SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
CASE STUDY 3
นสพ.จิรภัทร มาศิริ 57050030 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์
นสพ.ชญานนท์ ศรีใจอินทร์ 57050052 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์
นสพ.พิจิตรา จันทร์เจนจบ 57050086 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์
นสพ.อิสรีย์ สัสสินทร 57050131 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์
นสพ.กัญญาภัค มินรินทร์ 57351966 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์
นสพ.โกวิท ประทุมศรี 58050266 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์
นสพ.ชวัลวิทย์ กิจวัฒนานันท์ 58050323 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์
นสพ.นิรันดร์ ศรีชู 58050334 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์
นสพ.อัมรินทร์ วิชิตพันธ์ 58050367 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์
CASE STUDY 3
5-year-old
boy
cervical lymphadenopathy , scalp scaling ,
patchy alopecia
6 weeks earlier • slight pruritus
• dandruff-like scaling of the
scalp
• crusting of the skin
• black-dotted broken hair
follicles scattered
throughout the scalp
acute bacterial
cellulitis
cephalexin
worsening symptom
14
day
dicloxacillin
2% mupirocin ointment
refractory to
Antimicrobial
therapy
multiple open
painful
pus-filled
DIFFERENTIAL DIAGNOSIS
ผู้ป่วยมารับการรักษาโดยมีอาการดังนี้
1. มีอาการคันเล็กน้อยที่ศีรษะ
2. มีรังแคที่หนังศีรษะเป็นสะเก็ด
3. หนังศีรษะมีคราบ
4. มีผมเสียเป็นกระจุกบนหนังศีรษะ
โรคที่เข้าข่ายอาการดังกล่าว
Tinea capitis Seborrheic
dermatitis
Atopic
dermatitis
Psoriasis
กลากที่ศีรษะ
เป็นการติดเชื้อราที่ราก
ผม และเส้นผม เกิดจาก
เชื้อราที่เรียกว่า
Tricophyton และ
Microsporum
เป็นโรคผิวหนังอักเสบ
เรื้อรัง
มักจะเป็นบริเวณศีรษะ
ลาตัวโดยเฉพาะบริเวณ
ที่มีต่อมไขมัน
มาก สาเหตุยังไม่
ชัดเจน แต่เชื่อว่าเกิด
จากเชื้อรา
เป็นโรคผิวหนัง
อักเสบเรื้อรังชนิด
หนึ่ง
โรคสะเก็ดเงินเป็นโรค
ผิวหนังอักเสบเรื้อรัง
อาการผื่นผิวหนัง
เป็นได้หลายรูปแบบที่
พบบ่อย คือ ผิวหนัง
อักเสบเป็นปื้นแดง
ลอกเป็นขุย
DIFFERENTIAL DIAGNOSIS
DIFFERENTIAL DIAGNOSIS
Diagnos
is
Tinea capitis หนังศีรษะบวมนูน คัน มีตุ่มหนอง ผมร่วง
Seborrheic dermatitis ลักษณะหนังศีรษะมีขุย
และสะเก็ดที่หนังศีรษะ ผมไม่ร่วง
Atopic dermatitis ลักษณะหนังศีรษะมีขุย ผื่นแดง
คัน ผมไม่ร่วง
Psoriasis มีสะเก็ดที่หนังศีรษะ ผิวหนังแดง ผมไม่ร่วง
ในตอนแรกแพทย์คิดว่าเป็น
bacterial cellulitis แต่เมื่อ
ได้รับการรักษาด้วย Cephalexin
อาการก็ยังไม่หาย และยังมีอากา
เพิ่มขึ้นคือ หนังศีรษะนูนนุ่ม และผม
ร่วงเป็นแห่ง
Tinea capitis is a disease
caused by superficial fungal
infection of the skin of the
scalp, eyebrows, and
eyelashes, with a propensity
for attacking hair shafts and
follicles. The disease is
considered to be a form of
superficial mycosis or
dermatophytosis.
http://www.medicalrealm.net/what-is-
microbiology---tinea-capitis.html
TINEA CAPITIS
INCIDENCE
 Tinea Capitis Infection may infect individuals of
any age, gender, race, or ethnicity; if factors for
fungus growth on the head, are conducive
 The condition rarely affects adults, but it is most
commonly seen in young children (between 5 and
10 years)
 It is also generally seen with a higher incidence in
boys, than girls (in a 5:1 ratio)
RISK FACTORS
 Children, who are exposed to other infected
children, particularly at schools, daycare
centers for children, theme parks etc.
 Individuals residing in overcrowded
neighborhoods (that are warm and humid)
 Children with sweaty (wet) scalp conditions
 Those having superficial (on the surface) and
minor head injuries
The potential risk factors for Tinea Capitis
Sharing items like combs, brushes or hats with
individuals having the fungal condition
If the individual has a weak immune system or
diabetes, there is a greater susceptibility to fungal
infections,
Those, who were infected with fungal infections in
the past, have an elevated risk
Do not bathe or wash your hair often
RISK FACTORS
SIGN & SYMPTOM
 Itchy
 pus-filled lesion
 dandruff-liked scaling of
the scalp
 black-dotted
 broken hair follicle
 localize alopecia
 cervical lymphadenopathy
http://www.pcds.org.uk/clinical-guidance/tinea-capitis-scalp
http://clinicalgate.com/wp-content/uploads/2015/03/006588_f658-003-
97814377075573.jpg
http://userscontent2.emaze.com/images/3b7db1db-bb82-4973-b6
0a-bf69df8b9799/2f1a6e76-a515-4e79-9ed0-036fce5f851b.jpg
DERMATOPHYTES
กลุ่มของราที่ก่อโรคกลาก
(Dermatophytosis หรือ Tinea
หรือ Ringworm) ของผิวหนัง ผม
ขน เล็บ จัดเป็นราก่อโรคผิวหนังที่พบ
บ่อย
https://felijay315.wordpress.com/tag/ringworm/
พยาธิกาเนิดและการก่อโรค
โรคกลากติดต่อโดยการสัมผัสคนที่
เป็นโดยตรงหรือของใช้ส่วนตัวของผู้ติด
เชื้อ เช่น เสื้อผ้า หวี แปรง ผ้าเช็ดตัว ผ้า
ปูที่นอน
 รอยโรคเริ่มจากจุดแดงและตุ่มน้าใสเล็กๆคล้ายรอยยุงกันแแล้วขยายกว้างออกเ็็ นวง
 ราอาศัยบนเนื้อเยื่อที่มี keratin ได้แก่ เส้นผม ขน เล็บ และผิวหนังชั้นที่ตายแล้ว (ชั้น
conified ของหนังกราพร้า) ไม่ลุกลามลงเนื้อเยื่อข้างใตเนื่องจากมีสารในซีรัมและระบบ
ภูมิคุ้มกันสามารถยับยั้งเอนไซม์แkeratinase ของราแ
 อาการคันและอักเสบเป็นผลมาจากที่ร่างกายตอบสนองต่อสารที่หลั่งออกจากราแ
(metabolic product) โดยอาการคันและการอักเสบจะแตกต่างกันขึ้นกับบริเวณที่เป็น
โรคและชนิดของเชื้อราที่เป็นสาเหตุ อาจพบการติดเชื้อในชั้นใต้ผิวหนังและอักเสบเ็็ นหนองแ
(kerion) ได้บ้างแต่น้อย
พยาธิกาเนิดและการก่อโรค
พยาธิกาเนิดและการก่อโรค
http://www.tm.mahidol.ac.th/tropmed-parasitology/2013-36-2/36-2-2013-e4-Dermatophytosis-p-75-87.pdf
TINEA CAPITIS ติดต่อได้อย่างไร?
เป็นโรคกลากที่เกิดบริเวณหนังศีรษะแคิ้วแและ/หรือขนตาแซึ่งมักเ็็ นกับเด็ก มัก
ติดต่อกันในครอบครัวและในเด็กนักเรียนโรงเรียนเดียวกันได้รวดเร็วแ
มีอาการคันและเป็นสะเก็ด อาจอักเสบลึกลงในรากผม และผมร่วง
เชื้อที่เป็นสาเหตุ M. canis, T. vioraceum, M. audouinii และแ
M.gypseum
การตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อราทางห้อง็ฏิบัติการ
(LABORATORY DIAGNOSIS OF FUNGAL
INFECTION)
1. Direct examination of clinical specimens
1.1 Wood’s lamp examinations
1.2 KOH Preparation
1.3 Gram stain
1.4 Calcofluor white
http://i00.i.aliimg.com/img/pb/20
1/120/652/652120201_573.jpg
https://ssl.adam.com/graphics/images/en
/9846.jpg
Septate hyphae (ลูกศรชี้) ของเชื้อรา
ที่ย้อมด้วยแ10% โ็แตสเซียมไฮดรอก
http://3.bp.blogspot.com/-QULP-
MwObgM/TfFYgo9VRNI/AAAAAAAAGis/OrQ
mJbJA1i0/s1600/Candida%2B_albicans_Bud
http://www.mycology.adelaide.edu
.au/gallery/dimorphic_fungi/blasto
10.gif
การตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อราทางห้อง็ฏิบัติการ
(LABORATORY DIAGNOSIS OF FUNGAL
INFECTION)
2. Culture technique
วุ้นเพาะเลี้ยงมาตรฐานสาหรับเชื้อราโดยเฉพาะราสายแมี 4 ชนิดคือ
1) Sabouraud Dextrose Agar (SDA)
2) Sabouraud Dextrose Agar + Chloramphenicol (SC)
3) Sabouraud Dextrose Agar + Chloramphenicol+ Cycloheximide
(SCC)
4) Dermatophyte growth/test medium (DTM)
DTM plate on the right showing color
change
after two days' growth; Microsporum https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b1/D
การตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อราทางห้อง็ฏิบัติการ
(LABORATORY DIAGNOSIS OF FUNGAL
INFECTION)
2. การเพาะเชื้อแ(Culture technique)
วิธีการวินิจฉัยสายพันธุ์ของเชื้อราสายแ(mold) อาศัยลักษณะโคโลนีร่วมกับ
ลักษณะคอนิเดียใต้กล้องจุลทรรศน์
- Macroscopic morphology
- Microscopic morphology
วิธีการตรวจดูคอนิเดียใต้กล้องจุลทรรศน์แอาจแบ่งเ็็ นแ2 วิธี
1) Tease slide or Scotch-tape technique
2) Slide culture technique
การเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจแ
(CLINICAL SAMPLE COLLECTIONS)
1. การเก็บตัวอย่างเส้นผมและหนังศีรษะแ(Scalp brushings)
2. การเก็บตัวอย่างขุยที่ผิวหนังแ(Skin scrapings)
3. การเก็บตัวอย่างเล็บ(Nail clippings)
http://img.webmd.com/dtmcms/live/webmd/cons
umer_assets/site_images/articles/health_tools/ri
ngworm_slideshow/dermnet_photo_of_tinea_bo
rder.jpg
https://hello-pet.com/assets/uploads/2015/03/best-
nail-clippers.jpg
http://www.emedicinehealth.com/images/4453/44
53-4482-15983-18410.jpg
ECOLOGICAL NICHES
1. Geophilic :
 M.gypseum ,M.nanum
2. Zoophilic :
 M.canis ,T.verrucosum
3. Anthropophilic :
 T.tonsurans ,T.violaceum
 T.soudanense
,T.schoenleinii
http://microbio.md.kku.ac.th/site_data/mykku_microbio/3/Le
cture/RingWorm.pdf
 ลักษณะโคโลนี บนอาหารเลี้ยงเชื้อ SDA แบนราบ
สีขาวครีม ตรงกลางมีขนฟูคล้ายสาลีด้าน
ใต้นิคมมีสีเหลืองทอง
 ลักษณะบน Slide Culture พบ macroconidia
แหลมหัวท้ายประกอบด้วยเซลล์ 5- 15 เซลล์ ผิว
ขรุขระ ผนังหนา บริเวณปลายมีปุ่มโต
เชื้อนี้เมื่อมีการติดเชื้อที่เส้นผมจะเป็นแบบ
ectothrix มีสปอร์ขนาดเล็กจานวนมาก สามารถ
กระตุ้นการสร้างสปอร์ได้เมื่อเลี้ยงบนข้าวนึ่งในจาน
เพาะ
Microsporum canis
http://www.scielo.br/scielo.php?pid=s0365-
05962005000300007&script=sci_arttext&tlng=en
http://microbio.md.kku.ac.th/site_data/mykku_microbio/3
/Lecture/RingWorm.pdf
 ลักษณะโคโลนี บนอาหารเลี้ยงเชื้อ SDA แบน เนื้อ
นิคมเป็นแบบ granular สีครีมออกน้าตาล ด้านใต้
นิคมให้ pigment สีเหลืองน้าตาล
 ลักษณะบน Slide Culture พบ macroconidia
รูปร่างรีแหลมหัวท้าย ผนังบาง มีเซลล์ภายใน 4-6
เซลล์
Microsporum gypseum
http://www.mycology.adelaide.edu.au/Fun
gal_Descriptions
/Dermatophytes/Microsporum/Microsporu
m_gypseum.html
 ลักษณะโคโลนี บนอาหารเลี้ยงเชื้อ SDA เจริญได้
ค่อนข้างช้า มีสีน้าตาลปนเขียวหรือสีกากี เนื้อของ
โคโลนีคล้ายกับหนังกลับ นูน หยักเป็นร่องมีแนวมุ่งเข้า
สู่ใจกลาง มีขนปุยบางบริเวณขอบของโคโลนี
 ลักษณะบน Slide Culture จะพบ macroconidia
อยู่บนก้านชูสปอร์เดียวกัน 2-3 อัน หรือ อยู่เดี่ยว ผิวเรียบ
คล้ายกระบอง ไม่พบ microconidia เมื่อโคโลนีมีอายุมาก
จะพบแต่เพียง chlamydospore เชื้อ dermatophytes
สกุล นี้มีเพียง ชนิดเดียวคือ E. floccosum
Epidermophyton floccosum
http://microbio.md.kku.ac.th/site_data/mykku_microbi
o/3/Lecture/RingWorm.pdf
Tinea capitis is classified according to how
the fungus invades the hair shaft.
1. Ectothrix infection
 M. canis, M.
gypseum
 M. nanum, T.
verrucosum
 M. audouinii, M.
distortum
 M. ferrugineum
http://www.mycology.adelaide.edu.au/virtual
/2010/ID2-May10.html
Tinea capitis is classified according to how
the fungus invades the hair shaft.
2. Endothrix
infection
 T. tonsurans
 T. violaceum
 T. soudanense
http://www.huidziekten.nl/zakboek/dermatosen
/ttxt/TineaCapitis.htm
Tinea capitis is classified according to how
the fungus invades the hair shaft.
3. Favus ( tinea
favosa )
 T.schoenleinii
http://www.huidziekten.nl/zakboek/dermatosen
/ttxt/TineaCapitis.htm
https://www.studyblue.com/notes/note/n/fungus-
review/deck/5050661
DERMATOPHYTOSIS
Tinea favosa
•​ M. canis, M. gypseum​, M. audouini,
T. tonsurans
• ผมร่วงเ็็ นหย่อมๆแเส้นผมเ็ราะแ
ผื่นมีขอบเขตชัดเจนแพบขุยสีขาวอมเทา
• T.schoenleinii
• กลากที่ศีรษะชนิดรุนแรง พบการทาลายของ
เส้นผมและหนังศีรษะแจนมีลักษณะคล้ายรังผึ้ง
(honeycomb destruction)
http://mddk.com/tinea-capitis.html https://lookfordiagnosis.com/mesh_info.php?term=tinea+favosa&lang=1
Tinea capitis
Tinea corporis Tinea cruris
• T. rubrum, T. tonsurans, T. verrucosum,
M.canis
• บริเวณลาตัว รวมถึงแขนแขาแคอแและหลังแ
• ผื่นพบกระจายหลายผื่นแสีชมพูแดงแมีขุย
สีขาวแขอบยกชัดเจนแอาจพบตุ่มหนองขอบผื่น
• T. rubrum, E. Floccosum
• กลากบริเวณขาหนีบแผื่นเ็็ นวงสีแดงแ
ขอบยกชัดเจนแตรงกลางผื่นไม่พบรอยแดงแ
อาจพบตุ่มหนองขอบผื่นแผิวหนังเ็ื่ อยแ
มีรอยคล้า
https://www.dermquest.com/image-library/image/5044bfcfc97267166cd62a2d http://projekcjaknp.blogspot.com/2016_03_01_archive.html
DERMATOPHYTOSIS
Tinea manuum
• T. rubrum,T. mentagrophytes,
E. floccosum
• พบบริเวณมือแผื่นไม่ชัดเจนแมือแห้งแ
มีขุย็ริมาณมากแอาจพบลักษณะผิวหนังแ
แฉะแแดงเ็็ นแผลได้
Tinea pedis
• T. rubrum, T. interdigitale,
E. Floccosum
• พบบริเวณเท้าแง่ามนิ้วเท้าแผื่นไม่ชัดเจนแ
มักจะผิวแห้งแมีรอยแตกแพบขุยสีขาวหรือ
ผิวหนังเ็ื่ อยแมีกลิ่นแรง
https://www.dermquest.com/image-library/image/5044bfcfc97267166cd63080 http://2011.elmedicointeractivo.com/pieatleta.pdf?botsearch
DERMATOPHYTOSIS
Tinea barbae
• T. mentagrophytes,
T. verrucosum, M. canis
• ชาย > หญิงแผื่นจะเ็็ นตุ่มแดงแแ
หรือมีหนองตามรูขุมขนแมีขุยสีขาวแ
ลักษณะวงผื่นไม่ชัดเจน
Tinea faciei
• T. rubrum, T. tonsurans,
M. canis
• กลากที่ใบหน้าแผื่นจะเ็็ นวงขอบยก
สีแดงแอาจพบขุยสีขาวบริเวณกลาง
วงของผื่น
http://www.fungalguide.ca/basics/images/fungal_1.html http://www.memrise.com/user/bush.ick92/mems/created/?page=2
DERMATOPHYTOSIS
Tinea imbricata
• T. concentricum
• กลากหนุมาน พบในแถบร้อนชื้น
ผิวหนังเ็็ นวงกลมซ้อนๆกันหลายวง
มีสะเก็ดติดที่ขอบวง
Tinea unguiumb
• T. rubrum, T. interdigitale,
E.floccosum, M.canis
• เชื้อราที่เล็บแเล็บผิดรู็ร่างแแตกหักง่ายแ
สีเล็บผิด็กติแอาจเกิดลักษณะบวมนูน
ใต้เล็บแและพบขอบเล็บมีการอักเสบ
https://www.gotoknow.org/posts/463309https://researchonline.lshtm.ac.uk/2167308/1/tropmed-92-883.pdf
DERMATOPHYTOSIS
TREATMENT
polymerization
Tubulin dimers
MicrotubuleGriseofulvin
TREATMENT
Azoles group
Inhibit P450 C-14-α-sterol demethylase
Lanosterol Ergosterol
Ketoconazole
Itraconazole
TREATMENT
Allylamines group
Squalene 2,3-oxidosqualene Lanostero
Ergosterol
Squalene epoxidase
Terbinafine
พิษต่อเซลล์
REFERENCES
 http://dlibrary.childrenhospital.go.th/bitstream/handle/6623548333/603/qsni
ch-thai-pediatric-journal-17-1-2010-p26.pdf?sequence=3
 http://www.cai.md.chula.ac.th/lesson/fungal/contents/derma.htm
 http://www.siamhealth.net/public_html/Health/Photo_teaching/alopecia_are
ata.html#.V2jkWLiLTIU
 http://www.si.mahidol.ac.th/project/psoria/psoriasis.htm
 Canizares O. ภาพสีโรคผิวหนัง. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์; 1978.
 Natthanej Luplertlop. Dermatophytosis [Internet]. 2013 [cited 21 June 2016].
Available from: http://www.tm.mahidol.ac.th/tropmed-parasitology/2013-36-
2/36-2-2013-e4-Dermatophytosis-p-75-87.pdf
THANK
YOU

More Related Content

What's hot

ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร PopulationPat Sn
 
Gram-Positive cocci
Gram-Positive cocciGram-Positive cocci
Gram-Positive cocciJutaratDew
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551taem
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliNittaya Jandang
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2Khunnawang Khunnawang
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
ใบงาน ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
ใบงาน ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตใบงาน ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
ใบงาน ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตสำเร็จ นางสีคุณ
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1tewin2553
 
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ Itt Bandhudhara
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันJurarud Porkhum
 

What's hot (20)

ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
Gram-Positive cocci
Gram-Positive cocciGram-Positive cocci
Gram-Positive cocci
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilli
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ใบงาน ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
ใบงาน ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตใบงาน ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
ใบงาน ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
Gram negative cocci
 Gram negative cocci Gram negative cocci
Gram negative cocci
 
ธรณีกาล
ธรณีกาลธรณีกาล
ธรณีกาล
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
 

Similar to Tinea capitis

Jitmm 2008 Summary Report
Jitmm 2008 Summary ReportJitmm 2008 Summary Report
Jitmm 2008 Summary Reportpa1705
 
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsomdetpittayakom school
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชันkruoyl ppk
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน Oyl Wannapa
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationApple Nipaporn
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationApple Nipaporn
 

Similar to Tinea capitis (19)

Jitmm 2008 Summary Report
Jitmm 2008 Summary ReportJitmm 2008 Summary Report
Jitmm 2008 Summary Report
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 
ขาดโปรตีน
ขาดโปรตีนขาดโปรตีน
ขาดโปรตีน
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
Chapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovationChapter 7 educational innovation
Chapter 7 educational innovation
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
36
3636
36
 
การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ
การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติการกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ
การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ
 

Tinea capitis

  • 1. CASE STUDY 3 นสพ.จิรภัทร มาศิริ 57050030 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์ นสพ.ชญานนท์ ศรีใจอินทร์ 57050052 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์ นสพ.พิจิตรา จันทร์เจนจบ 57050086 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์ นสพ.อิสรีย์ สัสสินทร 57050131 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์ นสพ.กัญญาภัค มินรินทร์ 57351966 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์ นสพ.โกวิท ประทุมศรี 58050266 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์ นสพ.ชวัลวิทย์ กิจวัฒนานันท์ 58050323 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์ นสพ.นิรันดร์ ศรีชู 58050334 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์ นสพ.อัมรินทร์ วิชิตพันธ์ 58050367 ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์
  • 2. CASE STUDY 3 5-year-old boy cervical lymphadenopathy , scalp scaling , patchy alopecia 6 weeks earlier • slight pruritus • dandruff-like scaling of the scalp • crusting of the skin • black-dotted broken hair follicles scattered throughout the scalp acute bacterial cellulitis cephalexin worsening symptom 14 day dicloxacillin 2% mupirocin ointment refractory to Antimicrobial therapy multiple open painful pus-filled
  • 3. DIFFERENTIAL DIAGNOSIS ผู้ป่วยมารับการรักษาโดยมีอาการดังนี้ 1. มีอาการคันเล็กน้อยที่ศีรษะ 2. มีรังแคที่หนังศีรษะเป็นสะเก็ด 3. หนังศีรษะมีคราบ 4. มีผมเสียเป็นกระจุกบนหนังศีรษะ
  • 4. โรคที่เข้าข่ายอาการดังกล่าว Tinea capitis Seborrheic dermatitis Atopic dermatitis Psoriasis กลากที่ศีรษะ เป็นการติดเชื้อราที่ราก ผม และเส้นผม เกิดจาก เชื้อราที่เรียกว่า Tricophyton และ Microsporum เป็นโรคผิวหนังอักเสบ เรื้อรัง มักจะเป็นบริเวณศีรษะ ลาตัวโดยเฉพาะบริเวณ ที่มีต่อมไขมัน มาก สาเหตุยังไม่ ชัดเจน แต่เชื่อว่าเกิด จากเชื้อรา เป็นโรคผิวหนัง อักเสบเรื้อรังชนิด หนึ่ง โรคสะเก็ดเงินเป็นโรค ผิวหนังอักเสบเรื้อรัง อาการผื่นผิวหนัง เป็นได้หลายรูปแบบที่ พบบ่อย คือ ผิวหนัง อักเสบเป็นปื้นแดง ลอกเป็นขุย DIFFERENTIAL DIAGNOSIS
  • 5. DIFFERENTIAL DIAGNOSIS Diagnos is Tinea capitis หนังศีรษะบวมนูน คัน มีตุ่มหนอง ผมร่วง Seborrheic dermatitis ลักษณะหนังศีรษะมีขุย และสะเก็ดที่หนังศีรษะ ผมไม่ร่วง Atopic dermatitis ลักษณะหนังศีรษะมีขุย ผื่นแดง คัน ผมไม่ร่วง Psoriasis มีสะเก็ดที่หนังศีรษะ ผิวหนังแดง ผมไม่ร่วง ในตอนแรกแพทย์คิดว่าเป็น bacterial cellulitis แต่เมื่อ ได้รับการรักษาด้วย Cephalexin อาการก็ยังไม่หาย และยังมีอากา เพิ่มขึ้นคือ หนังศีรษะนูนนุ่ม และผม ร่วงเป็นแห่ง
  • 6. Tinea capitis is a disease caused by superficial fungal infection of the skin of the scalp, eyebrows, and eyelashes, with a propensity for attacking hair shafts and follicles. The disease is considered to be a form of superficial mycosis or dermatophytosis. http://www.medicalrealm.net/what-is- microbiology---tinea-capitis.html TINEA CAPITIS
  • 7. INCIDENCE  Tinea Capitis Infection may infect individuals of any age, gender, race, or ethnicity; if factors for fungus growth on the head, are conducive  The condition rarely affects adults, but it is most commonly seen in young children (between 5 and 10 years)  It is also generally seen with a higher incidence in boys, than girls (in a 5:1 ratio)
  • 8. RISK FACTORS  Children, who are exposed to other infected children, particularly at schools, daycare centers for children, theme parks etc.  Individuals residing in overcrowded neighborhoods (that are warm and humid)  Children with sweaty (wet) scalp conditions  Those having superficial (on the surface) and minor head injuries The potential risk factors for Tinea Capitis
  • 9. Sharing items like combs, brushes or hats with individuals having the fungal condition If the individual has a weak immune system or diabetes, there is a greater susceptibility to fungal infections, Those, who were infected with fungal infections in the past, have an elevated risk Do not bathe or wash your hair often RISK FACTORS
  • 10. SIGN & SYMPTOM  Itchy  pus-filled lesion  dandruff-liked scaling of the scalp  black-dotted  broken hair follicle  localize alopecia  cervical lymphadenopathy http://www.pcds.org.uk/clinical-guidance/tinea-capitis-scalp http://clinicalgate.com/wp-content/uploads/2015/03/006588_f658-003- 97814377075573.jpg http://userscontent2.emaze.com/images/3b7db1db-bb82-4973-b6 0a-bf69df8b9799/2f1a6e76-a515-4e79-9ed0-036fce5f851b.jpg
  • 11. DERMATOPHYTES กลุ่มของราที่ก่อโรคกลาก (Dermatophytosis หรือ Tinea หรือ Ringworm) ของผิวหนัง ผม ขน เล็บ จัดเป็นราก่อโรคผิวหนังที่พบ บ่อย https://felijay315.wordpress.com/tag/ringworm/
  • 13.  รอยโรคเริ่มจากจุดแดงและตุ่มน้าใสเล็กๆคล้ายรอยยุงกันแแล้วขยายกว้างออกเ็็ นวง  ราอาศัยบนเนื้อเยื่อที่มี keratin ได้แก่ เส้นผม ขน เล็บ และผิวหนังชั้นที่ตายแล้ว (ชั้น conified ของหนังกราพร้า) ไม่ลุกลามลงเนื้อเยื่อข้างใตเนื่องจากมีสารในซีรัมและระบบ ภูมิคุ้มกันสามารถยับยั้งเอนไซม์แkeratinase ของราแ  อาการคันและอักเสบเป็นผลมาจากที่ร่างกายตอบสนองต่อสารที่หลั่งออกจากราแ (metabolic product) โดยอาการคันและการอักเสบจะแตกต่างกันขึ้นกับบริเวณที่เป็น โรคและชนิดของเชื้อราที่เป็นสาเหตุ อาจพบการติดเชื้อในชั้นใต้ผิวหนังและอักเสบเ็็ นหนองแ (kerion) ได้บ้างแต่น้อย พยาธิกาเนิดและการก่อโรค
  • 15. TINEA CAPITIS ติดต่อได้อย่างไร? เป็นโรคกลากที่เกิดบริเวณหนังศีรษะแคิ้วแและ/หรือขนตาแซึ่งมักเ็็ นกับเด็ก มัก ติดต่อกันในครอบครัวและในเด็กนักเรียนโรงเรียนเดียวกันได้รวดเร็วแ มีอาการคันและเป็นสะเก็ด อาจอักเสบลึกลงในรากผม และผมร่วง เชื้อที่เป็นสาเหตุ M. canis, T. vioraceum, M. audouinii และแ M.gypseum
  • 16. การตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อราทางห้อง็ฏิบัติการ (LABORATORY DIAGNOSIS OF FUNGAL INFECTION) 1. Direct examination of clinical specimens 1.1 Wood’s lamp examinations 1.2 KOH Preparation 1.3 Gram stain 1.4 Calcofluor white http://i00.i.aliimg.com/img/pb/20 1/120/652/652120201_573.jpg https://ssl.adam.com/graphics/images/en /9846.jpg Septate hyphae (ลูกศรชี้) ของเชื้อรา ที่ย้อมด้วยแ10% โ็แตสเซียมไฮดรอก http://3.bp.blogspot.com/-QULP- MwObgM/TfFYgo9VRNI/AAAAAAAAGis/OrQ mJbJA1i0/s1600/Candida%2B_albicans_Bud http://www.mycology.adelaide.edu .au/gallery/dimorphic_fungi/blasto 10.gif
  • 17. การตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อราทางห้อง็ฏิบัติการ (LABORATORY DIAGNOSIS OF FUNGAL INFECTION) 2. Culture technique วุ้นเพาะเลี้ยงมาตรฐานสาหรับเชื้อราโดยเฉพาะราสายแมี 4 ชนิดคือ 1) Sabouraud Dextrose Agar (SDA) 2) Sabouraud Dextrose Agar + Chloramphenicol (SC) 3) Sabouraud Dextrose Agar + Chloramphenicol+ Cycloheximide (SCC) 4) Dermatophyte growth/test medium (DTM) DTM plate on the right showing color change after two days' growth; Microsporum https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b1/D
  • 18. การตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อราทางห้อง็ฏิบัติการ (LABORATORY DIAGNOSIS OF FUNGAL INFECTION) 2. การเพาะเชื้อแ(Culture technique) วิธีการวินิจฉัยสายพันธุ์ของเชื้อราสายแ(mold) อาศัยลักษณะโคโลนีร่วมกับ ลักษณะคอนิเดียใต้กล้องจุลทรรศน์ - Macroscopic morphology - Microscopic morphology วิธีการตรวจดูคอนิเดียใต้กล้องจุลทรรศน์แอาจแบ่งเ็็ นแ2 วิธี 1) Tease slide or Scotch-tape technique 2) Slide culture technique
  • 19. การเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจแ (CLINICAL SAMPLE COLLECTIONS) 1. การเก็บตัวอย่างเส้นผมและหนังศีรษะแ(Scalp brushings) 2. การเก็บตัวอย่างขุยที่ผิวหนังแ(Skin scrapings) 3. การเก็บตัวอย่างเล็บ(Nail clippings) http://img.webmd.com/dtmcms/live/webmd/cons umer_assets/site_images/articles/health_tools/ri ngworm_slideshow/dermnet_photo_of_tinea_bo rder.jpg https://hello-pet.com/assets/uploads/2015/03/best- nail-clippers.jpg http://www.emedicinehealth.com/images/4453/44 53-4482-15983-18410.jpg
  • 20. ECOLOGICAL NICHES 1. Geophilic :  M.gypseum ,M.nanum 2. Zoophilic :  M.canis ,T.verrucosum 3. Anthropophilic :  T.tonsurans ,T.violaceum  T.soudanense ,T.schoenleinii
  • 22.  ลักษณะโคโลนี บนอาหารเลี้ยงเชื้อ SDA แบนราบ สีขาวครีม ตรงกลางมีขนฟูคล้ายสาลีด้าน ใต้นิคมมีสีเหลืองทอง  ลักษณะบน Slide Culture พบ macroconidia แหลมหัวท้ายประกอบด้วยเซลล์ 5- 15 เซลล์ ผิว ขรุขระ ผนังหนา บริเวณปลายมีปุ่มโต เชื้อนี้เมื่อมีการติดเชื้อที่เส้นผมจะเป็นแบบ ectothrix มีสปอร์ขนาดเล็กจานวนมาก สามารถ กระตุ้นการสร้างสปอร์ได้เมื่อเลี้ยงบนข้าวนึ่งในจาน เพาะ Microsporum canis http://www.scielo.br/scielo.php?pid=s0365- 05962005000300007&script=sci_arttext&tlng=en http://microbio.md.kku.ac.th/site_data/mykku_microbio/3 /Lecture/RingWorm.pdf
  • 23.  ลักษณะโคโลนี บนอาหารเลี้ยงเชื้อ SDA แบน เนื้อ นิคมเป็นแบบ granular สีครีมออกน้าตาล ด้านใต้ นิคมให้ pigment สีเหลืองน้าตาล  ลักษณะบน Slide Culture พบ macroconidia รูปร่างรีแหลมหัวท้าย ผนังบาง มีเซลล์ภายใน 4-6 เซลล์ Microsporum gypseum http://www.mycology.adelaide.edu.au/Fun gal_Descriptions /Dermatophytes/Microsporum/Microsporu m_gypseum.html
  • 24.  ลักษณะโคโลนี บนอาหารเลี้ยงเชื้อ SDA เจริญได้ ค่อนข้างช้า มีสีน้าตาลปนเขียวหรือสีกากี เนื้อของ โคโลนีคล้ายกับหนังกลับ นูน หยักเป็นร่องมีแนวมุ่งเข้า สู่ใจกลาง มีขนปุยบางบริเวณขอบของโคโลนี  ลักษณะบน Slide Culture จะพบ macroconidia อยู่บนก้านชูสปอร์เดียวกัน 2-3 อัน หรือ อยู่เดี่ยว ผิวเรียบ คล้ายกระบอง ไม่พบ microconidia เมื่อโคโลนีมีอายุมาก จะพบแต่เพียง chlamydospore เชื้อ dermatophytes สกุล นี้มีเพียง ชนิดเดียวคือ E. floccosum Epidermophyton floccosum http://microbio.md.kku.ac.th/site_data/mykku_microbi o/3/Lecture/RingWorm.pdf
  • 25. Tinea capitis is classified according to how the fungus invades the hair shaft. 1. Ectothrix infection  M. canis, M. gypseum  M. nanum, T. verrucosum  M. audouinii, M. distortum  M. ferrugineum http://www.mycology.adelaide.edu.au/virtual /2010/ID2-May10.html
  • 26. Tinea capitis is classified according to how the fungus invades the hair shaft. 2. Endothrix infection  T. tonsurans  T. violaceum  T. soudanense http://www.huidziekten.nl/zakboek/dermatosen /ttxt/TineaCapitis.htm
  • 27. Tinea capitis is classified according to how the fungus invades the hair shaft. 3. Favus ( tinea favosa )  T.schoenleinii http://www.huidziekten.nl/zakboek/dermatosen /ttxt/TineaCapitis.htm
  • 29. DERMATOPHYTOSIS Tinea favosa •​ M. canis, M. gypseum​, M. audouini, T. tonsurans • ผมร่วงเ็็ นหย่อมๆแเส้นผมเ็ราะแ ผื่นมีขอบเขตชัดเจนแพบขุยสีขาวอมเทา • T.schoenleinii • กลากที่ศีรษะชนิดรุนแรง พบการทาลายของ เส้นผมและหนังศีรษะแจนมีลักษณะคล้ายรังผึ้ง (honeycomb destruction) http://mddk.com/tinea-capitis.html https://lookfordiagnosis.com/mesh_info.php?term=tinea+favosa&lang=1 Tinea capitis
  • 30. Tinea corporis Tinea cruris • T. rubrum, T. tonsurans, T. verrucosum, M.canis • บริเวณลาตัว รวมถึงแขนแขาแคอแและหลังแ • ผื่นพบกระจายหลายผื่นแสีชมพูแดงแมีขุย สีขาวแขอบยกชัดเจนแอาจพบตุ่มหนองขอบผื่น • T. rubrum, E. Floccosum • กลากบริเวณขาหนีบแผื่นเ็็ นวงสีแดงแ ขอบยกชัดเจนแตรงกลางผื่นไม่พบรอยแดงแ อาจพบตุ่มหนองขอบผื่นแผิวหนังเ็ื่ อยแ มีรอยคล้า https://www.dermquest.com/image-library/image/5044bfcfc97267166cd62a2d http://projekcjaknp.blogspot.com/2016_03_01_archive.html DERMATOPHYTOSIS
  • 31. Tinea manuum • T. rubrum,T. mentagrophytes, E. floccosum • พบบริเวณมือแผื่นไม่ชัดเจนแมือแห้งแ มีขุย็ริมาณมากแอาจพบลักษณะผิวหนังแ แฉะแแดงเ็็ นแผลได้ Tinea pedis • T. rubrum, T. interdigitale, E. Floccosum • พบบริเวณเท้าแง่ามนิ้วเท้าแผื่นไม่ชัดเจนแ มักจะผิวแห้งแมีรอยแตกแพบขุยสีขาวหรือ ผิวหนังเ็ื่ อยแมีกลิ่นแรง https://www.dermquest.com/image-library/image/5044bfcfc97267166cd63080 http://2011.elmedicointeractivo.com/pieatleta.pdf?botsearch DERMATOPHYTOSIS
  • 32. Tinea barbae • T. mentagrophytes, T. verrucosum, M. canis • ชาย > หญิงแผื่นจะเ็็ นตุ่มแดงแแ หรือมีหนองตามรูขุมขนแมีขุยสีขาวแ ลักษณะวงผื่นไม่ชัดเจน Tinea faciei • T. rubrum, T. tonsurans, M. canis • กลากที่ใบหน้าแผื่นจะเ็็ นวงขอบยก สีแดงแอาจพบขุยสีขาวบริเวณกลาง วงของผื่น http://www.fungalguide.ca/basics/images/fungal_1.html http://www.memrise.com/user/bush.ick92/mems/created/?page=2 DERMATOPHYTOSIS
  • 33. Tinea imbricata • T. concentricum • กลากหนุมาน พบในแถบร้อนชื้น ผิวหนังเ็็ นวงกลมซ้อนๆกันหลายวง มีสะเก็ดติดที่ขอบวง Tinea unguiumb • T. rubrum, T. interdigitale, E.floccosum, M.canis • เชื้อราที่เล็บแเล็บผิดรู็ร่างแแตกหักง่ายแ สีเล็บผิด็กติแอาจเกิดลักษณะบวมนูน ใต้เล็บแและพบขอบเล็บมีการอักเสบ https://www.gotoknow.org/posts/463309https://researchonline.lshtm.ac.uk/2167308/1/tropmed-92-883.pdf DERMATOPHYTOSIS
  • 35. TREATMENT Azoles group Inhibit P450 C-14-α-sterol demethylase Lanosterol Ergosterol Ketoconazole Itraconazole
  • 36. TREATMENT Allylamines group Squalene 2,3-oxidosqualene Lanostero Ergosterol Squalene epoxidase Terbinafine พิษต่อเซลล์
  • 37. REFERENCES  http://dlibrary.childrenhospital.go.th/bitstream/handle/6623548333/603/qsni ch-thai-pediatric-journal-17-1-2010-p26.pdf?sequence=3  http://www.cai.md.chula.ac.th/lesson/fungal/contents/derma.htm  http://www.siamhealth.net/public_html/Health/Photo_teaching/alopecia_are ata.html#.V2jkWLiLTIU  http://www.si.mahidol.ac.th/project/psoria/psoriasis.htm  Canizares O. ภาพสีโรคผิวหนัง. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์; 1978.  Natthanej Luplertlop. Dermatophytosis [Internet]. 2013 [cited 21 June 2016]. Available from: http://www.tm.mahidol.ac.th/tropmed-parasitology/2013-36- 2/36-2-2013-e4-Dermatophytosis-p-75-87.pdf