SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
การผลิตสื่อวิดีทัศน์
โดย ภัทรศิลป์ สุกัณศีล
การอบรม
วันที่ 26 กันยายน 2558 ณ ห้องสักทอง สพม เขต 35
เกิดเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2511
ปริญญาตรีสาขาการสื่อสารมวลชน-วิทยุโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปริญญาโทสาขาเทคโนโลยีสื่อและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
กาลังศึกษาปริญญาเอกสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Scenographer และ Media Designer
เคยได้รับรางวัล Excellent Technician จากประเทศญี่ปุ่น
สนใจด้านศิลปะและการสื่อสารแขนงต่าง ๆ
มีประสบการณ์หลากหลายด้านการสื่อสารและการออกแบบ เช่น โปรดิวเซอร์ ครีเอทีฟ
ผู้เขียนบทของรายการโทรทัศน์และสารคดี นักการละคร นักออกแบบสื่อ และออร์แกนไนเซอร์
นอกจากนั้นยังได้รับเชิญให้เป็นอาจารย์พิเศษและวิทยากรตามองค์กรและสถาบันการศึกษา
การผลิตสื่อวิดีทัศน์
โดย ภัทรศิลป์ สุกัณศีล
การอบรม
วันที่ 26 กันยายน 2558 ณ สพม เขต 35
การประชาสัมพันธ์
Public Relation
 การสื่อสารความคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มประชาชนหรือกลุ่มเป้ าหมาย
 เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงาน องค์การ สถาบัน
กับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมายและประชาชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อหวังผลในความร่วมมือ
สนับสนุนจากประชาชน
 ช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบัน ทาให้ประชาชน
เกิดความนิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อหน่วยงาน
 ค้นหาและกาจัดแหล่งเข้าใจผิด ช่วยลบล้างปัญหา เพื่อสร้างความสาเร็จในการดาเนินงาน
ของหน่วยงาน
องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์
 องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน
 ข่าวสารประชาสัมพันธ์
 สื่อประชาสัมพันธ์
 กลุ่มประชาชนเป้าหมายในการประชาสัมพันธ์
communication
S M C R
=
2 way
+ + +
S M C Rsender message channel receiver
สื่อ/ช่องทางข่าวสารหน่วยงาน กลุ่มเป้ าหมาย
สื่อโสตทัศน์
ภาพ เสียง
(Audio Visual Media)
ประโยชน์ของสื่อโสตทัศน์
 มีทั้งแสง สี เสียง และภาพเคลื่อนไหวประกอบดนตรี ทาให้ประทับใจและจดจา
 สามารถเร่งเร้าความสนใจของผู้ชมได้ตลอดเวลาที่ดู
 สามารถสอดแทรกความคิดเห็น และเป็นสื่อในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
พฤติกรรมได้ง่าย
 สามารถเสนอภาพในอดีตที่เราไม่สามารถย้อนกลับไปชมได้อีก
 ใช้เทคนิคสร้างเหตุการณ์ประกอบฉากการถ่ายทาได้อย่างสมจริงสมจังที่สุด
หนังสั้น
สารคดี
วีดิทัศน์ประชาสัมพันธ์หน่วยงาน
สื่อ presentation
วีดิทัศน์เพื่อการศึกษา เช่น สื่อการสอน, e-learning
ประกอบมีเดียอื่นๆ เช่น เว็บเพจ, สื่อโซเชียล
การวางแผนการผลิตสื่อโสตทัศน์
Pre-production
Production
Post-production
3P
Pre-production
 ศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลกิจกรรมตามประเด็น/หัวข้อที่กาหนด เพื่อดาเนินการผลิต
และเผยแพร่สื่อโสตทัศน์
 การวางแผนและกาหนดแนวทางการผลิตและเผยแพร่
กาหนดกลุ่มเป้าหมาย (ผู้ชม), ประเด็นหรือเนื้อหา
ความคาดหวังและวัตถุประสงค์หรือความจาเป็นในการผลิตสื่อ
กาหนดขอบเขตเนื้อหา งบประมาณ ค่าใช้จ่าย สถานที่ถ่ายทา เครื่องมือถ่ายทา
จัดลาดับขั้นตอนการทางาน
รูปแบบและเทคนิคการนาเสนอ
เวลา / ความยาว และการเผยแพร่
 เตรียมการผลิตสื่อตามแผน
 การเขียนบท (Script)/storyboard
การเตรียมวัสดุอุปกรณ์
 จัดหานักแสดง
 Breakdown script
Production
 การดาเนินการถ่ายทา
 on location
 MC
 Footage/stock shot
Post-production
 การลาดับภาพและเสียง
 ตรวจสอบชิ้นงานก่อนส่งมอบหรือส่งเผยแพร่
 ส่งมอบชิ้นงานเพื่อเผยแพร่ตามภารกิจ
 การประเมินผล
ศิลปะการสื่อสาร
S M C R+ + +
communication
language
=
Language
Cinematography
 สื่อความหมายด้วย กรอบภาพ (Frame)
 สื่อความหมายด้วย มุมกล้อง (Angle)
 สื่อความหมายด้วย การเคลื่อนไหวของกล้อง ( Movement)
Frame
 กรอบภาพ คือทาให้ภาพที่ต้องการนาเสนอถูกจากัดอยู่ในขอบเขตใดขอบเขตหนึ่ง
แต่ด้วยลักษณะจากัดนี้เองทาให้ภาพมีลักษณะพิเศษในการสื่อความหมายเฉพาะตัวขึ้นมา
ผู้ถ่ายภาพ/เขียนบท จะเป็นผู้กาหนดว่า ต้องการให้เห็นส่วนใดบ้าง หรือไม่ต้องการให้เห็น
ส่วนใด เป็นผู้คัดสรรเฉพาะสิ่งที่ต้องการนาเสนอ กาหนดขนาดภาพกาหนดระยะใกล้ไกล
ตัดทอนสิ่งที่ไม่จาเป็นออกไป เน้นในสิ่งที่ต้องการเฉพาะเจาะจง เปิดเผยสิ่งที่ต้องการเสนอ
ปิดปังส่วนไม่ดีไม่งาม เพื่อไม่ให้เสียสมดุลย์
E.C.U
Extreme Close Up
C.U.
Close Up
M.C.U.
Medium Close Up
M.S.
Medium Shot
M.L.S.
Medium Long Shot
L.S.
Long Shot
E.L.S
Extreme Long Shot
F.S.
Full Shot
Two Shot
Close Two Shot
Three Shot
Group Shot
Angle
 Camera Angle หรือมุมกล้อง หรือมุมภาพ เป็นการออกแบบเลือกสรรโดยต้องการให้เห็น
ในด้าน มุมหรือแง่มุมใด ปิดบังหรือซ่อนเร้นไม่ให้เห็นในบางแง่มุม ทาหน้าที่บอกเรื่องราว
ในแง่มุมที่เลือกสรรแล้ว ทั้งเพื่อให้เกิดความเข้าใจ และเพื่อสร้างอารมณ์ เพื่อความงานและ
เพื่อดึงดูดความสนใจ
Objective Camera Angle
 เป็นมุมภาพที่มองจากบุคคลที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์เป็นมุมภาพบอกเล่าทั่วๆไป
Subjective Camera Angle
 เป็นมุมภาพที่มองจากบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ให้ผู้ชมรู้สึกเข้ามา
เกี่ยวข้องโดยตรง กล้องจะถูกสมมติให้เป็นหนึ่งในบุคคลในเหตุการณ์ เป็นการสร้าง
ความสัมพันธ์ทางสายตากับผู้ชม บางครั้งเราจะเรียกว่า ภาพแทนสายตา
Point-of-View Camera Angle
 เป็นมุมภาพที่อยู่กึ่งกลางระหว่าง Objective Camera Angle และ Subjective Camera Angle
ให้ความรู้สึกสนิทสนมกับเหตุการณ์ แต่ไม่ได้มีส่วนในเหตุการณ์ บางครั้งเรียกว่าการถ่าย
ข้ามไหล่ หรือ Over the Shoulder Shot
Movement
 Camera Movement หรือการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่ของกล้อง เพื่อเปิดเผย หรือนา
ความรู้สึกให้ติดตาม คล้ายการหันมอง เงยขึ้น หรือเดินใกล้เข้าไป หรือถอยหางออกมา
รวมถึงการติดตาม
อวัจนภาษาที่ใช้ในสื่อ
 Light
 Color
 Sound
 Music
 SoundFX
 Silence
วัจนภาษาที่ใช้ในสื่อ
 Dialogue
 Narrative or Commentary
การเรียงลาดับภาพ
SEQUENCE OF SHOT
 การนาเอา SHOT ต่าง ๆ มาเรียงลาดับต่อกันเป็นเรื่องราว เพื่อให้การสื่อภาษาภาพ
สามารถถ่ายทอดความคิด เนื้อหา เรื่องราวต่างๆได้อย่างครบถ้วน มีลาดับ ขั้นตอนต่างๆ
ที่ทาให้ผู้ชมเข้าใจ
SHOT
FUNCTION OF SHOT
 ESTABLISHING SHOT
 CUT-IN SHOT
 CUT AWAY SHOT
 ACTION SHOT
 REACTION SHOT
 REVERSE SHOT
ESTABLISHING SHOT
SHOT ที่ ทาหน้าที่บอกสถานที่เกิดเหตุการณ์ หรือบอกลักษณะ
ของเหตุการณ์ว่าเป็นเหตุการณ์อะไร โดยส่วนใหญ่นิยมใช้เปิด
เรื่อง หรือเปิดเหตุการณ์ ให้กับผู้ชม โดยขนาดภาพที่นิยมมักจะ
เป็นภาพระยะไกล (LS) แต่มักจะไม่เสมอไป
CUT-IN SHOT
SHOT ที่ทาหน้าที่ขยายความ หรือขยายรายละเอียดของวัตถุ
บุคคล หรือเหตุการณ์ สถานที่ ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นซึ่งจะต้อง
ใช่เป็น SHOT ที่ตามหลังภาพเหตุการณ์รวม ๆ
CUT AWAY SHOT
SHOT ทาหน้าที่เสริมบรรยากาศ หรืออารมณ์ ความรู้สึกให้กับ
ภาพเหตุการณ์ที่เสนอไปแล้ว หรือเบนความสนใจ จาก SHOT
ก่อนหน้า เพื่อเปลี่ยนฉาก หรือเหตุการณ์ต่างๆ
ACTION SHOT
SHOT ที่แสดงเหตุการณ์การกระทาของตัวละครต่อตัวละครอีก
ตัวหนึ่ง
REACTION SHOT
SHOT ที่แสดงปฏิกิริยาตอบสนองตัวละค รที่ถูกกระทาจากตัว
ละครตัวแรกว่ามีอาการแสดงออกมาอย่างไร
REVERSE SHOT
SHOT ที่แสดงภาพบุคคลที่เป็นฝ่ายตรงกันข้ามระหว่างตัว
ละคร 2 ตัว หรือ 2 ฝ่าย ที่กาลังเผชิญหน้ากัน อาจจะคุยกัน หรือ
ทะเลาะกันก็แล้วแต่ โดยส่วนใหญ่มักจะใช้ลักษณะภาพ
OVERSHOULDER SHOT
การลาดับ SHOT
 รู้จักการวางตาแหน่งของ SHOT หรือการลาดับ SHOT ว่า SHOT ใด ควรจะมาก่อน หรือ
SHOT ใดควรจะอยู่ตรงไหน ซึ่งก็แล้วแต่เหตุการณ์ หรือความหมายที่ต้องการจะสื่อ เรา
สามารถลาดับภาพ หรือ SHOT ได้หลายวิธี
NARRATIVE CUTTING
เมื่อเราต้องการนาเสนอเหตุการณ์ที่ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง
ตามลาดับเวลา เราก็จะจัดวาง SHOT ตามลาดับเวลา คือ SHOT
ใดนาเสนอภาพเหตุการณ์ เกิดขึ้นก่อน ก็จะนาเสนอก่อน แล้ว
นาเสนอต่อ ๆ ไปตามลาดับเวลาไปเรื่อย ๆ
CROSS CUTTING
เมื่อเราต้องการนาเสนอเหตุการณ์ตั้งแต่ 2 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
พร้อมกัน เห็นเหตุการณ์เดียวกัน เราต้องจัดวางSHOT หรือ
ลาดับ SHOT แบบสลับเหตุการณ์ที่กาลังเกิดขึ้นไปมาระหว่าง 2
เหตุการณ์
PARALLEL CUTTING
เป็นวิธีการลาดับ SHOT หรือจัดวาง SHOT ที่ใช้เมื่อเราต้องการ
นาเสนอเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ ที่อาจจะเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน
หรือต่างเวลากัน สลับกันไปมา เพื่อเปรียบเทียบ แต่มิได้มี
ความหมายเกี่ยวข้องกันโดยตรง และเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์นี้
จะไม่บรรจบกันเลย
DYNAMIC CUTTING
เป็นวิธีการลาดับ SHOT เพื่อแสดงความต่อเนื่องของเหตุการณ์
ที่ส่งผลต่อกัน ในด้านเหตุการณ์ หรืออารมณ์อย่างรุนแรง
MONTAGE CUTTING
เป็นวิธีการลาดับ SHOT หรือจัดวาง SHOT เข้า ด้วยกัน โดยมี
แนวความคิดรวมที่ต้องการจะถ่ายทอดเป็นแกนซึ่งภาพต่าง ๆ
ที่นามาต่อเนื่องกันไม่ได้มีความต่อเนื่อง หรือเกี่ยวข้องกัน
โดยตรงเลย ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของเวลาหรือเหตุการณ์
วัตถุประสงค์เพื่อเล่าเหตุการณ์ หรือสรุปเรื่องราว โดยใช้เวลา
เพียงสั้น ๆ
SHOT
DURATION & TIMING
 การเชื่อมโยงระหว่าง SHOT โดยรอให้เหตุการณ์ หรือการกระทา หรือการเคลื่อนไหวจบ
สิ้นไป แล้วจึงเปลี่ยน SHOT ต่อไป การเชื่อมโยงจังหวะนี้จะทาให้ความรู้สึกเชื่องช้า
 เชื่อมโยงกันโดยเหตุการณ์เคลื่อนไหวใน SHOT แรกยังไม่ปรากฏแล้วต่อโดย SHOT 2 จึง
มีการเคลื่อนไหว ซึ่งแบบนี้ทาให้อารมณ์รุนแรง รวดเร็ว ฉับพลัน น่าตื่นเต้น
 เป็นการเชื่อมโยง SHOT ระหว่างเหตุการณ์ หรือการกระทาที่กาลังเคลื่อนไหวอยู่อย่างนี้
เรียกว่า CUT ON ACTION ใช้แสดงการเชื่อมโยง 2 SHOT ที่มีความกลมกลืนต่อเนื่อง
อย่างลื่นไหลไปเรื่อย ๆ
SHOT TRANSITION
 CUT หรือ STRAIGHT CUT คือการเชื่อมโยงระหว่าง SHOT แบบตัดไปตรง ๆ เหมือนเอา
ภาพของ 2 SHOT มาต่อกันเฉย ๆ ซึ่งดูเหมือนว่า จะสะดุดอารมณ์คนดู แต่จริง ๆ แล้ว
หากเลือก CUT ภาพ ในจังหวะที่เหมาะสมกับความต้องการทางความหมาย และอารมณ์
ที่ต้องการจะสื่อให้ผลดีมาก เพราะที่จริงแล้วคนเราเวลารับรู้เหตุการณ์ต่าง ๆ มิใช่จะเปิดรับ
เหตุการณ์แบบยาวต่อเนื่องกันตลอด แต่จะเป็นการเลือกมองเฉพาะส่วนที่ต้องการจะรับรู้
เท่านั้น ส่วนที่ไม่น่าสนใจ หรือไม่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ จะถูกตัดออกไป ทาให้วิธีการ
เชื่อมโยงระหว่าง SHOT แบบ CUT ทาให้เกิดความรู้สึกเป็นธรรมชาติมากที่สุด และ
โดยทั่วไปแล้ว ในภาพยนตร์ และโทรทัศน์ เราจะพบได้บ่อยที่สุดกว่าการใช้วิธีอื่น ๆ
 FADE มี 2 อย่าง คือ FADE IN หมายถึงการเริ่มต้นภาพจากเฟรมที่มืดสินท หรือพื้นสี
(Color Background) แล้ว ค่อย ๆ ปรากฏภาพให้เห็นชัดเจนขึ้นจนเป็นหกติ ส่วนใหญ่จะ
นามาใช้บอกการเริ่มต้นของเรื่อง ของเหตุการณ์ หรือของวันใหม่ เป็นต้น ส่วน FADE
OUT หมายถึง การนาภาพที่กาลังมองเห็นอยู่ชัดเจนให้ค่อย ๆ จางหายสู่ความมืด หรือพื้นสี
ในที่สุด ส่วนใหญ่ใช้เพื่อการบอกการจบสิ้นเรื่องของเหตุการณ์ หรือสิ้นสุดลง เป็นต้น การ
ใช้FADE นี้ จะให้อารมณ์แบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างนุ่มนวลกว่า CUT จึงควรใช้ให้
เหมาะสมกับเรื่องราว และเหตุการณ์ บางครั้ง FADE IN - FADE OUT ถูก ใช้เพื่อการ
เปลี่ยนฉาก เหตุการณ์ หรืออารมณ์ อย่างรวดเร็ว เพื่อให้เรื่องราวดาเนินไปได้ โดยที่คนดู
จะไม่รู้สึกว่ามีการสะดุด หรือที่เรียกว่า ภาพกระโดด (Jumping cut)
 DISSOLVE คือ การที่ภาพใน SHOT หนึ่งที่กาลังจางหายไป ก็มีภาพในอีก SHOT มาซ้อน
แล้วค่อย ๆ ชัดขึ้น และมาแทนที่ในที่สุด การใช้DISSOLVE นี้ใช้เพื่อเชื่อมโยงเหตุการณ์
ระหว่าง SHOT แล้วมีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันอย่างกลมกลืน หรือเอาใช้เพื่อลัดเวลา
ซึ่งผลทางอารมณ์ที่จะได้แบบนุ่มนวล ชวนฝัน
 WIPE คือ การกวาดภาพ นาเอาภาพใหม่แทนที่ภาพเก่า เหมือนกับการเปิดปิดม่านเวที
ละคร นามาใช้เพื่อเล่าเรื่องราวแบบตรงไปตรงมา ไม่ต้องการความสมจริง สอดคล้อง
กับธรรมชาติการรับรู้ของมนุษย์เรา
 การกวาดภาพทางแนวนอน จากซ้ายไปขวา หรือจากขวาไปซ้าย
 การกวาดภาพทางแนวตั้ง จากบนลงล่าง และจากล่างขึ้นบน
 การกวาดภาพทางแนวเฉลียง จากมุมซ้าย หรือจากมุมขวา
 การกวาดภาพในรูปทรงเรขาคณิต เช่น วงกลม สามเหลี่ยม
 นอกจากนี้ยังมีวิธีการเชื่อมโยงที่ใช้ผลพิเศษทางการอื่น ๆ อีกนับไม่ถ้วนส่วนใหญ่จะ
ใช้เครื่อง DIGITAL VIDEO EFFECTS หรือเครื่อง COMPUTER เข้ามาช่วย
แนวคิดสร้างสรรค์เนื้อหา
และมุมมองเทคนิคการผลิตสื่อที่ดูน่าสนใจ
S M C R+ + +
analysis
Clip
Q & A
Thank You
อบรมการผลิตสื่อวิดีทัศน์

More Related Content

Viewers also liked

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลาย
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลายแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลาย
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลายchaiwat vichianchai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์chaiwat vichianchai
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์chaiwat vichianchai
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์chaiwat vichianchai
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...chaiwat vichianchai
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาดรายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาดchaiwat vichianchai
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน StoryboardYaowaluck Promdee
 
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์Tuf Rio
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ StoryboardKrongkaew kumpet
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้Chay Kung
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 

Viewers also liked (17)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลาย
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลายแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลาย
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์ ม.ปลาย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูไชยวัฒน์
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก  กภาคผนวก  ก
ภาคผนวก ก
 
บทที่1 บทนำ 1
บทที่1 บทนำ 1บทที่1 บทนำ 1
บทที่1 บทนำ 1
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาดรายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
ขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์
 
การเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้นการเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้น
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 

อบรมการผลิตสื่อวิดีทัศน์

  • 2. เกิดเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2511 ปริญญาตรีสาขาการสื่อสารมวลชน-วิทยุโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาโทสาขาเทคโนโลยีสื่อและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กาลังศึกษาปริญญาเอกสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Scenographer และ Media Designer เคยได้รับรางวัล Excellent Technician จากประเทศญี่ปุ่น สนใจด้านศิลปะและการสื่อสารแขนงต่าง ๆ มีประสบการณ์หลากหลายด้านการสื่อสารและการออกแบบ เช่น โปรดิวเซอร์ ครีเอทีฟ ผู้เขียนบทของรายการโทรทัศน์และสารคดี นักการละคร นักออกแบบสื่อ และออร์แกนไนเซอร์ นอกจากนั้นยังได้รับเชิญให้เป็นอาจารย์พิเศษและวิทยากรตามองค์กรและสถาบันการศึกษา
  • 4. การประชาสัมพันธ์ Public Relation  การสื่อสารความคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มประชาชนหรือกลุ่มเป้ าหมาย  เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงาน องค์การ สถาบัน กับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมายและประชาชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อหวังผลในความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชน  ช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบัน ทาให้ประชาชน เกิดความนิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อหน่วยงาน  ค้นหาและกาจัดแหล่งเข้าใจผิด ช่วยลบล้างปัญหา เพื่อสร้างความสาเร็จในการดาเนินงาน ของหน่วยงาน
  • 5. องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์  องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน  ข่าวสารประชาสัมพันธ์  สื่อประชาสัมพันธ์  กลุ่มประชาชนเป้าหมายในการประชาสัมพันธ์
  • 6. communication S M C R = 2 way + + +
  • 7. S M C Rsender message channel receiver สื่อ/ช่องทางข่าวสารหน่วยงาน กลุ่มเป้ าหมาย
  • 8.
  • 9.
  • 11. ประโยชน์ของสื่อโสตทัศน์  มีทั้งแสง สี เสียง และภาพเคลื่อนไหวประกอบดนตรี ทาให้ประทับใจและจดจา  สามารถเร่งเร้าความสนใจของผู้ชมได้ตลอดเวลาที่ดู  สามารถสอดแทรกความคิดเห็น และเป็นสื่อในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรมได้ง่าย  สามารถเสนอภาพในอดีตที่เราไม่สามารถย้อนกลับไปชมได้อีก  ใช้เทคนิคสร้างเหตุการณ์ประกอบฉากการถ่ายทาได้อย่างสมจริงสมจังที่สุด
  • 12. หนังสั้น สารคดี วีดิทัศน์ประชาสัมพันธ์หน่วยงาน สื่อ presentation วีดิทัศน์เพื่อการศึกษา เช่น สื่อการสอน, e-learning ประกอบมีเดียอื่นๆ เช่น เว็บเพจ, สื่อโซเชียล
  • 15. Pre-production  ศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลกิจกรรมตามประเด็น/หัวข้อที่กาหนด เพื่อดาเนินการผลิต และเผยแพร่สื่อโสตทัศน์  การวางแผนและกาหนดแนวทางการผลิตและเผยแพร่ กาหนดกลุ่มเป้าหมาย (ผู้ชม), ประเด็นหรือเนื้อหา ความคาดหวังและวัตถุประสงค์หรือความจาเป็นในการผลิตสื่อ กาหนดขอบเขตเนื้อหา งบประมาณ ค่าใช้จ่าย สถานที่ถ่ายทา เครื่องมือถ่ายทา จัดลาดับขั้นตอนการทางาน รูปแบบและเทคนิคการนาเสนอ เวลา / ความยาว และการเผยแพร่
  • 16.  เตรียมการผลิตสื่อตามแผน  การเขียนบท (Script)/storyboard การเตรียมวัสดุอุปกรณ์  จัดหานักแสดง  Breakdown script
  • 18. Post-production  การลาดับภาพและเสียง  ตรวจสอบชิ้นงานก่อนส่งมอบหรือส่งเผยแพร่  ส่งมอบชิ้นงานเพื่อเผยแพร่ตามภารกิจ  การประเมินผล
  • 20. S M C R+ + + communication language =
  • 21. Language Cinematography  สื่อความหมายด้วย กรอบภาพ (Frame)  สื่อความหมายด้วย มุมกล้อง (Angle)  สื่อความหมายด้วย การเคลื่อนไหวของกล้อง ( Movement)
  • 22. Frame  กรอบภาพ คือทาให้ภาพที่ต้องการนาเสนอถูกจากัดอยู่ในขอบเขตใดขอบเขตหนึ่ง แต่ด้วยลักษณะจากัดนี้เองทาให้ภาพมีลักษณะพิเศษในการสื่อความหมายเฉพาะตัวขึ้นมา ผู้ถ่ายภาพ/เขียนบท จะเป็นผู้กาหนดว่า ต้องการให้เห็นส่วนใดบ้าง หรือไม่ต้องการให้เห็น ส่วนใด เป็นผู้คัดสรรเฉพาะสิ่งที่ต้องการนาเสนอ กาหนดขนาดภาพกาหนดระยะใกล้ไกล ตัดทอนสิ่งที่ไม่จาเป็นออกไป เน้นในสิ่งที่ต้องการเฉพาะเจาะจง เปิดเผยสิ่งที่ต้องการเสนอ ปิดปังส่วนไม่ดีไม่งาม เพื่อไม่ให้เสียสมดุลย์
  • 35. Angle  Camera Angle หรือมุมกล้อง หรือมุมภาพ เป็นการออกแบบเลือกสรรโดยต้องการให้เห็น ในด้าน มุมหรือแง่มุมใด ปิดบังหรือซ่อนเร้นไม่ให้เห็นในบางแง่มุม ทาหน้าที่บอกเรื่องราว ในแง่มุมที่เลือกสรรแล้ว ทั้งเพื่อให้เกิดความเข้าใจ และเพื่อสร้างอารมณ์ เพื่อความงานและ เพื่อดึงดูดความสนใจ
  • 36. Objective Camera Angle  เป็นมุมภาพที่มองจากบุคคลที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์เป็นมุมภาพบอกเล่าทั่วๆไป
  • 37. Subjective Camera Angle  เป็นมุมภาพที่มองจากบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ให้ผู้ชมรู้สึกเข้ามา เกี่ยวข้องโดยตรง กล้องจะถูกสมมติให้เป็นหนึ่งในบุคคลในเหตุการณ์ เป็นการสร้าง ความสัมพันธ์ทางสายตากับผู้ชม บางครั้งเราจะเรียกว่า ภาพแทนสายตา
  • 38. Point-of-View Camera Angle  เป็นมุมภาพที่อยู่กึ่งกลางระหว่าง Objective Camera Angle และ Subjective Camera Angle ให้ความรู้สึกสนิทสนมกับเหตุการณ์ แต่ไม่ได้มีส่วนในเหตุการณ์ บางครั้งเรียกว่าการถ่าย ข้ามไหล่ หรือ Over the Shoulder Shot
  • 39.
  • 40. Movement  Camera Movement หรือการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่ของกล้อง เพื่อเปิดเผย หรือนา ความรู้สึกให้ติดตาม คล้ายการหันมอง เงยขึ้น หรือเดินใกล้เข้าไป หรือถอยหางออกมา รวมถึงการติดตาม
  • 41.
  • 44. การเรียงลาดับภาพ SEQUENCE OF SHOT  การนาเอา SHOT ต่าง ๆ มาเรียงลาดับต่อกันเป็นเรื่องราว เพื่อให้การสื่อภาษาภาพ สามารถถ่ายทอดความคิด เนื้อหา เรื่องราวต่างๆได้อย่างครบถ้วน มีลาดับ ขั้นตอนต่างๆ ที่ทาให้ผู้ชมเข้าใจ
  • 45. SHOT FUNCTION OF SHOT  ESTABLISHING SHOT  CUT-IN SHOT  CUT AWAY SHOT  ACTION SHOT  REACTION SHOT  REVERSE SHOT
  • 46. ESTABLISHING SHOT SHOT ที่ ทาหน้าที่บอกสถานที่เกิดเหตุการณ์ หรือบอกลักษณะ ของเหตุการณ์ว่าเป็นเหตุการณ์อะไร โดยส่วนใหญ่นิยมใช้เปิด เรื่อง หรือเปิดเหตุการณ์ ให้กับผู้ชม โดยขนาดภาพที่นิยมมักจะ เป็นภาพระยะไกล (LS) แต่มักจะไม่เสมอไป
  • 47. CUT-IN SHOT SHOT ที่ทาหน้าที่ขยายความ หรือขยายรายละเอียดของวัตถุ บุคคล หรือเหตุการณ์ สถานที่ ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นซึ่งจะต้อง ใช่เป็น SHOT ที่ตามหลังภาพเหตุการณ์รวม ๆ
  • 48. CUT AWAY SHOT SHOT ทาหน้าที่เสริมบรรยากาศ หรืออารมณ์ ความรู้สึกให้กับ ภาพเหตุการณ์ที่เสนอไปแล้ว หรือเบนความสนใจ จาก SHOT ก่อนหน้า เพื่อเปลี่ยนฉาก หรือเหตุการณ์ต่างๆ
  • 50. REACTION SHOT SHOT ที่แสดงปฏิกิริยาตอบสนองตัวละค รที่ถูกกระทาจากตัว ละครตัวแรกว่ามีอาการแสดงออกมาอย่างไร
  • 51. REVERSE SHOT SHOT ที่แสดงภาพบุคคลที่เป็นฝ่ายตรงกันข้ามระหว่างตัว ละคร 2 ตัว หรือ 2 ฝ่าย ที่กาลังเผชิญหน้ากัน อาจจะคุยกัน หรือ ทะเลาะกันก็แล้วแต่ โดยส่วนใหญ่มักจะใช้ลักษณะภาพ OVERSHOULDER SHOT
  • 52. การลาดับ SHOT  รู้จักการวางตาแหน่งของ SHOT หรือการลาดับ SHOT ว่า SHOT ใด ควรจะมาก่อน หรือ SHOT ใดควรจะอยู่ตรงไหน ซึ่งก็แล้วแต่เหตุการณ์ หรือความหมายที่ต้องการจะสื่อ เรา สามารถลาดับภาพ หรือ SHOT ได้หลายวิธี
  • 53. NARRATIVE CUTTING เมื่อเราต้องการนาเสนอเหตุการณ์ที่ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง ตามลาดับเวลา เราก็จะจัดวาง SHOT ตามลาดับเวลา คือ SHOT ใดนาเสนอภาพเหตุการณ์ เกิดขึ้นก่อน ก็จะนาเสนอก่อน แล้ว นาเสนอต่อ ๆ ไปตามลาดับเวลาไปเรื่อย ๆ
  • 54. CROSS CUTTING เมื่อเราต้องการนาเสนอเหตุการณ์ตั้งแต่ 2 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น พร้อมกัน เห็นเหตุการณ์เดียวกัน เราต้องจัดวางSHOT หรือ ลาดับ SHOT แบบสลับเหตุการณ์ที่กาลังเกิดขึ้นไปมาระหว่าง 2 เหตุการณ์
  • 55. PARALLEL CUTTING เป็นวิธีการลาดับ SHOT หรือจัดวาง SHOT ที่ใช้เมื่อเราต้องการ นาเสนอเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ ที่อาจจะเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน หรือต่างเวลากัน สลับกันไปมา เพื่อเปรียบเทียบ แต่มิได้มี ความหมายเกี่ยวข้องกันโดยตรง และเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์นี้ จะไม่บรรจบกันเลย
  • 56. DYNAMIC CUTTING เป็นวิธีการลาดับ SHOT เพื่อแสดงความต่อเนื่องของเหตุการณ์ ที่ส่งผลต่อกัน ในด้านเหตุการณ์ หรืออารมณ์อย่างรุนแรง
  • 57. MONTAGE CUTTING เป็นวิธีการลาดับ SHOT หรือจัดวาง SHOT เข้า ด้วยกัน โดยมี แนวความคิดรวมที่ต้องการจะถ่ายทอดเป็นแกนซึ่งภาพต่าง ๆ ที่นามาต่อเนื่องกันไม่ได้มีความต่อเนื่อง หรือเกี่ยวข้องกัน โดยตรงเลย ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของเวลาหรือเหตุการณ์ วัตถุประสงค์เพื่อเล่าเหตุการณ์ หรือสรุปเรื่องราว โดยใช้เวลา เพียงสั้น ๆ
  • 58. SHOT DURATION & TIMING  การเชื่อมโยงระหว่าง SHOT โดยรอให้เหตุการณ์ หรือการกระทา หรือการเคลื่อนไหวจบ สิ้นไป แล้วจึงเปลี่ยน SHOT ต่อไป การเชื่อมโยงจังหวะนี้จะทาให้ความรู้สึกเชื่องช้า  เชื่อมโยงกันโดยเหตุการณ์เคลื่อนไหวใน SHOT แรกยังไม่ปรากฏแล้วต่อโดย SHOT 2 จึง มีการเคลื่อนไหว ซึ่งแบบนี้ทาให้อารมณ์รุนแรง รวดเร็ว ฉับพลัน น่าตื่นเต้น  เป็นการเชื่อมโยง SHOT ระหว่างเหตุการณ์ หรือการกระทาที่กาลังเคลื่อนไหวอยู่อย่างนี้ เรียกว่า CUT ON ACTION ใช้แสดงการเชื่อมโยง 2 SHOT ที่มีความกลมกลืนต่อเนื่อง อย่างลื่นไหลไปเรื่อย ๆ
  • 59. SHOT TRANSITION  CUT หรือ STRAIGHT CUT คือการเชื่อมโยงระหว่าง SHOT แบบตัดไปตรง ๆ เหมือนเอา ภาพของ 2 SHOT มาต่อกันเฉย ๆ ซึ่งดูเหมือนว่า จะสะดุดอารมณ์คนดู แต่จริง ๆ แล้ว หากเลือก CUT ภาพ ในจังหวะที่เหมาะสมกับความต้องการทางความหมาย และอารมณ์ ที่ต้องการจะสื่อให้ผลดีมาก เพราะที่จริงแล้วคนเราเวลารับรู้เหตุการณ์ต่าง ๆ มิใช่จะเปิดรับ เหตุการณ์แบบยาวต่อเนื่องกันตลอด แต่จะเป็นการเลือกมองเฉพาะส่วนที่ต้องการจะรับรู้ เท่านั้น ส่วนที่ไม่น่าสนใจ หรือไม่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ จะถูกตัดออกไป ทาให้วิธีการ เชื่อมโยงระหว่าง SHOT แบบ CUT ทาให้เกิดความรู้สึกเป็นธรรมชาติมากที่สุด และ โดยทั่วไปแล้ว ในภาพยนตร์ และโทรทัศน์ เราจะพบได้บ่อยที่สุดกว่าการใช้วิธีอื่น ๆ
  • 60.  FADE มี 2 อย่าง คือ FADE IN หมายถึงการเริ่มต้นภาพจากเฟรมที่มืดสินท หรือพื้นสี (Color Background) แล้ว ค่อย ๆ ปรากฏภาพให้เห็นชัดเจนขึ้นจนเป็นหกติ ส่วนใหญ่จะ นามาใช้บอกการเริ่มต้นของเรื่อง ของเหตุการณ์ หรือของวันใหม่ เป็นต้น ส่วน FADE OUT หมายถึง การนาภาพที่กาลังมองเห็นอยู่ชัดเจนให้ค่อย ๆ จางหายสู่ความมืด หรือพื้นสี ในที่สุด ส่วนใหญ่ใช้เพื่อการบอกการจบสิ้นเรื่องของเหตุการณ์ หรือสิ้นสุดลง เป็นต้น การ ใช้FADE นี้ จะให้อารมณ์แบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างนุ่มนวลกว่า CUT จึงควรใช้ให้ เหมาะสมกับเรื่องราว และเหตุการณ์ บางครั้ง FADE IN - FADE OUT ถูก ใช้เพื่อการ เปลี่ยนฉาก เหตุการณ์ หรืออารมณ์ อย่างรวดเร็ว เพื่อให้เรื่องราวดาเนินไปได้ โดยที่คนดู จะไม่รู้สึกว่ามีการสะดุด หรือที่เรียกว่า ภาพกระโดด (Jumping cut)
  • 61.  DISSOLVE คือ การที่ภาพใน SHOT หนึ่งที่กาลังจางหายไป ก็มีภาพในอีก SHOT มาซ้อน แล้วค่อย ๆ ชัดขึ้น และมาแทนที่ในที่สุด การใช้DISSOLVE นี้ใช้เพื่อเชื่อมโยงเหตุการณ์ ระหว่าง SHOT แล้วมีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันอย่างกลมกลืน หรือเอาใช้เพื่อลัดเวลา ซึ่งผลทางอารมณ์ที่จะได้แบบนุ่มนวล ชวนฝัน
  • 62.  WIPE คือ การกวาดภาพ นาเอาภาพใหม่แทนที่ภาพเก่า เหมือนกับการเปิดปิดม่านเวที ละคร นามาใช้เพื่อเล่าเรื่องราวแบบตรงไปตรงมา ไม่ต้องการความสมจริง สอดคล้อง กับธรรมชาติการรับรู้ของมนุษย์เรา  การกวาดภาพทางแนวนอน จากซ้ายไปขวา หรือจากขวาไปซ้าย  การกวาดภาพทางแนวตั้ง จากบนลงล่าง และจากล่างขึ้นบน  การกวาดภาพทางแนวเฉลียง จากมุมซ้าย หรือจากมุมขวา  การกวาดภาพในรูปทรงเรขาคณิต เช่น วงกลม สามเหลี่ยม  นอกจากนี้ยังมีวิธีการเชื่อมโยงที่ใช้ผลพิเศษทางการอื่น ๆ อีกนับไม่ถ้วนส่วนใหญ่จะ ใช้เครื่อง DIGITAL VIDEO EFFECTS หรือเครื่อง COMPUTER เข้ามาช่วย
  • 64. S M C R+ + + analysis
  • 65. Clip
  • 66. Q & A