกนําไปเก็บไว้ที่หน่วยความจําหลัก และก่อนจะถูกนําออกไปแสดงที่อุปกรณ์แสดงผล หน่วยความจําหลัก 1. แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจําที่เก็บข้อมูลสําหรับใช้งานทั่วไป การอ้างอิงตําแหน่งที่อยู่ของข้อมูลใดๆ เพื่อการเขียนและการอ่านจะกระทําแบบการเข้าถึงโดยสุ่มคือ เรียกไปที่ตําแหน่งที่อยู่ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจํานี้เรียกว่า แรม หน่วยความจําประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่มี กระแสไฟฟ้ายังจ่ายให้วงจร หากไฟฟ้าดับเมื่อใด ข้อมูลก็จะสูญหายทันที 2. รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจําอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิงตําแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึง โดยสุ่มหน่วยความจําประเภทนี้มีไว้เพื่อบรรจุโปรแกรมสําคัญบางอย่าง เพื่อว่าเมื่อเปิดเครื่องมา ซีพียูจะเริ่มต้นทํางาน ได้ทันทีข้อมูลหรือโปรแกรมที่เก็บไว้ในรอมจะถูกบันทึกมาก่อนแล้ว ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลได้ แต่ไม่สามารถเขียนข้อ มูลใดๆลงไปได้ซึ่งข้อมูลหรือโปรแกรมที่อยู่ในรอมนี้จะอยู่อย่างถาวร แม้จะปิดเครื่องข้อมูลหรือโปรแกรมก็จะไม่ถูกล บไป หน่วยความจําสํารอง 1. แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette) 2. ฮาร์ดดิสก์ (harddisk) 3. เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) 4. แผ่นซีดี (Compact Disk : CD )
  • 7. หน่วยรับข้อมูล หน่วยรับข้อมูล หรือ หน่วยนําเข้าข้อมูล เป็นหน่วยเริ่มต้นในการทํางานของคอมพิวเตอร์ เพราะ มีหน้าที่ในการนําข้อมูลหรือคําสั่งต่างๆ เข้าไปในระบบการทํางานของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับข้อมูลของหน่วยรับข้อ มูล มีหลายชนิด เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน จอยสติก จอสัมผัส แต่ทุกชนิดทําหน้าที่ รับข้อมูลหรือคําสั่ง เข้าสู่ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร์ เหมือนกัน อุปกรณ์ของหน่วยรับข้อมูล แต่ละชนิดมีวิธีการนําเข้าข้อมูล หรือรับคําสั่ง ตลอดจนลักษณะของรูปแบบข้อมูลที่นําเข้าต่างกัน หน่วยแสดงผล แสดงผลทางบนจอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ในรูปตัวอักษร ตัวเลข ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวได้ในขณะที่เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถเห็นผลลัพธ์ได้ จอภาพอาจเรียกว่าหน่วยแสดงผลชั่วคราว จอภาพที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีหลายชนิด 1. 2. แสดงผลทางเครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ (printer) เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์ในรูปข้อมูล รายงาน รูปภาพ ลงบนกระดาษ ซึ่งสามารถสัมผัสและเก็บรักษาไว้ได้นาน เครื่องพิมพ์อาจเรียกว่า หน่วยแสดงผลถาวร ในปัจจุบันเครื่องพิมพ์มีหลายชนิด ลำโพง ลําโพง (speaker) เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์รูปแบบเสียง ซึ่งส่วนใหญ่จะให้มาพร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ทางเดินระบบ(SystemBus) &เส้นทางผ่านของสัญญาณเพื่อให้อุปกรณ์ระหว่างหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจําในระบบสามารถเชื่อมต่อกั นได้เปรียบกับถนนที่ให้รถยนต์วิ่งไปยังสถานที่ใดที่หนึ่ง หากถนนกว้างหรือมีมากเท่าใด การส่งข้อมูลต่อครั้งก็ยิ่งเร็วและมากขึ้นเท่านั้นจํานวนเส้นทางที่ใช้วิ่งบนทางเดินระบบ เรียกว่า บิต (เปรียบเทียบได้กับเลนบนถนน)& วงรอบการทํางานของซีพียู เวลาคําสั่งงานและเวลาปฎิบัติการช่วง I-Time (Instruction Time) หรือเวลาคําสั่งงานอยู่ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 (Fetch และ Decode) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดึงเอาคําสั่งและแปลความหมายเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทํางานตามต้องการช่วง E-Time (Execution Time) หรือเวลาปฏิบัติการอยู่ขั้นตอนที่ 3 และ 4 (Execute และ Store) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการคํานวณและนําผลลัพธ์ไปเก็บเพื่อรอให้เรียกใช้