SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
 
[object Object],ที่มาและความสำคัญ
ผู้จัดทำโครงงานจึงมีความสนใจในการจัดทำโครงงานสำรวจแบคทีเรียที่สร้างเอนไซม์ไคตินเนสในดินป่าชายเลน บริเวณจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่ค่อยมีนักวิจัยเข้าไปทำการศึกษามากนัก เพื่อสำรวจกลุ่มแบคทีเรียที่สร้างเอนไซม์ไคตินเนสตามปัจจัยการเจริญเติบโต โดยผลจากการสำรวจจะสามารถนำไปเป็นฐานข้อมูลสำหรับการพัฒนาระบบนิเวศของป่าชายเลนอย่างยั่งยืนในอนาคต
[object Object],[object Object],[object Object],วัตถุประสงค์ของโครงงาน
วิธีการทดลอง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ขั้นตอนที่  1  การเก็บตัวอย่างดิน
[object Object],[object Object],[object Object],ขั้นตอนที่  2  การละลายดินและเตรียมเชื้อ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ขั้นตอนที่   3  การเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ   Chitin Medium
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ขั้นตอนที่   4  การเพาะเชื้อและแยกเชื้อบริสุทธิ์
[object Object],[object Object],[object Object],แบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายไคตินได้จะทำให้เกิดวงใสใน  2  วัน  ขณะที่แบคทีเรียชนิดอื่นๆจะใช้เวลา  8-10  วัน แบคทีเรียเหล่านี้จะเจริญในอาหารนี้เช่นกัน แต่ไม่ทำให้เกิดวงใสที่สังเกตได้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ขั้นตอนที่  6  การศึกษาลักษณะเชื้อแบคทีเรีย และสรุปผล
ผลการทดลอง
การสำรวจปัจจัยทางกายภาพบริเวณที่เก็บตัวอย่างดิน เศษใบไม้ และเศษกิ่งไม้ ต่ำ สีดำ เนื้อเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ชุ่มน้ำ มีต้นแสมขาวและไม้พุ่มเตี้ย บริเวณ  D หินขนาดเล็ก ,   ใบไม้ ปานกลาง สีดำ เนื้อเป็นดินร่วน ชุ่มน้ำ จับตัวเป็นก้อน มีต้นแสมขาวและไม้พุ่มเตี้ย บริเวณ  C เศษใบไม้ ปานกลาง สีน้ำตาลดำ เป็นดินร่วนปนดินเหนียว บางส่วนจับตัวกันเป็นก้อน มีต้นแสมและโกงกางขึ้นหนาแน่น น้ำทะเลท่วมถึง บริเวณ  B เศษใบไม้และ กิ่งไม้ ค่อนข้างต่ำ สีน้ำตาลดำ เป็นดินร่วนปนดินเหนียว ค่อนข้างละเอียด ชุ่มน้ำ มีต้นแสมและโกงกางขึ้นหนาแน่น น้ำทะเลท่วมถึง บริเวณ  A สิ่งเจือปนที่สังเกตได้ ความร่วนซุย สี เนื้อดิน ลักษณะของดิน สภาพพื้นที่โดยทั่วไป บริเวณ / ปัจจัย
การสำรวจปัจจัยทางชีวภาพบริเวณที่เก็บตัวอย่างดิน 27.5±0.50 27.5 28.0 27.0 8.17±0.06 8.15 8.22 8.11 50 บริเวณ  D 27.83±0.76 28.5 27.0 28.0 8.06±0.03 8.06 8.08 8.02 50 บริเวณ  C 30.2±1.04 30.5 29.0 31.0 7.92±0.04 7.96 7.93 7.88 20 บริเวณ  B 29.5±0.50 29.0 30.0 29.5 7.98±0.01 7.98 7.97 7.98 20 บริเวณ  A ค่าเฉลี่ย ครั้งที่  3 ครั้งที่  2 ครั้งที่  1 ค่าเฉลี่ย ครั้งที่  3 ครั้งที่  2 ครั้งที่  1 ค่าอุณหภูมิ  ( องศาเซลเซียส ) ความเป็นกรดด่างบริเวณดิน  ( ค่า  pH ) ระยะทางจากระดับน้ำทะเลลงต่ำสุด  ( เมตร ) บริเวณ / ปัจจัย
การเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียที่ได้จากดินตัวอย่างบริเวณ  A 1.  โคโลนีกลม ขนาดเล็กมาก สีขาว สามารถสังเกตได้ 10 -9 ,[object Object],[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -7 1.  โคโลนีกลม เป็นแผ่นบาง มีสีขาวใส 2.  โคโลนีแบบกิ่งไม้ แผ่กระจายเป็นบริเวณกว้าง มีสีเนื้ออ่อน 3.  โคโลนีกลม ขนาดเล็ก มีสีเหลืองใส  4.  โคโลนีรูปวงรี ขนาดเล็ก มีสีขาวขุ่น สามารถสังเกตได้ 10 -5 ,[object Object],[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -3 ลักษณะโคโลนีที่สังเกตได้ การเจริญของแบคทีเรีย ความเข้มข้น g/ml
การเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียที่ได้จากดินตัวอย่างบริเวณ  B ,[object Object],[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -9 1.  โคโลนีรูปกิ่งไม้ แผ่กระจายเป็นบริเวณกว้าง สีขาวขุ่น สามารถสังเกตได้ 10 -7 ,[object Object],[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -5 ,[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -3 ลักษณะโคโลนีที่สังเกตได้ การเจริญของ แบคทีเรีย ความเข้มข้น g/ml
การเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียที่ได้จากดินตัวอย่างบริเวณ  C ,[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -9 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -7 ,[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -5 1.  โคโลนีกลม ขนาดเล็ก มีสีเหลืองใส สามารถสังเกตได้ 10 -3 ลักษณะโคโลนีที่สังเกตได้ การเจริญของ แบคทีเรีย ความเข้มข้น g/ml
การเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียที่ได้จากดินตัวอย่างบริเวณ  D ,[object Object],[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -9 1.  โคโลนีรูปพัด ตรงกลางของโคโลนีมีสีเข้มกว่ารอบนอก สีขาว สามารถสังเกตได้ 10 -7 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -5 ,[object Object],[object Object],สามารถสังเกตได้ 10 -3 ลักษณะโคโลนีที่สังเกตได้ การเจริญของ แบคทีเรีย ความเข้มข้น g/ml
ภาพที่  4.8-4.9 :  ภาพโคโลนีของแบคทีเรียจากแหล่งดินตัวอย่าง  A  ที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ  NA  ที่ระดับความเข้มข้น  10 -3   และ  10 -7  g/ml   ภาพที่  4.10 -4.11 :  ภาพ โคโลนีของแบคทีเรียจากแหล่งดินตัวอย่าง  B   ที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ  NA  ที่ระดับความเข้มข้น  10 -7   และ  10 -9  g/ml
ภาพที่  4.12 -4.13 :  ภาพโคโลนีของแบคทีเรียจากแหล่งดินตัวอย่าง  C  ที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ  NA  ที่ระดับความเข้มข้น  10 -5   และ  10 -7  g/ml   ภาพที่  4.14 -4.15 :  ภาพโคโลนีของแบคทีเรียจากแหล่งดินตัวอย่าง  D   ที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ  NA  ที่ระดับความเข้มข้น  10 -5   และ  10 -9  g/ml
การตรวจหาเชื้อแบคทีเรียที่สร้างเอนไซม์ไคตินเนส  ในดินตัวอย่างโดยการเลี้ยงเชื้อบน  Chitin Medium ภาพที่  4.16 –   4.19  :  ภาพโคโลนีของแบคทีเรียที่ได้จากการเลี้ยงเชื้อบนอาหาร  chitin medium
การติดสีแกรมและลักษณะใต้กล้องจุลทรรศน์  ของแบคทีเรียที่สร้างเอนไซม์ไคตินเนส ,[object Object]
สรุปผลการศึกษา
การสำรวจปัจจัยทางกายภาพ ,[object Object],[object Object]
การสำรวจปัจจัยทางชีวภาพ ,[object Object]
เมื่อนำตัวอย่างดินจากแต่ละจุดมาทดสอบหาเชื้อแบคทีเรียที่สร้างเอนไซม์ไคตินเนส ด้วยการละลายดิน  ( Serial Dilution )  และ การเลี้ยงเชื้อบนอาหารเลี้ยงเชื้อ  Nutrient Agar  ( NA )  พบว่าในการเลี้ยงเชื้อบน  NA  สามารถสังเกตเห็นการเจริญของเชื้อบนถาดเพาะเชื้อจำนวนมากในการละลายดินทุกความเข้มข้น  ( ความเข้มข้นตั้งแต่  10 -3 , 10 -5 , 10 -7   และ   10 -9  )  โดยพบว่าเชื้อที่เจริญมีความหลากหลายมาก และเชื้อส่วนใหญ่มีโคโลนีลักษณะกลม เป็นรูปพัดหรือรูปกิ่งไม้ การเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียที่ได้จากดินตัวอย่าง
เมื่อนำเชื้อที่สามารถสังเกตเห็นการเจริญของโคโลนี อย่างเด่นชัดบน  NA  ไปเพาะเลี้ยงบน  Chitin Medium  เพื่อทดสอบการสร้างเอนไซม์ไคตินเนส พบว่า เชื้อตัวอย่างที่นำไปเลี้ยงบน  Chitin Medium  ส่วนใหญ่สามารถเจริญได้ดี มีการสร้างโคโลนีตามลักษณะเฉพาะของเชื้อแต่ละชนิดที่สามารถสังเกตได้ใน  1-2  วัน แต่เมื่อเลี้ยงเชื้อไปเป็นระยะเวลาประมาณ  1  สัปดาห์พบว่า เชื้อแบคทีเรียที่ได้จากการละลายดินตัวอย่าง ไม่เกิด วงใส  ( Clear Zone )  รอบโคโลนีที่สามารถสังเกตได้ตามที่ได้คาดการณ์ไว้จากการศึกษาเอกสารอ้างอิง การติดสีแกรมและลักษณะใต้กล้องจุลทรรศน์  ของแบคทีเรียที่สร้างเอนไซม์ไคตินเนส
จากการสำรวจแบคทีเรียที่สร้างเอนไซม์ไคตินเนสในดินตัวอย่างจากป่าชายเลนไม่พบว่า มีแบคทีเรียที่สร้างเอนไซม์ไคตินเนสและทำให้เกิดวงใสที่สังเกตได้บน   Chitin Medium  จึงไม่สามารถทำการทดสอบการติดสีแกรมและการสังเกตลักษณะใต้กล้องจุลทรรศน์ของแบคทีเรียกลุ่มดังกล่าวได้ ซึ่งจากการศึกษาค้นคว้าพบว่า สาเหตุที่คาดว่าจะทำให้ไม่พบแบคทีเรียที่สร้างเอนไซม์ไคตินเนสและทำให้เกิดวงใสที่สังเกตได้บน   Chitin Medium   มีดังต่อไปนี้
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
เอกสารอ้างอิง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

Viewers also liked (8)

อาการกลากเกลื้อน
อาการกลากเกลื้อนอาการกลากเกลื้อน
อาการกลากเกลื้อน
 
Biochemical Oxygen Demand Test
 Biochemical  Oxygen  Demand  Test  Biochemical  Oxygen  Demand  Test
Biochemical Oxygen Demand Test
 
Definitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionDefinitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infection
 
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อการทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
 
Disease monitoring in wheat through remotely sensed data
Disease monitoring in wheat through remotely sensed dataDisease monitoring in wheat through remotely sensed data
Disease monitoring in wheat through remotely sensed data
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Trichophyton and Epidermophyton
Trichophyton and EpidermophytonTrichophyton and Epidermophyton
Trichophyton and Epidermophyton
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 

Science project