SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
เนื่องจากคนไทยส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกรและแน่นอนว่าเกษตรกร
เหล่านั้นจะประสบปัญหาเกี่ยวกับพืชซึ่งจะสร้างความเสียหายแก่ผลผลิต เกษตรกรจึงนิยม
ไปใช้วิธีการกาจัดพืชโดยใช้สารเคมีและไม่ได้คานึงถึงผลเสียที่จะตามมา คณะผู้จัดทาจึงได้
เลือกที่จะศึกษากระบวนการควบคุมโดยชีววิธีเพื่อนาข้อมูลที่ได้มาประยุกต์และเผยแพร่
ให้กับเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจ การควบคุมโดยชีววิธีเป็นการจัดการศัตรูพืชให้อยู่ในปริมาณที่
ไม่ก่อให้เกิดให้เกิดความเสียหายโดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ป็นศัตรูพืชที่เรียกว่าศัตรูธรรมชาติ ศึกษา
เกี่ยวกับความหมายของการควบคุมโดยชีววิธี ขั้นตอนการทา ประเภทของการควบคุม
ศัตรูพืชสาเหตุที่ใช้การควบคุมโดยชีววิธี ข้อดีของการควบคุมโดยชีววิธี รวมไปถึงกรณี
ตัวอย่างการควบคุมโดยชีววิธี
การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี คือ การจัดการศัตรูพืช ให้อยู่ในปริมาณที่ก่อให้เกิด
ความเสียหาย โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่เป็นศัตรูของศัตรูพืช ที่เรียกว่า ศัตรูธรรมชาติ ได้แก่ ตัวห้า
ตัวเบียนและเชื้อจุลินทรีย์ ศัตรูธรรมชาติ เป็นองค์ประกอบสาคัญในห่วงโซ่อาหาร มีการ
ดารงชีวิตด้วยการเป็นผู้ล่า(Predator) ผู้เบียดเบียน(Parasite) หรือเป็นเชื้อโรค (Pathogen)
ศัตรูธรรมชาติเป็น สิ่งมีชีวิตที่เกิดและดารงชีวิตอยู่ด้วยการกิน หรืออาศัยศัตรูพืชอื่นๆ ท้าให้
ศัตรูพืชตายก่อนอายุขัย ศัตรูธรรมชาติมีบทบาทสาคัญในการควบคุมศัตรูพืช เพราะจะเป็น
ผู้ล่าและผู้เบียดเบียนจะหาอาหารซึ่งก็คือศัตรูพืช ไม่ว่าจะหลบซ่อนที่ใดกระบวนการล่า
เหยื่อของศัตรูธรรมชาติจึง ถือเป็นกลไกที่สาคัญยิ่ง ในการท้าให้เกิดสมดุลทางธรรมชาติ
ศัตรูธรรมชาติมีปริมาณมากกว่าศัตรูพืช 5-6 เท่า
การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี(Biological Control)
โดยใช้ตัวห้า (predators)
ตัวห้า (predators) คือ สัตว์หรือแมลงชนิดใดชนิดหนึ่งที่กินสัตว์
หรือแมลงอื่นหรือที่เรียกว่า “เหยื่อ (prey)” เป็นอาหารโดยทั่วไปตัวห้า
จะมีขนาดใหญ่และแข็งแรงกว่าเหยื่อ และจะทาให้เหยื่อตายในเวลา
อันรวดเร็วตัวห้า 1 ตัว สามารถกินเหยื่อได้หลายตัว และหลายชนิด
อีกทั้งยังสามารถกินเหยื่อได้ทุกระยะการเจริญเติบโต ตั้งแต่ไข่ ตัวอ่อน
หรือหนอน ดักแด้และตัวเต็มวัย
ตัวเบียน (parasites หรือ parasitoids) คือ สัตว์หรือแมลงขนาดเล็กที่ดารงชีวิตอยู่
ได้ด้วย การเกาะกินอยู่บนหรือแมลงอาศัย (hosts) ชนิดอื่นที่มีขนาดใหญ่กว่า ทาให้สัตว์
หรือแมลงอาศัยนั้น อ่อนแอและตายในที่สุดตัวเบียนจะสามารถเข้าทาลายและ
เจริญเติบโตได้ในทุกระยะของสัตว์หรือแมลงอาศัย คือ ทั้งไข่ตัวอ่อนหรือหนอน ดักแด้
และตัวเต็มวัย ตัวเบียน 1 ตัว ต้องการสัตว์หรือแมลงอาศัยเพียงตัวเดียวในการ
เจริญเติบโตจนครบวงจรชีวิตของมัน (ตั้งแต่ระยะไข่จนถึงตัวเต็มวัย) และเฉพาะตัวเบียน
เพศเมียเท่านั้นที่จะทาลายสัตว์หรือแมลงอาศัยโดยการใช้อวัยวะวางไข่(ovipositor) ของ
มันแทงลงในหรือบนตัวสัตว์หรือแมลงอาศัย
นางสาวสุชาดา สินไชย เลขที่41
นางสาวอภิสรา บุญมณี เลขที่ 42
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/7

More Related Content

Similar to งานนำเสนอ1

บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
kasetpcc
 
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
nattieboice
 

Similar to งานนำเสนอ1 (12)

Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfคู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
 
เกษตรประยุกต์
เกษตรประยุกต์เกษตรประยุกต์
เกษตรประยุกต์
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
9789740328681
97897403286819789740328681
9789740328681
 
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
 
MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)
 
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
 

งานนำเสนอ1