SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ทฤษฎีเกม
Game Theory
ทฤษฎีเกม (Game Theory)
                                               ่
• กระบวนการตัดสิ นใจ ที่ไม่ซบซ้อนมันได้อยูใน Common Sense ของ
                               ั
         ่
  เราอยูแล้ว แต่ในบางสถานการณ์ ที่มีความสลับซับซ้อนสู ง ทฤษฎีเกม หรื อ
  Game Theory จะเป็ นกระบวนการที่มาช่วยวิเคราะห์ เรี ยบเรี ยง และทาให้
  การตัดสิ นใจดีข้ ึน และแม่นยา
• สงครามย่อยๆ ที่ตะวันออกกลางซึ่ งอิสราเอลได้ทิ้งระเบิดถล่มเลบานอน หรื อการที่
  เกาหลีเหนือซ้อมยิงขีปนาวุธเขย่าขวัญญี่ปุ่น หรื ออเมริ กาจะตัดสิ นใจ คว่าบาตร
  อิหร่ าน ล้วนเป็ นการตัดสิ นใจ ที่อิงกับการประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ที่ชื่อว่า
  “ทฤษฎีเกม” หรื อ “Game Theory” เป็ นอย่างมาก
• ท่านผูอ่านหลายท่านอาจจะเคยสงสัยว่า การตัดสิ นใจทาอะไรลงไปซักอย่าง ของ
          ้
  เราในชีวตประจาวัน ของผูบริ หารต่างๆ หรื อของมหาอานาจแบบอเมริ กา หรื อ
            ิ                 ้
  รัสเซี ย หรื อจีน ทาไมจึงจาเป็ นต้อง มีทฤษฎีอะไร มากาหนดกระบวนการตัดสิ นใจ
                                                            ่
  ด้วย จริ งๆ แล้วกระบวนการตัดสิ นใจ ที่ไม่ซบซ้อนมันได้อยูใน Common
                                              ั
                        ่
  Sense ของเราอยูแล้ว แต่ในบางสถานการณ์ที่มีความสลับซับซ้อน ทฤษฎีเกม
  หรื อ Game Theory จะเป็ นกระบวนการที่มาช่วยวิเคราะห์ เรี ยบเรี ยง และ
  ทาให้การตัดสิ นใจดีข้ ึน และแม่นยา โดยเฉพาะประเทศที่ศตรู เยอะ และการ
                                                          ั
  ตัดสิ นใจที่มีผลกับความเป็ นไปของโลก เช่น สหรัฐอเมริ กาได้มีการศึกษา และวิจย
                                                                             ั
  ทฤษฎีเกม กันอย่างจริ งจังในระดับชาติ เพื่อช่วยให้การตัดสิ นใจ ในการปกป้ อง
  ผลประโยชน์ของประเทศตัวเอง ให้มากที่สุด

  นอกจากการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกม ในการวิเคราะห์การตลาด และเพิ่ม
  ความสามารถ ในการแข่งขันของธุรกิจแล้ว
่
• ทฤษฎีเกม เป็ นทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ที่มีชื่อเสี ยงมาก แม้วาจะเป็ นทฤษฎีทาง
                      ็
  เศรษฐศาสตร์ แต่กถูกคิดค้นขึ้นมาครั้งแรก ร่ วมกันโดย นักคณิตศาสตร์ ชื่อ
  Von Neumann และนักเศรษฐศาสตร์ ชื่อ Oskar
  Morgenstern ในปี 1944 จนอีก 50 ปี ต่อมา (ปี 1994) ทฤษฎี
  เกมมาโด่งดังอีกครั้ง เมื่อนักเศรษฐศาสตร์ และเป็ นศาสตราจารย์ ที่มหาวิทยาลัยพ
  ริ นซ์ตน (Princeton University) ประเทศสหรัฐอเมริ กา ชื่อ จอห์ น
         ั
  เอฟ. แนช (John F. Nash) ซึ่ งมีโรคประจาตัวคือโรคจิตเภท
  ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ร่ วมกับนักเศรษฐศาสตร์ อีกสองท่าน ใน
  ด้านทฤษฎีเกี่ยวกับ Non-Cooperative Games ซึ่ งหลายท่านอาจจะ
  เคยได้ชมภาพยนต์เรื่ อง Beautiful Mind กันมาแล้ว ซึ่ งเป็ นภาพยนต์
  ที่ถ่ายทอดเรื่ องราวของ จอห์น เอฟ. แนช
การใช้ งาน Game Theory

                                                       ่
• หลักการพื้นฐานของวิชาเศรษฐศาสตร์ จะสมมติวา ตลาดสิ นค้า มีการแข่งขันกัน
  อย่างเสรี เพราะมีจานวนผูซ้ื อ และผูขายมากราย (เข้าสู่ Infinity) รวมทั้งมี
                             ้       ้
  ข้อมูลครบถ้วน ที่ทาให้ผซ้ื อและผูขาย สามารถตัดสิ นใจซื้ อ – ขาย ได้ในกรอบ
                          ู้       ้
  ของความแน่นอน และไม่ตองคานึงถึงว่า ผูซ้ื อ – ผูขายคนอื่นๆ จะตัดสิ นใจ
                               ้           ้             ้
  อย่างไร เพราะการตัดสิ นใจ หรื อการกระทาใดๆ จะถูกกาหนดโดยกลไกตลาด
  ท่ามกลางข้อมูลที่โปร่ งใส และถูกต้อง
• ซึ่ งจะแตกต่างจากการเล่นเกม เช่น หมากรุ ก ที่ผเู ้ ล่นต้องกาหนดกลยุทธ์ในการเล่น
  และต้องคาดเดาพฤติกรรมการเดิน และการตัดสิ นใจ ของผูเ้ ล่นฝ่ ายตรงข้าม หรื อ
  การจีบสาว ที่ชายหนุ่มจะต้องเดาพฤติกรรม และการตอบสนองของสาวเจ้า รวม
  ไปถึงคู่แข่งด้วย
ตัวอย่างง่ายๆ ที่ใช้ อธิบายทฤษฎีเกม
• คือในกรณี ที่มีคนร้ายสองคน ถูกตารวจจับได้ และมีหลักฐานการทาความผิดใน
  ระดับหนึ่ ง ที่สามารถสั่งจาคุกได้ แต่ยงไม่สามารถระบุความผิด ของทั้งสองคนได้
                                        ั
  ดังนั้นตารวจจึงแยกกันสอบสวน และให้โอกาสสารภาพ และซัดทอดซึ่ งกันและ
                       ่
  กัน โดยตั้งเกณฑ์ไว้วา หาก นาย ก สารภาพและซัดทอด นาย ข แต่ นาย ข ไม่
  สารภาพและไม่ซดทอด นาย ก แล้ว นาย ก จะได้เข้าคุก 2 ปี และนาย ข จะถูก
                    ั
  จาคุกนาน 10 ปี ทั้งนี้โทษจาคุก ก็จะกลับกันหาก นาย ข สารภาพและซัดทอด
  นาย ก โดยนาย ก ไม่ปริ ปากใดๆ แต่หากทั้งสองคนไม่ยอมให้การใดๆ ที่มี
  ประโยชน์ ตารวจจะทาได้เพียงจาคุกทั้งคู่คนละ 1 ปี แต่หากทั้งสองคน ปรักปรา
  ซึ่ งกันและกันก็จะถูกจาคุกคนละ 5 ปี
หากท่านเป็ น นาย ก ท่านจะทาอย่างไร ?
        จากโจทย์ขางต้น เราสามารถวิเคราะห์ พฤติกรรมได้ดงนี้
                   ้                                    ั
นาย ก   ไม่ปริ ปาก
นาย ข      สารภาพและซัดทอด                   ไม่ปริ ปาก
          (5,5)                              (2,10)
          (10,2)                             (1,1)
• ตัวเลขในวงเล็บคือจานวนปี ที่ติดคุก ตัวเลขแรกในวงเล็บคือตัวเลขของ นาย ก และ
  ตัวเลขหลังของ นาย ข

                ่
  จะเห็นได้วา ทั้งนาย ก และ นาย ข ควรจะร่ วมมือกัน โดยไม่ปริ ปากใดๆ เพื่อให้ท้ ง           ั
  สองได้รับโทษสถานเบาคือ (1,1) แต่ในความเป็ นจริ ง ด้วยความกลัวที่จะถูกอีก
  คนหนึ่ งทรยศ โดยการปรักปรา ทาให้ท้ งสองฝ่ ายจะร่ วมมือกับตารวจ ซึ่ งทาให้ติด
                                             ั
  คุกคนละ 5 ปี (5,5) พฤติกรรมที่เกิดขึ้นที่ไม่ใช่จุดที่ท้ งสองฝ่ ายได้ประโยชน์
                                                            ั
  สู งสุ ด เนื่องจากตารวจจับแยกห้องขัง ทาให้คนร้ายทั้งสองไม่สามารถร่ วมมือกัน
  หรื อแจ้งข้อมูลซึ่ งกันและกันได้ ซึ่ งต่างจากตลาดสิ นค้าเสรี ที่ผเู ้ ล่นทุกฝ่ ายมีขอมูล
                                                                                      ้
  ครบถ้วน ดังที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่ งหากคนร้ายทั้งสอง ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนข้อมูล
  ซึ่ งกันและกัน จะทาให้ท้ งคู่ได้รับประโยชน์สูงสุ ดคือ (1,1)
                            ั
็              ่
• ตัวอย่างข้างต้นเป็ นเกมขั้นพื้นฐาน ที่มีผเู ้ ล่นเพียงสองคน แต่กสามารถสรุ ปได้วา
  มนุษย์ที่มกจะต้องการความเสี่ ยงน้อยที่สุด จะเลือกแนวทางที่ทาให้เกิดความ
              ั
  เสี ยหาย กับตนเองน้อยที่สุด ในกรณี ที่เกิดสถานการณ์เลวร้ายน้อยที่สุด สาหรับใน
  กรณี ตวอย่างข้างต้นนั้น สถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุดคือ การถูกเพื่อนซัดทอด จึงต้อง
         ั
  เลือกระหว่างติดคุก 10 ปี หรื อติดคุก 5 ปี จึงต้องเลือกสารภาพ และซัดทอดให้
  เพื่อน เพื่อให้ตวเองติดคุกเพียง 5 ปี
                  ั

More Related Content

Similar to งานที่3

งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์kanyawara
 
งานทฤษฎีเกม
งานทฤษฎีเกมงานทฤษฎีเกม
งานทฤษฎีเกมkanyawara
 
Game Theory
Game TheoryGame Theory
Game TheoryVaristha
 
เเนน
เเนนเเนน
เเนนchalita41
 
งานที่3
งานที่3งานที่3
งานที่3chalita41
 
Games theor
Games theorGames theor
Games theorlooked
 
Games theor
Games theorGames theor
Games theorlooked
 
Games theor
Games theorGames theor
Games theorlooked
 
ทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมsaranthorn007
 
ทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมsaranthorn007
 
Game theory 11
Game theory 11Game theory 11
Game theory 11poundza
 
Game theory 11
Game theory 11Game theory 11
Game theory 11poundza
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8JoyCe Zii Zii
 
Game theory
Game theoryGame theory
Game theorypoundza
 

Similar to งานที่3 (20)

แบงงงง
แบงงงงแบงงงง
แบงงงง
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
งานทฤษฎีเกม
งานทฤษฎีเกมงานทฤษฎีเกม
งานทฤษฎีเกม
 
Game Theory
Game TheoryGame Theory
Game Theory
 
เเนน
เเนนเเนน
เเนน
 
งานที่3
งานที่3งานที่3
งานที่3
 
Ppt0000001
Ppt0000001Ppt0000001
Ppt0000001
 
Games theor
Games theorGames theor
Games theor
 
Games theor
Games theorGames theor
Games theor
 
Games theor
Games theorGames theor
Games theor
 
Ppt0000001.ppt123
Ppt0000001.ppt123Ppt0000001.ppt123
Ppt0000001.ppt123
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
ทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกม
 
ทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกมทฤษฎีเกม
ทฤษฎีเกม
 
Game theory 11
Game theory 11Game theory 11
Game theory 11
 
Game theory 11
Game theory 11Game theory 11
Game theory 11
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
Game theory
Game theoryGame theory
Game theory
 

งานที่3

  • 2. ทฤษฎีเกม (Game Theory) ่ • กระบวนการตัดสิ นใจ ที่ไม่ซบซ้อนมันได้อยูใน Common Sense ของ ั ่ เราอยูแล้ว แต่ในบางสถานการณ์ ที่มีความสลับซับซ้อนสู ง ทฤษฎีเกม หรื อ Game Theory จะเป็ นกระบวนการที่มาช่วยวิเคราะห์ เรี ยบเรี ยง และทาให้ การตัดสิ นใจดีข้ ึน และแม่นยา • สงครามย่อยๆ ที่ตะวันออกกลางซึ่ งอิสราเอลได้ทิ้งระเบิดถล่มเลบานอน หรื อการที่ เกาหลีเหนือซ้อมยิงขีปนาวุธเขย่าขวัญญี่ปุ่น หรื ออเมริ กาจะตัดสิ นใจ คว่าบาตร อิหร่ าน ล้วนเป็ นการตัดสิ นใจ ที่อิงกับการประยุกต์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ที่ชื่อว่า “ทฤษฎีเกม” หรื อ “Game Theory” เป็ นอย่างมาก
  • 3. • ท่านผูอ่านหลายท่านอาจจะเคยสงสัยว่า การตัดสิ นใจทาอะไรลงไปซักอย่าง ของ ้ เราในชีวตประจาวัน ของผูบริ หารต่างๆ หรื อของมหาอานาจแบบอเมริ กา หรื อ ิ ้ รัสเซี ย หรื อจีน ทาไมจึงจาเป็ นต้อง มีทฤษฎีอะไร มากาหนดกระบวนการตัดสิ นใจ ่ ด้วย จริ งๆ แล้วกระบวนการตัดสิ นใจ ที่ไม่ซบซ้อนมันได้อยูใน Common ั ่ Sense ของเราอยูแล้ว แต่ในบางสถานการณ์ที่มีความสลับซับซ้อน ทฤษฎีเกม หรื อ Game Theory จะเป็ นกระบวนการที่มาช่วยวิเคราะห์ เรี ยบเรี ยง และ ทาให้การตัดสิ นใจดีข้ ึน และแม่นยา โดยเฉพาะประเทศที่ศตรู เยอะ และการ ั ตัดสิ นใจที่มีผลกับความเป็ นไปของโลก เช่น สหรัฐอเมริ กาได้มีการศึกษา และวิจย ั ทฤษฎีเกม กันอย่างจริ งจังในระดับชาติ เพื่อช่วยให้การตัดสิ นใจ ในการปกป้ อง ผลประโยชน์ของประเทศตัวเอง ให้มากที่สุด นอกจากการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเกม ในการวิเคราะห์การตลาด และเพิ่ม ความสามารถ ในการแข่งขันของธุรกิจแล้ว
  • 4. ่ • ทฤษฎีเกม เป็ นทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ที่มีชื่อเสี ยงมาก แม้วาจะเป็ นทฤษฎีทาง ็ เศรษฐศาสตร์ แต่กถูกคิดค้นขึ้นมาครั้งแรก ร่ วมกันโดย นักคณิตศาสตร์ ชื่อ Von Neumann และนักเศรษฐศาสตร์ ชื่อ Oskar Morgenstern ในปี 1944 จนอีก 50 ปี ต่อมา (ปี 1994) ทฤษฎี เกมมาโด่งดังอีกครั้ง เมื่อนักเศรษฐศาสตร์ และเป็ นศาสตราจารย์ ที่มหาวิทยาลัยพ ริ นซ์ตน (Princeton University) ประเทศสหรัฐอเมริ กา ชื่อ จอห์ น ั เอฟ. แนช (John F. Nash) ซึ่ งมีโรคประจาตัวคือโรคจิตเภท ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ร่ วมกับนักเศรษฐศาสตร์ อีกสองท่าน ใน ด้านทฤษฎีเกี่ยวกับ Non-Cooperative Games ซึ่ งหลายท่านอาจจะ เคยได้ชมภาพยนต์เรื่ อง Beautiful Mind กันมาแล้ว ซึ่ งเป็ นภาพยนต์ ที่ถ่ายทอดเรื่ องราวของ จอห์น เอฟ. แนช
  • 5. การใช้ งาน Game Theory ่ • หลักการพื้นฐานของวิชาเศรษฐศาสตร์ จะสมมติวา ตลาดสิ นค้า มีการแข่งขันกัน อย่างเสรี เพราะมีจานวนผูซ้ื อ และผูขายมากราย (เข้าสู่ Infinity) รวมทั้งมี ้ ้ ข้อมูลครบถ้วน ที่ทาให้ผซ้ื อและผูขาย สามารถตัดสิ นใจซื้ อ – ขาย ได้ในกรอบ ู้ ้ ของความแน่นอน และไม่ตองคานึงถึงว่า ผูซ้ื อ – ผูขายคนอื่นๆ จะตัดสิ นใจ ้ ้ ้ อย่างไร เพราะการตัดสิ นใจ หรื อการกระทาใดๆ จะถูกกาหนดโดยกลไกตลาด ท่ามกลางข้อมูลที่โปร่ งใส และถูกต้อง • ซึ่ งจะแตกต่างจากการเล่นเกม เช่น หมากรุ ก ที่ผเู ้ ล่นต้องกาหนดกลยุทธ์ในการเล่น และต้องคาดเดาพฤติกรรมการเดิน และการตัดสิ นใจ ของผูเ้ ล่นฝ่ ายตรงข้าม หรื อ การจีบสาว ที่ชายหนุ่มจะต้องเดาพฤติกรรม และการตอบสนองของสาวเจ้า รวม ไปถึงคู่แข่งด้วย
  • 6. ตัวอย่างง่ายๆ ที่ใช้ อธิบายทฤษฎีเกม • คือในกรณี ที่มีคนร้ายสองคน ถูกตารวจจับได้ และมีหลักฐานการทาความผิดใน ระดับหนึ่ ง ที่สามารถสั่งจาคุกได้ แต่ยงไม่สามารถระบุความผิด ของทั้งสองคนได้ ั ดังนั้นตารวจจึงแยกกันสอบสวน และให้โอกาสสารภาพ และซัดทอดซึ่ งกันและ ่ กัน โดยตั้งเกณฑ์ไว้วา หาก นาย ก สารภาพและซัดทอด นาย ข แต่ นาย ข ไม่ สารภาพและไม่ซดทอด นาย ก แล้ว นาย ก จะได้เข้าคุก 2 ปี และนาย ข จะถูก ั จาคุกนาน 10 ปี ทั้งนี้โทษจาคุก ก็จะกลับกันหาก นาย ข สารภาพและซัดทอด นาย ก โดยนาย ก ไม่ปริ ปากใดๆ แต่หากทั้งสองคนไม่ยอมให้การใดๆ ที่มี ประโยชน์ ตารวจจะทาได้เพียงจาคุกทั้งคู่คนละ 1 ปี แต่หากทั้งสองคน ปรักปรา ซึ่ งกันและกันก็จะถูกจาคุกคนละ 5 ปี
  • 7. หากท่านเป็ น นาย ก ท่านจะทาอย่างไร ? จากโจทย์ขางต้น เราสามารถวิเคราะห์ พฤติกรรมได้ดงนี้ ้ ั นาย ก ไม่ปริ ปาก นาย ข สารภาพและซัดทอด ไม่ปริ ปาก (5,5) (2,10) (10,2) (1,1)
  • 8. • ตัวเลขในวงเล็บคือจานวนปี ที่ติดคุก ตัวเลขแรกในวงเล็บคือตัวเลขของ นาย ก และ ตัวเลขหลังของ นาย ข ่ จะเห็นได้วา ทั้งนาย ก และ นาย ข ควรจะร่ วมมือกัน โดยไม่ปริ ปากใดๆ เพื่อให้ท้ ง ั สองได้รับโทษสถานเบาคือ (1,1) แต่ในความเป็ นจริ ง ด้วยความกลัวที่จะถูกอีก คนหนึ่ งทรยศ โดยการปรักปรา ทาให้ท้ งสองฝ่ ายจะร่ วมมือกับตารวจ ซึ่ งทาให้ติด ั คุกคนละ 5 ปี (5,5) พฤติกรรมที่เกิดขึ้นที่ไม่ใช่จุดที่ท้ งสองฝ่ ายได้ประโยชน์ ั สู งสุ ด เนื่องจากตารวจจับแยกห้องขัง ทาให้คนร้ายทั้งสองไม่สามารถร่ วมมือกัน หรื อแจ้งข้อมูลซึ่ งกันและกันได้ ซึ่ งต่างจากตลาดสิ นค้าเสรี ที่ผเู ้ ล่นทุกฝ่ ายมีขอมูล ้ ครบถ้วน ดังที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่ งหากคนร้ายทั้งสอง ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่ งกันและกัน จะทาให้ท้ งคู่ได้รับประโยชน์สูงสุ ดคือ (1,1) ั
  • 9. ่ • ตัวอย่างข้างต้นเป็ นเกมขั้นพื้นฐาน ที่มีผเู ้ ล่นเพียงสองคน แต่กสามารถสรุ ปได้วา มนุษย์ที่มกจะต้องการความเสี่ ยงน้อยที่สุด จะเลือกแนวทางที่ทาให้เกิดความ ั เสี ยหาย กับตนเองน้อยที่สุด ในกรณี ที่เกิดสถานการณ์เลวร้ายน้อยที่สุด สาหรับใน กรณี ตวอย่างข้างต้นนั้น สถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุดคือ การถูกเพื่อนซัดทอด จึงต้อง ั เลือกระหว่างติดคุก 10 ปี หรื อติดคุก 5 ปี จึงต้องเลือกสารภาพ และซัดทอดให้ เพื่อน เพื่อให้ตวเองติดคุกเพียง 5 ปี ั