SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
   ปัจจุบัน Digital Divide หมายถึงความเหลื่ อมลาในการเข้ าถึง
                                                           ้
    สารสนเทศและความรู้ใน 2 ระดับคือ
   1. ความเหลื่ อมลาระหว่างประชากรกลุ่มต่าง ๆ ภายในประเทศ ที่ มีโอกาสใน
                      ้
    การเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน ความเหลื่ อมลาระหว่างประชากร
                                                              ้
    ในเมืองใหญ่กบประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่ มีเพศ อายุ ต่างกัน
                   ั
    ระหว่างผู้ทมีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ทมีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่
                ี่                               ี่
    ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่ อาจน้ อย
    กว่างบุคคลทั่วไปอีกด้ วย
   2. ความเหลื่ อมลาระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่ มีการพัฒนาด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับและ
                      ้
    รูปแบบที่ ต่างกัน คือระหว่างประเทศที่ พัฒนาแล้ วและมีความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม
    ค่อนข้ างมากกับประเทศที่ กาลังพัฒนาซึ่ งมักจะครอบคลุมถึงประเทศยากจน ปั จจัยที่ ก่อให้ เกิดความ
    ไม่เสมอภาคของการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้ (Digital Divide) พอสรุปได้ 4 กลุ่ม คือ
     1. ปัจจัยเกี่ ยวกับโครงสร้ างพื้นฐานสารสนเทศ : ความพร้ อมของโครงสร้ างในแต่ละพื้นที่ จะซึ่ งจะก่อให้ เกิด
      โอกาสในการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้ต่างกัน เช่น โอกาสในการใช้ ไฟฟ้ า, การใช้ โทรศัพท์ และ
      โทรศัพท์มือถือ, การแพร่กระจายของการใช้ คอมพิวเตอร์, การใช้ อนเทอร์เน็ต, การใช้ ดาวเทียม เป็ นต้ น
                                                                      ิ
     2. ปัจจัยเกี่ ยวกับความแตกต่างของลักษณะของประชากร : ตัวแปรเกี่ ยวกับลักษณะของประชากรที่ ใช้ เป็ น
      เครื่ องชี้วด Digital Divide มีหลายตัวแปรเช่น รายได้ ระดับการศึกษา ลักษณะของเชื้อชาติและ
                  ั
      วัฒนธรรม
     3. ปัจจัยด้ านนโยบาย : เช่นนโยบายด้ านการเปิ ดเสรีเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ มการแข่งขันกันมากขึ้นราคา
                                                                                  ี
      สินค้ าและบริการด้ านสารสนเทศลดตาลงซึ่ งจะส่งผลให้ ประชาชนในประเทศมีโอกาสเข้ าถึงสารสนเทศได้ มากขึ้น
                                            ่
     4. ปัจจัยอื่ น ๆ : เช่น ขนาดขององค์กรประเภทของธุรกิจ ที่ ต้ังขององค์กร ความแตกต่างของธุรกิจมีผลต่อการ
      เข้ าถึงข้ อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ เป็ นต้ น
   จะเห็นว่าถึงแม้ ความเหลื่ อมลาของการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้จะไม่ได้ มีความหมายถึงเฉพาะ
                                    ้
    ความเหลื่ อมลาในการเข้ าถึงอินเทอร์เน็ตแต่อย่างเดียว แต่การพิจารณาดังกล่าวก็ให้ ความสาคัญใน
                      ้
    เรื่ องการเข้ าถึงอินเทอร์เน็ตค่อนข้ างมาก และถือเป็ นตัวชี้วัดที่ สาคัญประการหนึ่ ง อาจจะเป็ นเพราะใน
    โลกสมัยปัจจุบันอินเทอร์เน็ตนับเป็ นแหล่งข้ อมูลความรู้ทกว้ างใหญ่ทสด และยังเป็ นเครื่ องมือ
                                                                ี่            ี่ ุ
    ติดต่อสื่ อสารที่ สะดวก รวดเร็ว และครอบคลุมพื้นที่ กว้ างขวาง
Digital Divide
   มีบทความของผมในนิตยสาร Competitiveness Review ฉบับที่ สอง เป็ น
    บทความเกี่ ยวกับเรื่ องนี้อาจมีอยู่ในข้ อสอบบ้ างบางส่วน ปัจจุบัน Digital Divide
    นับว่าเป็ นปัญหาหลักของการพัฒนาอุตสาหกรรมไอทีในประเทศไทย รวมไปถึงอุตสาหกรรม
    อื่ นๆ ที่ เกี่ ยวข้ อง เช่น E-Commerce, E-Learning, E-Government,
    Online Advertising ถ้ าดูทตัว Root Cause ของปัญหาว่าทาไม E-
                                              ี่
    Commerce ถึงเติบโตได้ ไม่ดีเท่าที่ ควร ทาไม Online Advertising ถึง
    เติบโตตา การทาธุรกรรมออนไลน์ของประเทศไทยยังถือว่าอยู่ในระดับที่ ตา ทั้งหมดมันมุ่งไป
                ่                                                               ่
    ที่ ประเด็นในเรื่ องของความเหลื่ อมลาในการเข้ าถึง Digital Technology หรือที่
                                          ้
    เรียกว่า Digital Divide
    ความหมายของ Digital Divide คือ เป็ นช่องว่างระหว่างกลุ่มคนที่ เข้ าถึงดิจิตอล
    เทคโนโลยีได้ กบกลุ่มคนที่ ไม่สามารถจะเข้ าถึงได้ ช่องว่างเหล่านั้นมีความสาคัญเนื่ องมาจาก
                          ั
    ว่ามันนาไปสู่ความเหลื่ อมลาในด้ านอื่ นๆ เช่น ด้ านการศึกษา สังคม สถานภาพทางเศรษฐกิจ
                                   ้
    เแน่นอนว่าคนที่ จะสามารถเข้ าถึงดิจิตอลเทคโนโลยีได้ คือคนที่ เข้ าถึงข้ อมูลหรือองค์ความรู้ได้
    มากกว่าคนที่ ไม่สามารถเข้ าถึงได้
   Digital Divide ไม่ได้ เป็ นปัญหาเฉพาะในไทยเท่านั้น แต่เป็ นในระดับโลก
    ด้ วย ประชากรในโลกเรามีประมาณ 6 พันล้ านคน ถ้ าแบ่งตามสถานะภาพทาง
    เศรษฐกิจ จะมีประมาณ 1 พันล้ านคนที่ มีความเป็ นอยู่ทดี หมายถึงมีสถานภาพที่ ไม่มี
                                                           ี่
    ความเดือดร้ อนในเรื่ องของเงิน โดยปกติจะมีรายได้ มากกว่า 2 หมื่ นเหรียญ US
    dollar หรือ ประมาณ 7 แสนบาทต่อปี แต่น้ ีเป็ นเกณฑ์ของ UN ที่ กาหนดไว้
    คนส่วนใหญ่ทอยู่ใน 1 พันล้ านคนเป็ นคนที่ มความสามารถในการเข้ าถึง Digital
                   ี่                             ี
    Technology ได้ แต่อก 5 พันล้ านคนประกอบไปด้ วย 2 พันล้ านคนที่ มี
                                ี
    สถานภาพทางเศรษฐกิจ หรือ พูดง่ายๆ คือ พออยู่ได้ ไปวันๆ มีประมาณ 2 พันล้ าน
    คน รวมไปถึงประชากรที่ เป็ นประเทศที่ กาลังพัฒนา เช่น ประเทศไทย เวียดนาม เป็ น
    ต้ น แต่กยังมีอก 3 พันล้ านคนซึ่ งถือว่าเป็ นคนส่วนใหญ่ทไม่มรายได้ เพียงพอต่อการ
              ็       ี                                           ี่ ี
    ดารงชีวตไปวันๆ พูดง่ายๆ ก็คอรายได้ จะอยู่ทประมาณ 1 ดอลล่าร์ต่อวันหรือ
            ิ                     ื                 ี่
    ประมาณ 30 บาทต่อวัน และที่ แน่นอนไม่ใช่เฉพาะ Digital Technology
    อย่างเดียวแต่หมายถึงสาธารณูปโภคพื้นฐานด้ วย คนเหล่านี้กไม่สามารถจะเข้ าถึงได้
                                                                ็
    ปัญหาของ Digital Divide ก็คอในโลกนี้มเฉพาะคนกลุ่มน้ อยเท่านั้นที่
                                             ื         ี
    สามารถเข้ าถึง Digital Technology ได้ ถึงแม้ ว่าเราจะเห็นการ
    เจริญเติบโตของ E-Commerce หรือ การเติบโตของ Social Media
    นั้นก็เพราะพวกเราส่วนใหญ่อยู่ในส่วนบนของพิรามิด
   แต่ถ้าเราได้ มีโอกาสเดินทางไปต่างจังหวัดเราก็จะได้ เห็นชัดว่า คนใน
    ต่างจังหวัดเนี่ ยยังเข้ าไม่ถึง Digital Technology นี่ ยังเป็ นปัญหา
    หลักในส่วนของโลกเลยก็ว่าได โดยเฉพาะ Digital Divide จะเกิดใน
    ประเทศที่ กาลังพัฒนา แต่ไม่ใช่ว่าจะประเทศที่ พัฒนาแล้ วก็ยังมีปัญหานี้อยู่แต่
    ถือว่าเป็ นจานวนที่ น้อยกว่าประเทศที่ กาลังพัฒนา ทาง UN ได้ จัดลาดับชื่ อว่า
    E-Readiness โดยดูจากโครงสร้ างพื้นฐานทางด้ านไอทีในแต่ละประเทศ
    โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 47 ก็ถือว่าปานกลาง เราดีกว่าฟิ ลิปปิ นส์แต่ก ็
    ยังด้ อยกว่ามาเลเซีย สิงคโปร์ และแมกซิโกด้ วยซา    ้
    Digital Divide ในส่วนของอาเซียน จะพบว่า โครงสร้ างพื้นฐานของเรา
    ยังมีความไม่เท่าเทียมกันมาก มีความห่างไกลระหว่างประเทศที่ พัฒนาแล้ ว
    ยกตัวอย่างเช่น สิงคโปร์กบประเทศที่ เหลือ จะเห็นได้ ว่าอย่างในกรณีของ
                                  ั
    Internet Users ของไทยเมื่ อเทียบตามจานวนประชากรของประเทศเรา
    ยังถือว่าน้ อยอยู่ น้ อยกว่าฟิ ลิปปิ นส์และเวียดนามในปัจจุบัน

More Related Content

Similar to งานที่3

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Sirintip Kongchanta
 
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDCเจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
Peerasak C.
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Tanyarad Chansawang
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
New Tomza
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Pongtep Treeone
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Beeiiz Gubee
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Tangkwa Tom
 

Similar to งานที่3 (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
Manpower
ManpowerManpower
Manpower
 
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDCเจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
เจาะเทรนด์โลก 2020: Positive Power โดย TCDC
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
2
22
2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดียSWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

งานที่3

  • 1.
  • 2. ปัจจุบัน Digital Divide หมายถึงความเหลื่ อมลาในการเข้ าถึง ้ สารสนเทศและความรู้ใน 2 ระดับคือ  1. ความเหลื่ อมลาระหว่างประชากรกลุ่มต่าง ๆ ภายในประเทศ ที่ มีโอกาสใน ้ การเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน ความเหลื่ อมลาระหว่างประชากร ้ ในเมืองใหญ่กบประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่ มีเพศ อายุ ต่างกัน ั ระหว่างผู้ทมีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ทมีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ ี่ ี่ ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่ อาจน้ อย กว่างบุคคลทั่วไปอีกด้ วย
  • 3. 2. ความเหลื่ อมลาระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่ มีการพัฒนาด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับและ ้ รูปแบบที่ ต่างกัน คือระหว่างประเทศที่ พัฒนาแล้ วและมีความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม ค่อนข้ างมากกับประเทศที่ กาลังพัฒนาซึ่ งมักจะครอบคลุมถึงประเทศยากจน ปั จจัยที่ ก่อให้ เกิดความ ไม่เสมอภาคของการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้ (Digital Divide) พอสรุปได้ 4 กลุ่ม คือ  1. ปัจจัยเกี่ ยวกับโครงสร้ างพื้นฐานสารสนเทศ : ความพร้ อมของโครงสร้ างในแต่ละพื้นที่ จะซึ่ งจะก่อให้ เกิด โอกาสในการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้ต่างกัน เช่น โอกาสในการใช้ ไฟฟ้ า, การใช้ โทรศัพท์ และ โทรศัพท์มือถือ, การแพร่กระจายของการใช้ คอมพิวเตอร์, การใช้ อนเทอร์เน็ต, การใช้ ดาวเทียม เป็ นต้ น ิ  2. ปัจจัยเกี่ ยวกับความแตกต่างของลักษณะของประชากร : ตัวแปรเกี่ ยวกับลักษณะของประชากรที่ ใช้ เป็ น เครื่ องชี้วด Digital Divide มีหลายตัวแปรเช่น รายได้ ระดับการศึกษา ลักษณะของเชื้อชาติและ ั วัฒนธรรม  3. ปัจจัยด้ านนโยบาย : เช่นนโยบายด้ านการเปิ ดเสรีเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ มการแข่งขันกันมากขึ้นราคา ี สินค้ าและบริการด้ านสารสนเทศลดตาลงซึ่ งจะส่งผลให้ ประชาชนในประเทศมีโอกาสเข้ าถึงสารสนเทศได้ มากขึ้น ่  4. ปัจจัยอื่ น ๆ : เช่น ขนาดขององค์กรประเภทของธุรกิจ ที่ ต้ังขององค์กร ความแตกต่างของธุรกิจมีผลต่อการ เข้ าถึงข้ อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ เป็ นต้ น  จะเห็นว่าถึงแม้ ความเหลื่ อมลาของการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้จะไม่ได้ มีความหมายถึงเฉพาะ ้ ความเหลื่ อมลาในการเข้ าถึงอินเทอร์เน็ตแต่อย่างเดียว แต่การพิจารณาดังกล่าวก็ให้ ความสาคัญใน ้ เรื่ องการเข้ าถึงอินเทอร์เน็ตค่อนข้ างมาก และถือเป็ นตัวชี้วัดที่ สาคัญประการหนึ่ ง อาจจะเป็ นเพราะใน โลกสมัยปัจจุบันอินเทอร์เน็ตนับเป็ นแหล่งข้ อมูลความรู้ทกว้ างใหญ่ทสด และยังเป็ นเครื่ องมือ ี่ ี่ ุ ติดต่อสื่ อสารที่ สะดวก รวดเร็ว และครอบคลุมพื้นที่ กว้ างขวาง
  • 4. Digital Divide  มีบทความของผมในนิตยสาร Competitiveness Review ฉบับที่ สอง เป็ น บทความเกี่ ยวกับเรื่ องนี้อาจมีอยู่ในข้ อสอบบ้ างบางส่วน ปัจจุบัน Digital Divide นับว่าเป็ นปัญหาหลักของการพัฒนาอุตสาหกรรมไอทีในประเทศไทย รวมไปถึงอุตสาหกรรม อื่ นๆ ที่ เกี่ ยวข้ อง เช่น E-Commerce, E-Learning, E-Government, Online Advertising ถ้ าดูทตัว Root Cause ของปัญหาว่าทาไม E- ี่ Commerce ถึงเติบโตได้ ไม่ดีเท่าที่ ควร ทาไม Online Advertising ถึง เติบโตตา การทาธุรกรรมออนไลน์ของประเทศไทยยังถือว่าอยู่ในระดับที่ ตา ทั้งหมดมันมุ่งไป ่ ่ ที่ ประเด็นในเรื่ องของความเหลื่ อมลาในการเข้ าถึง Digital Technology หรือที่ ้ เรียกว่า Digital Divide ความหมายของ Digital Divide คือ เป็ นช่องว่างระหว่างกลุ่มคนที่ เข้ าถึงดิจิตอล เทคโนโลยีได้ กบกลุ่มคนที่ ไม่สามารถจะเข้ าถึงได้ ช่องว่างเหล่านั้นมีความสาคัญเนื่ องมาจาก ั ว่ามันนาไปสู่ความเหลื่ อมลาในด้ านอื่ นๆ เช่น ด้ านการศึกษา สังคม สถานภาพทางเศรษฐกิจ ้ เแน่นอนว่าคนที่ จะสามารถเข้ าถึงดิจิตอลเทคโนโลยีได้ คือคนที่ เข้ าถึงข้ อมูลหรือองค์ความรู้ได้ มากกว่าคนที่ ไม่สามารถเข้ าถึงได้
  • 5. Digital Divide ไม่ได้ เป็ นปัญหาเฉพาะในไทยเท่านั้น แต่เป็ นในระดับโลก ด้ วย ประชากรในโลกเรามีประมาณ 6 พันล้ านคน ถ้ าแบ่งตามสถานะภาพทาง เศรษฐกิจ จะมีประมาณ 1 พันล้ านคนที่ มีความเป็ นอยู่ทดี หมายถึงมีสถานภาพที่ ไม่มี ี่ ความเดือดร้ อนในเรื่ องของเงิน โดยปกติจะมีรายได้ มากกว่า 2 หมื่ นเหรียญ US dollar หรือ ประมาณ 7 แสนบาทต่อปี แต่น้ ีเป็ นเกณฑ์ของ UN ที่ กาหนดไว้ คนส่วนใหญ่ทอยู่ใน 1 พันล้ านคนเป็ นคนที่ มความสามารถในการเข้ าถึง Digital ี่ ี Technology ได้ แต่อก 5 พันล้ านคนประกอบไปด้ วย 2 พันล้ านคนที่ มี ี สถานภาพทางเศรษฐกิจ หรือ พูดง่ายๆ คือ พออยู่ได้ ไปวันๆ มีประมาณ 2 พันล้ าน คน รวมไปถึงประชากรที่ เป็ นประเทศที่ กาลังพัฒนา เช่น ประเทศไทย เวียดนาม เป็ น ต้ น แต่กยังมีอก 3 พันล้ านคนซึ่ งถือว่าเป็ นคนส่วนใหญ่ทไม่มรายได้ เพียงพอต่อการ ็ ี ี่ ี ดารงชีวตไปวันๆ พูดง่ายๆ ก็คอรายได้ จะอยู่ทประมาณ 1 ดอลล่าร์ต่อวันหรือ ิ ื ี่ ประมาณ 30 บาทต่อวัน และที่ แน่นอนไม่ใช่เฉพาะ Digital Technology อย่างเดียวแต่หมายถึงสาธารณูปโภคพื้นฐานด้ วย คนเหล่านี้กไม่สามารถจะเข้ าถึงได้ ็ ปัญหาของ Digital Divide ก็คอในโลกนี้มเฉพาะคนกลุ่มน้ อยเท่านั้นที่ ื ี สามารถเข้ าถึง Digital Technology ได้ ถึงแม้ ว่าเราจะเห็นการ เจริญเติบโตของ E-Commerce หรือ การเติบโตของ Social Media นั้นก็เพราะพวกเราส่วนใหญ่อยู่ในส่วนบนของพิรามิด
  • 6. แต่ถ้าเราได้ มีโอกาสเดินทางไปต่างจังหวัดเราก็จะได้ เห็นชัดว่า คนใน ต่างจังหวัดเนี่ ยยังเข้ าไม่ถึง Digital Technology นี่ ยังเป็ นปัญหา หลักในส่วนของโลกเลยก็ว่าได โดยเฉพาะ Digital Divide จะเกิดใน ประเทศที่ กาลังพัฒนา แต่ไม่ใช่ว่าจะประเทศที่ พัฒนาแล้ วก็ยังมีปัญหานี้อยู่แต่ ถือว่าเป็ นจานวนที่ น้อยกว่าประเทศที่ กาลังพัฒนา ทาง UN ได้ จัดลาดับชื่ อว่า E-Readiness โดยดูจากโครงสร้ างพื้นฐานทางด้ านไอทีในแต่ละประเทศ โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 47 ก็ถือว่าปานกลาง เราดีกว่าฟิ ลิปปิ นส์แต่ก ็ ยังด้ อยกว่ามาเลเซีย สิงคโปร์ และแมกซิโกด้ วยซา ้ Digital Divide ในส่วนของอาเซียน จะพบว่า โครงสร้ างพื้นฐานของเรา ยังมีความไม่เท่าเทียมกันมาก มีความห่างไกลระหว่างประเทศที่ พัฒนาแล้ ว ยกตัวอย่างเช่น สิงคโปร์กบประเทศที่ เหลือ จะเห็นได้ ว่าอย่างในกรณีของ ั Internet Users ของไทยเมื่ อเทียบตามจานวนประชากรของประเทศเรา ยังถือว่าน้ อยอยู่ น้ อยกว่าฟิ ลิปปิ นส์และเวียดนามในปัจจุบัน