SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ความหลากหลายทางชีวภาพ ( Biological Diversity )
ความหลากหลายทางชีวภาพ ( Biological Diversity ) หมายถึง การมีชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลากหลาย
ชนิดมาอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่งซึ่งสามารถจัดแบ่งความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ได้เป็น3 ลักษณะ คือ
1.ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ( species diversity ) หมายถึงความหลากหลายของชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มี
อยู่ในพื้นที่หนึ่งๆนักชีววิทยาวัดความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต โดยดูจาก 2 ลักษณะ คือ
1.1. ความมากชนิด (species richness) หมายถึง จานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตต่อหน่วยเนื้อที่ เช่น
ประเทศเมืองหนาวในพื้นที่หนึ่งๆมีต้นไม้อยู่ประมาณ 1 – 5 ชนิด ขณะที่ป่าในประเทศเขตร้อนในพื้นที่เท่ากัน
มีต้นไม้นับร้อยชนิด เป็นต้น
1.2. ความสม่าเสมอของชนิด (species eveness) หมายถึง สัดส่วนของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศหนึ่ง ๆดังนั้น
ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์จึงสามารถวัดได้จากจานวนของสิ่งมีชีวิตและจานวนประชากรของสิ่งมีชีวิตแต่
ละชนิดรวมถึงโครงสร้างของอายุและเพศของประชากรด้วยความหลากหลายของชนิดพันธุ์จะแตกต่างกันไป
ตามพื้นที่พื้นที่ที่อยู่ในเขตร้อน(tropics) และในทะเลลึกจะมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์สูงและความ
หลากหลายของชนิดจะลดลงในพื้นที่ที่มีความผันแปรของอากาศสูง เช่นในทะเลทรายหรือขั้วโลก หรืออาจ
กล่าวได้ว่าในบริเวณเขตร้อนในแถบละติจูดต่า(low lattitude) ใกล้เส้นศูนย์สูตรจะมีความหลากหลายของ
ชนิดพันธุ์สูงและจะลดลงเมื่ออยู่ในแถบละติจูดสูง (high lattitude)
2.ในระบบนิเวศหนึ่งๆ จะประกอบด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด แม้ในสิ่งมีชีวิตเดียวกันก็ยังมีความ
หลากหลายทางพันธุกรรมที่ทาให้เกิดสายพันธุ์ต่างๆ อันเป็นรากฐานสาคัญที่เอื้ออานวยให้สิ่งมีชีวิตสามารถ
ดารงชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถ
ดารงเผ่าพันธุ์ได้สืบไปความหลากหลายของพันธุกรรม ( genetic diversity ) หมายถึงความหลากหลายของ
หน่วยพันธุกรรมหรือยีน(genes) ที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันอาจมียีนแตกต่างกันไป
ตามสายพันธุ์เช่น ข้าวซึ่งมีสายพันธุ์มากมายหลายพันชนิด เป็นต้น
ความแตกต่างผันแปรทางพันธุกรรมในแต่ละหน่วยชีวิตมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม
(mutation)อาจเกิดขึ้นในระดับยีน หรือในระดับโครโมโซมผสมผสานกับการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ซึ่ง
เกิดขึ้นตามธรรมชาติได้น้อยมาก และเมื่อลักษณะดังกล่าวถูกถ่ายทอดไปยังรุ่นลูก จะทาให้เกิดความหลากหลาย
ทางพันธุกรรม เช่นแมวที่มีลักษณะรูปร่างหลากหลายที่แตกต่างกัน เป็นต้น
3.ความหลากหลายของระบบนิเวศ ( ecolosystem diversity ) หมายถึง สภาวะแวดล้อมที่เป็นแหล่งที่อยู่
อาศัยของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆรวมไปถึงสิ่งไม่มีชีวิตอื่น ๆ
ซึ่งจัดเป็นปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น ดิน น้าเป็นต้นระบบนิเวศแต่ละระบบเป็น
แหล่งของถิ่นที่อยู่อาศัย(habitat)ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆซึ่งมีปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพที่เหมาะสมกับ
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในระบบนิเวศนั้นสิ่งมีชีวิตบางชนิดมีวิวัฒนาการมาในทิศทางที่สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ใน
ระบบนิเวศที่หลากหลายแต่บางชนิดก็อยู่ได้เพียงระบบนิเวศที่มีภาวะเฉพาะเจาะจงเท่านั้นความหลากหลาย
ของระบบนิเวศขึ้นอยู่กับชนิดและจานวนประชากรของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ
แหล่งอ้างอิง :
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/19/biodiversity/web/
topic1.html น.ส.ขวัญกมล วงศ์ตา
เลขที่31 ชั้น ม.6/6

More Related Content

What's hot

ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศSaran Srimee
 

What's hot (18)

ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
Envi lecture8[2]
Envi lecture8[2]Envi lecture8[2]
Envi lecture8[2]
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
Diver plantae
Diver plantaeDiver plantae
Diver plantae
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 

Similar to ความหลากหลายทางชีวภาพ

ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
นิเวศวิทยา (Ecology)
นิเวศวิทยา (Ecology)นิเวศวิทยา (Ecology)
นิเวศวิทยา (Ecology)pitsanu duangkartok
 

Similar to ความหลากหลายทางชีวภาพ (7)

ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
ใบความรู้ที่ 3.1
ใบความรู้ที่ 3.1ใบความรู้ที่ 3.1
ใบความรู้ที่ 3.1
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
นิเวศวิทยา (Ecology)
นิเวศวิทยา (Ecology)นิเวศวิทยา (Ecology)
นิเวศวิทยา (Ecology)
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 

More from Szo'k JaJar

โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟนโครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟนSzo'k JaJar
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSzo'k JaJar
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSzo'k JaJar
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSzo'k JaJar
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSzo'k JaJar
 
งานคอม เตย ส บ-ว แก_ใหม_.pdf-----
งานคอม เตย ส บ-ว แก_ใหม_.pdf-----งานคอม เตย ส บ-ว แก_ใหม_.pdf-----
งานคอม เตย ส บ-ว แก_ใหม_.pdf-----Szo'k JaJar
 
ข้อสอบ51
ข้อสอบ51ข้อสอบ51
ข้อสอบ51Szo'k JaJar
 
ข้อสอบ51
ข้อสอบ51ข้อสอบ51
ข้อสอบ51Szo'k JaJar
 
เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52Szo'k JaJar
 
เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52Szo'k JaJar
 
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทสำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทSzo'k JaJar
 
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทสำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทSzo'k JaJar
 
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 9 - 16
โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 9 - 16โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 9 - 16
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 9 - 16Szo'k JaJar
 

More from Szo'k JaJar (20)

โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟนโครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
โครงงานสำรวจการใช สมาร ทโฟน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานคอม เตย ส บ-ว แก_ใหม_.pdf-----
งานคอม เตย ส บ-ว แก_ใหม_.pdf-----งานคอม เตย ส บ-ว แก_ใหม_.pdf-----
งานคอม เตย ส บ-ว แก_ใหม_.pdf-----
 
ข้อสอบ51
ข้อสอบ51ข้อสอบ51
ข้อสอบ51
 
51
5151
51
 
ข้อสอบ51
ข้อสอบ51ข้อสอบ51
ข้อสอบ51
 
เฉลย51
เฉลย51เฉลย51
เฉลย51
 
เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52
 
52
5252
52
 
เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52
 
เฉลย53
เฉลย53เฉลย53
เฉลย53
 
53
5353
53
 
เฉลย54
เฉลย54เฉลย54
เฉลย54
 
54
5454
54
 
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทสำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
 
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทสำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
 
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 9 - 16
โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 9 - 16โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 9 - 16
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 9 - 16
 

ความหลากหลายทางชีวภาพ

  • 1. ความหลากหลายทางชีวภาพ ( Biological Diversity ) ความหลากหลายทางชีวภาพ ( Biological Diversity ) หมายถึง การมีชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลากหลาย ชนิดมาอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่งซึ่งสามารถจัดแบ่งความหลากหลายทาง ชีวภาพ ได้เป็น3 ลักษณะ คือ 1.ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ( species diversity ) หมายถึงความหลากหลายของชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มี อยู่ในพื้นที่หนึ่งๆนักชีววิทยาวัดความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต โดยดูจาก 2 ลักษณะ คือ 1.1. ความมากชนิด (species richness) หมายถึง จานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตต่อหน่วยเนื้อที่ เช่น ประเทศเมืองหนาวในพื้นที่หนึ่งๆมีต้นไม้อยู่ประมาณ 1 – 5 ชนิด ขณะที่ป่าในประเทศเขตร้อนในพื้นที่เท่ากัน มีต้นไม้นับร้อยชนิด เป็นต้น 1.2. ความสม่าเสมอของชนิด (species eveness) หมายถึง สัดส่วนของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศหนึ่ง ๆดังนั้น ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์จึงสามารถวัดได้จากจานวนของสิ่งมีชีวิตและจานวนประชากรของสิ่งมีชีวิตแต่ ละชนิดรวมถึงโครงสร้างของอายุและเพศของประชากรด้วยความหลากหลายของชนิดพันธุ์จะแตกต่างกันไป ตามพื้นที่พื้นที่ที่อยู่ในเขตร้อน(tropics) และในทะเลลึกจะมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์สูงและความ หลากหลายของชนิดจะลดลงในพื้นที่ที่มีความผันแปรของอากาศสูง เช่นในทะเลทรายหรือขั้วโลก หรืออาจ
  • 2. กล่าวได้ว่าในบริเวณเขตร้อนในแถบละติจูดต่า(low lattitude) ใกล้เส้นศูนย์สูตรจะมีความหลากหลายของ ชนิดพันธุ์สูงและจะลดลงเมื่ออยู่ในแถบละติจูดสูง (high lattitude) 2.ในระบบนิเวศหนึ่งๆ จะประกอบด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด แม้ในสิ่งมีชีวิตเดียวกันก็ยังมีความ หลากหลายทางพันธุกรรมที่ทาให้เกิดสายพันธุ์ต่างๆ อันเป็นรากฐานสาคัญที่เอื้ออานวยให้สิ่งมีชีวิตสามารถ ดารงชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถ ดารงเผ่าพันธุ์ได้สืบไปความหลากหลายของพันธุกรรม ( genetic diversity ) หมายถึงความหลากหลายของ หน่วยพันธุกรรมหรือยีน(genes) ที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันอาจมียีนแตกต่างกันไป ตามสายพันธุ์เช่น ข้าวซึ่งมีสายพันธุ์มากมายหลายพันชนิด เป็นต้น ความแตกต่างผันแปรทางพันธุกรรมในแต่ละหน่วยชีวิตมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม (mutation)อาจเกิดขึ้นในระดับยีน หรือในระดับโครโมโซมผสมผสานกับการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ซึ่ง เกิดขึ้นตามธรรมชาติได้น้อยมาก และเมื่อลักษณะดังกล่าวถูกถ่ายทอดไปยังรุ่นลูก จะทาให้เกิดความหลากหลาย ทางพันธุกรรม เช่นแมวที่มีลักษณะรูปร่างหลากหลายที่แตกต่างกัน เป็นต้น 3.ความหลากหลายของระบบนิเวศ ( ecolosystem diversity ) หมายถึง สภาวะแวดล้อมที่เป็นแหล่งที่อยู่ อาศัยของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆรวมไปถึงสิ่งไม่มีชีวิตอื่น ๆ
  • 3. ซึ่งจัดเป็นปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น ดิน น้าเป็นต้นระบบนิเวศแต่ละระบบเป็น แหล่งของถิ่นที่อยู่อาศัย(habitat)ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆซึ่งมีปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพที่เหมาะสมกับ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในระบบนิเวศนั้นสิ่งมีชีวิตบางชนิดมีวิวัฒนาการมาในทิศทางที่สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ใน ระบบนิเวศที่หลากหลายแต่บางชนิดก็อยู่ได้เพียงระบบนิเวศที่มีภาวะเฉพาะเจาะจงเท่านั้นความหลากหลาย ของระบบนิเวศขึ้นอยู่กับชนิดและจานวนประชากรของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ แหล่งอ้างอิง : http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/19/biodiversity/web/ topic1.html น.ส.ขวัญกมล วงศ์ตา เลขที่31 ชั้น ม.6/6